ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กับการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
Advertisements

บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
การตลาดในธุรกิจยุคปัจจุบัน (Marketing in the Present Business)
บทที่ 6 การจัดการองค์การ.
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
พันธกรณีการเจรจาต่อภายใต้ความตกลง TAFTA TNZCEP และ JTEPA:
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
ความหมายของโครงการ โครงการ (PROJECT) โครงการ (PROJECT) กระบวนการ ทำงานที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรม ซึ่งมีการทำโครงการเป็นไปตามลำดับ โดยการ ทำงานจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
HUMAN RIGHTS GAME.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
A Strategic Approach to Energy and Environmental Management
วิชาการจัดการบริการสำหรับการท่องเที่ยวและการบริการ
เส้นทางการค้าไม้ระหว่างประเทศ
Governance, Risk and Compliance
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
บทบาทอำนาจหน้าที่ตรวจสอบภายใน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
หลักธรรมาภิบาล ความหมายของธรรมาภิบาล
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
การจัดองค์กรฝ่ายขาย MGEN313 Sales Management การบริหารงานขาย Department of Marketing Bangkok University- MGEN313.
ผ.ศ.เสาวลักษณ์ สุขประเสริฐ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ของผู้ว่าราชการจังหวัดและ
หลักการตลาดสมัยใหม่ (Principles of New Modern Marketing) )
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปการตลาดระดับโลก
การประชุมคณะกรรมการความร่วมมือด้านการลงทุนของอาเซียน (CCI) ครั้งที่ ๖๔
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
วิชา การบริหารทางการตลาด (MKT 3202)
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การตลาดในเศรษฐกิจยุคใหม่ (Marketing in the New Economy)
Supply Chain Management
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
5.ไทยต้องจัดตั้งองค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก article4 – C
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
อ. อรนพัฒน์ เหมือนเผ่าพงษ์ สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและธุรกิจที่พัก
ลักษณะของกฎหมายระหว่างประเทศ อ.ดร. นวพร เสนีย์วงศ์ ณ อยุธยา
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
การบริหารความเสี่ยง (Enterprise Risk Management)
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility) มาตรฐาน ISO 26000 ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility) โดย สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

ความเป็นมาเป็นไป ของ ISO 26000

คำถาม หรือสิ่งที่ประชาชนทั่วไป ต้องการคำตอบจากองค์กรต่าง ๆ องค์กรของคุณ ปฏิบัติตามกฎหมายและเสียภาษีหรือเปล่า ? ปฏิบัติต่อลูกจ้าง/พนักงาน ดีแค่ไหน ? ใส่ใจลูกค้า ผู้บริโภค หรือเปล่า? มีกิจกรรมที่สร้างผลกระทบด้านดี หรือ เสียหายต่อชุมชน/สังคม ? ใส่ใจที่จะปกป้องดูแลสภาพแวดล้อมหรือไม่ ? โปร่งใสแค่ไหน ? ให้คุณค่าต่อสังคม และ มีความรับผิดชอบต่อสังคมมากน้อยเพียงใด ?

กระแสและแนวโน้มของ SR กระแสโลกาภิวัฒน์ (Globalization) ห่วงโซ่อุปทาน (รวมถึงการ Outsource) การติดต่อสื่อสาร การติดตาม และ การแลกเปลี่ยนข้อมูล การค้าเสรี (บริษัทข้ามชาติ) การเปิดเผยข้อมูล การให้ความสำคัญกับสินทรัพย์ที่จับต้องไม่ได้ เช่น ชื่อสียง และความน่าเชื่อถือ การบังคับใช้กฎหมายจากภาครัฐ การพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development, SD) กระแสที่ผลักดันให้เกิด SR โลกาภิวัฒน์ (Globalization) การสื่อสารเป็นไปได้อย่างรวดเร็ว เกิดการรู้เขารู้เรา บุคคลหรือองค์กรต่างๆ ทั่วโลกรู้ว่าแต่ละแห่งที่(ใกล้หรือไกล)ทำกิจกรรมอะไรบ้าง องค์กรเรียนรู้การทำงานและการแก้ไขปัญหาจากองค์กรอื่นๆ ถูกจับตามมองตลอดเวลา ข่าวสารที่แพร่กระจายอย่างรวดเร็ว องค์กรธุรกิจแผ่ขยายไปทั่วโลก ถ้าไม่มีหลักการควบคุมด้านมนุษยธรรม หรือมาตรฐานที่เท่าเทียมกัน ก็จะเกิดกรณีอย่างบริษัทยักษ์ใหญ่แห่งหนึ่งที่ไปผลิตสินค้าในประเทศยากจน กดราคาแรงงานให้ต่ำสุดขีด เพื่อมาขายในประเทศพัฒนาแล้วในราคาสูงลิบ ขาดจรรยาบรรณขององค์กรที่ดี ในด้านสิทธิและสวัสดิการแรงงาน เป็นต้น ห่างโซ่อุปทาน (Supply chain) องค์กรต่างๆ ล้วนมีผู้ส่งมอบ (Suppliers) ของตน การนำหลักการด้าน SR ไปใช้กับผู้ส่งมอบเหล่านั้นด้วยจะทำให้มีการพัฒนาไปพร้อมๆ กันทั้งด้านเศรษฐกิจ และสังคมโลก การเปิดเสรีการค้า และการปฏิรูปด้านกฎหมายต่างๆ เนื่องจากปัจจุบัน โลกเปิดเสรีทางการค้า แต่ในแง่ของกฎหมาย กฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ อาจยังไม่คลอบคลุม หรือเพียงพอที่จะคุ้มครองให้องค์กรธุรกิจดำเนินการอยู่ภายใต้จรรยาบรรณที่ดี ดังนั้นหากภาคธุรกิจ มีผู้นำที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม ก็จะเป็นตัวสร้างกระแส SR ให้เกิดขึ้น อุดช่องโหว่ที่ฝ่ายรัฐบาลเข้าไปดูแลไม่ถึง กระแสเรื่องสิ่งแวดล้อม และสังคม เป็นประเด็นปัญหาที่เป็นที่ยอมรับทั้งโลกที่ต้องร่วมกันรับผิดชอบ นับจาก RIO Summit ในปี พ.ศ.2503 (ค.ศ.1960) ที่นำประเด็นเรื่องสิ่งแวดล้อมให้อยู่ในกระแสสังคมโลก ต่อมากระแสด้านสังคม ก็เพิ่มขึ้นเนื่องจากเกิดปัญหาสังคม ทำให้เกิดแนวคิดเรื่อง Triples Bottom Line กล่าวคือ การบริหารจัดการที่ใส่ใจผลกำไร สิ่งแวดล้อม และสังคมไปพร้อมๆ กัน เนื่องจากกระแสเรื่องสิ่งแวดล้อม และสังคม เป็นประเด็นร้อน บีบให้องค์กรธุรกิจต้องหันมาใส่ใจ แต่ก็ยังคงต้องรักษาผลกำไรขององค์กรไว้เป็นหลัก ดังนั้นการทำ SR จึงเป็นทางออกที่ดีที่สุดที่จะประสานประโยชน์ทั้ง 3 เข้าด้วยกันได้ องค์กรธุรกิจหลายองค์กรที่มีวิสัยทัศน์กว้างไกล จึงเริ่มหันมาทำ SR กันอย่างพร้อมหน้า เช่น Climate change การเปลี่ยนแปลงของบทบาทและหน้าที่ของรัฐ องค์กรเอกชนเริ่มเข้ามามีบทบาทหน้าที่แทนในกิจกรรมหรือการบริการที่รัฐเคยเป็นผู้ดำเนินการเอง ความคาดหวังของประชาคมและชุมชน ประชาคมและชุมชนมีความคาดหวังที่จะได้รับทราบถึงสมรรถนะขององค์กรที่แสดงถึงความรับผิดชอบต่อชุมชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องที่มีเพิ่มขึ้น อาจมีกฎหมายการสามารถเข้าถึงข้อมูลผลการดำเนินงานขององค์กร (Community right to know legislation) โดยจะเห็นว่าองค์กรต่างๆ มีการทำ Annual sustainability report

Definition of SD “development that meets the needs of the present without compromising the ability of future generations to meet their own needs” The Report of the Brundtland Commission, Our Common Future, 1987 United Nations World Commission on Environment and Development

Balancing the Triple Bottom Line Sustainable Development (SD) = Fundamental of business to ensure license to operate, innovate, and grow ผลการดำเนินงานสามารถวัดได้ชัดเจนในมิติของธุรกิจ (ผลกำไร/ขาดทุน ราคาหุ้น) ทางด้านสิ่งแวดล้อม (วัดจากการบรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมาย ค่าผลกระทบของดิน น้ำ อากาศ ตามกฎหมาย) แต่ทางด้านสังคมวัดยาก รวมทั้งพบอีกว่าความสนใจและความคาดหวังเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา Balancing the Triple Bottom Line

กระแสและกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง การกำหนดแนวปฏิบัติจากองค์กรต่างๆ กำหนดแนวทางการปฏิบัติจากองค์กรสากล เช่น ILO Tripartite Declarations UN Global Combat OECD Guidelines GRI (การทำรายงาน) หน่วยงานมาตรฐานของประเทศต่างๆ ISO เป็นหน่วยงานมาตรฐานสากลเข้ามารับผิดชอบดำเนินการ หน่วยงานธุรกิจต่างๆ มีการกำหนดเกณฑ์ที่เป็นแนวทางปฏิบัติของตนเอง รวมทั้งองค์กรสากลต่างๆ โดยเฉพาะองค์การสากลด้านแรงงาน หน่วยงานมาตรฐานในแต่ละประเทศทั้งในยุโรปและอเมริกา ซึ่งมีความแตกต่างและหลากหลาย โดยพบว่าคำนิยามที่กำหนดขึ้นมีความแตกต่างกัน ISO ซึ่งเป็นหน่วยงานมาตรฐานสากลจึงต้องเข้ามาดำเนินการ The United Nations Global Compact is an initiative to encourage businesses worldwide to adopt sustainable and socially responsible policies, and to report on them. Under the Compact, companies are brought together with UN agencies, labour groups and civil society. The Global Compact was first announced by United Nations Secretary-General Kofi Annan in an address to The World Economic Forum on January 31, 1999, and was officially launched at UN Headquarters in New York on July 26, 2000. As of 2006, it includes more than 3,300 companies from all regions of the world, as well as around 1000 labour and civil society organizations, also from all regions of the world. On June 24, 2004, during the first Global Compact Leaders Summit, the Secretary-General announced the addition of a tenth principle against corruption. This step followed an extensive consultation process with all Global Compact participants. The Global Compact Office is supported by six UN agencies: the United Nations High Commissioner for Human Rights; the United Nations Environment Programme; the International Labour Organization; the United Nations Development Programme; the United Nations Industrial Development Organization; and the United Nations Office on Drugs and Crime The Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD) is an international organisation of thirty countries that accept the principles of representative democracy and free market economy. It originated in 1948 as the Organisation for European Economic Co-operation (OEEC), led by Robert Marjolin of France, to help administer the Marshall Plan, for the reconstruction of Europe after World War II. Later, its membership was extended to non-European states, and in 1961, it was reformed into the Organisation for Economic Co-operation and Development by the Convention on the Organisation for Economic Co-operation and Development

จุดเริ่มต้นของ ISO 26000 2001 In April 2001 ISO council asked ISO/COPOLCO to deliberate on the possibility of developing a CSR standard. In May 2001 ISO/COPOLCO started a feasibility study on standards for corporate social responsibility and launched an online forum to gather stakeholder views. The forum was set up to facilitate worldwide discussion of the possible role of standards in defining the elements of corporate social responsibility. It was designed to provide a mechanism for increasing awareness and promoting constructive discussion of new and existing corporate social responsibility initiatives and their relevance to existing and potential standards projects. 2002 In June 2002, ISO's Committee on consumer policy (ISO/COPOLCO) arranged a workshop, hosted by the Trinidad and Tobago Bureau of Standards (TTBS) in Port of Spain, on the theme of Corporate Social Responsibility – Concepts and solutions". A report was made by the ISO/COPOLCO Working Group. The conclusion was reached that development of CSR standard in ISO is necessary. In September 2002, ISO/TMB established a multi-stakeholder Strategic Advisory Group to further explore the issue of whether or not ISO should launch the development of a standard for corporate social responsibility (CSR). 2003 In February 2003, the Strategic Advisory Group, established by the TMB to examine the question of whether standardization work by ISO could add value to already existing programmes for the range of issues coming under the scope of what has come to be termed "Corporate Social Responsibility“, presented recommendations to ISO. One of the recommendations the group put forward was that any work by ISO should address the social responsibility not only of business corporations, but of organizations of all types. Accordingly, it was recommended that any possible ISO social responsibility deliverables should be drafted without references limiting application to particular types of organization. 2004 In April 2004, the Strategic Advisory Group issued an extensive report and final recommendations which included an overview of social responsibility initiatives worldwide and identified issues that should be taken into account by ISO. In June 2004, ISO held a conference on social responsibility hosted by the Swedish Standards Institute (SIS) in Stockholm, Sweden. The conference drew 355 participants from 66 countries, including 33 developing countries, representing the major stakeholder groups: business, government, labour, consumers, and non-governmental organizations. The conference discussed whether ISO should proceed with work addressing the social responsibility of organizations and, if so, what form it should take. The decision in favour of developing an ISO guideline standard on SR was taken by the ISO/TMB at its meeting. 2004(cont’d) Just after the conference, on 24-25 June 2004, at its meeting, the TMB concluded on the basis of the consistent and supportive feedback from the conference that a further feasibility study was unnecessary and that the SR work should be undertaken immediately. It accepted the recommendations from the Strategic Advisory Group and addressed them in its resolution 35/2004 to launch ISO work on SR. ISO national member bodies were asked to submit candidates for a twinned chairmanship and secretariat to the ISO working group on Social Responsibility, linking developed and developing countries. [In September 2004 the secretariat duties were given to the national standardization bodies of Brasil (ABNT) and Sweden (SIS). 違うのではないか] In October 2004, ISO issued a New Work Item Proposal (NP) for development of an SR standard to its member bodies for a three-month voting period. The proposal would be accepted if approved by a simple majority of the members voting with a commitment by at least five members to participate actively in the work. 2005 In January 2005 the ballot on the New Work Item Proposal was finalized with a broad majority in favour of starting the development of a standard for Social Responsibility. A Working Group was established within ISO, to develop an International Standard providing guidelines for social responsibility (SR). ILO MOU – ISO and the ILO have signed a Memorandum of Understanding to ensure that the ISO 26000 be consistent with ILO conventions. In March 2005, the ISO/TMB/WG on SR held its 1st plenary meeting in Salvador, Brazil, hosted by ABNT (Brazil) and SIS (Sweden). In September 2005, the 2nd WG plenary meeting was held in Bangkok, Thailand, hosted by TISI (Thailand) and JISC (Japan). 2006 In May 2006, the 3rd WG plenary meeting was held in Lisbon, Portugal, hosted by IPQ (Portugal). In January 2007, the 4th WG plenary meeting was held in Sydney, Australia

การกำหนดมาตรฐาน ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (ผู้เชี่ยวชาญและผู้สังเกตการณ์) จาก 6 กลุ่มหลัก คือ ผู้บริโภค (Consumers) รัฐ หรือราชการ (Government) อุตสาหกรรม (Industry) แรงงาน (Labor) หน่วยงานที่ไม่ใช่ภาครัฐ (NGOs) ที่เหลือ ได้แก่ การบริการ หน่วยงานสนับสนุน งานวิจัย และ อื่นๆ (SSRO: Service, support, research and others) From the beginning, the ISO/TMB has considered it essential that balanced representation among diverse stakeholders be ensured in the development of SR standards. In the Working Group, there are six stakeholder categories: Consumer, Government, Industry, Labour , NGOs and Service, support, research and others. Category description (from ISO/TMB/WG SR N 48 rev. 1 – 2005-09-30) Consumer A member of a consumer stakeholder category is a representative of a consumer organization, which is defined as either 1. An independent organization which is: • advocating the interests of consumers before other organisations and governments. • not-for-profit in character • not involved in the advancement of commercial interests, although it may engage in trading activities related to the provision of consumer information and to promoting its own work • not affiliated with any political party or, 2. An organisation or agency that is active in consumer affairs. Such an organisation or agency may for example, specialise in one particular consumer issue such as standards, law or consumer protection. Government An individual formally selected by a governmental or inter-governmental body to represent it. - In most circumstances, this individual is likely to be a salaried civil servant, although it would be possible for a governmental or inter-governmental body to select someone from outside of government (e.g. an academic), to represent a governmental body. - Under this definition, a government could nominate a national standards body to represent it. “Government” includes any public sector body, whether it operates at the local, national, regional or international level. The public sector body may take the form of a department, independent commission, board, bureau, office, agency, government owned or controlled corporation of the government. Industry The industry stakeholder group includes representatives of: Enterprises that manufacture products or provide services and pursue primarily commercial interests. This group includes supportive enterprises like energy and water supply, banking, communication, insurance or transport companies. Such enterprises exist of any size and legal form and may operate at local, regional or international level. Industry also includes employer organizations, business associations, special industry organizations and trade associations representing various industries at the national, regional and international levels. Excluded are enterprises and other organizations that offer services related to standardization, including certification, registration, accreditation, and related consulting services (SRI services) that pose an inherent conflict of interest. General consulting or advisory services are also excluded unless they have been retained for the purpose of representing enterprises or employer organization in the ISO/TMB/WG/SR process or nominated to represent industry by their national standard bodies. Labour (from CAG N1) This category was created for workers as stakeholders and should therefore include only persons designated by independent representative workers’ organizations. This means that it cannot include persons or representatives of organizations that deal with labour or workplace issues but do not represent workers nor persons from the human resource departments of companies or from enterprises providing labour-related services or advice or from NGOs that deal with labour or workplace issues. Obviously, it also excludes representatives of organizations established or effectively controlled by employers, industry or governments in any way. ILO Convention 135 defines worker representatives as “…persons who are recognized as such under national law or practice, whether they are -- (a) trade union representatives, namely, representatives designated or elected by trade unions or by members of such unions; or (b) elected representatives, namely, representatives who are freely elected by the workers of the undertaking in accordance with provisions of national laws or regulations or of collective agreements and whose functions do not include activities which are recognized as the exclusive prerogative of trade unions in the country concerned.” This definition provides the basis for an understanding at the international level as to what constitute genuine workers’ organizations (usually referred to collectively as trade unions) in any specific situation or country. National standard bodies should invite the most representative workers’ organization to nominate an expert. When the standards body is in doubt ICFTU or ILO should be consulted. If ILO is consulted it will apply its procedures for recognizing delegates to the international labour conferences NGO Within the context of the ISO/TMB/WG/SR a non-governmental organization (NGO) is defined as: A non-profit association of individuals or organizations that has public interest objectives related to the topic of Social Responsibility or any of its component issues. The following baselines should be considered: The mission of the NGO should not be the development of standards, or the provision of standards-related services; The NGO should not represent the specific interests of either government, industry, labor unions or consumer groups; and Grants or membership dues from, or fee-based services to, for-profit organizations should not be a significant proportion of an NGO’s overall funding or compromise the autonomy of its governance. Service, support, research and others Organisations and individuals, not from other stakeholder categories, that seek to advance understanding of SR through education, training, academic study and research. Organizations and individuals, not from other stakeholder categories, that develop voluntary standards, codes of practice and SR related tools. Organizations and individuals, not from other stakeholder categories, that provide services related to the implementation and support on SR activities.

ขอบข่ายของมาตรฐาน ใช้ได้กับองค์กรทุกประเภท รายละเอียดที่เกี่ยวข้องกับ SR แนวคิดและคำนิยาม ความเป็นมาและแนวโน้ม หลักการ และแนวทางปฏิบัติ หัวข้อหลักและประเด็นที่เกี่ยวข้อง (Core subjects and issues) การนำไปประยุกต์ใช้ การชี้บ่งผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การสื่อสารผลการดำเนินงาน การส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน อย่างน้อยต้องสอดคล้องกับกฎหมายที่กำหนด ส่งเสริมแนวทางปฏิบัติอื่นๆ ที่มีมาก่อนหน้า ไม่ใช่มาตรฐานระบบการบริหารงาน จึงไม่ได้ตั้งใจให้มีการนำไปใช้ในการรับรอง หรือ ใช้เป็นเงื่อนไขด้านกฎหมายและการทำข้อตกลง

ขอย้ำว่า ISO 26000 “Guidance on social responsibility” ไม่ใช่มาตรฐานระบบการบริหารงาน (Management system standards) เป็นมาตรฐานให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม (SR) ไม่มีจุดมุ่งหมายให้นำไปใช้ในการรับรอง (third-party Certification)

แผนการประกาศ ISO 26000

ความหมายของ SR ความรับผิดชอบขององค์กรสำหรับผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการตัดสินใจและการดำเนินงานต่อด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยอยู่บนพื้นฐานของความโปร่งใสและคุณธรรม/จริยธรรม ที่ สนับสนุนการพัฒนาอย่างยั่งยืน และความสมบูรณ์มั่งคั่งของสังคม การตอบสนองต่อความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมถึงแนวปฏิบัติระดับสากล ผสานเข้าเป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินธุรกิจ สังคมที่อยู่ดีมีสุข

โครงสร้างของ IS0/WD 26000 บทนำ ขอบข่าย มาตรฐานอ้างอิง นิยามและคำศัพท์ ความเข้าใจเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม (SR) หลักการของ SR (Principles) แนวปฏิบัติของ SR (Practices) ประเด็นหลักของ SR (Core subjects) ข้อแนะนำสำหรับองค์กรในการนำไปปฏิบัติ ภาคผนวก (Guidance)

ความรับผิดชอบต่อสังคม หลักการของ ความรับผิดชอบต่อสังคม (SR Principles)

หลักการของความรับผิดชอบต่อสังคม รับผิดชอบผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (Accountable) 7. เคารพต่อข้อกำหนดและแนวปฏิบัติระหว่างประเทศ (International Norms) 2. โปร่งใสในการตัดสินใจและกิจกรรมที่ดำเนินการ (Transparent) หลักการ 3. มีคุณธรรม/จริยธรรม ในการดำเนินการ (Ethical Behavior) 6. ให้ความสำคัญต่อสิทธิมนุษยชน (Human Rights) 5. การปฏิบัติตามกฎหมาย (Rule of Law) 4. คำนึงถึงความสนใจของ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Interests of Stakeholders)

1. รับผิดชอบผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม (Accountable) ผลกระทบที่เกิดจากการตัดสินใจและการกระทำของตนทั้งที่ตั้งใจและไม่ได้ตั้งใจ ยอมรับการถูกตรวจสอบ และรับผิดชอบในการดำเนินการตามผลการตรวจสอบ การที่สามารถตอบคำถามจากผู้อื่นที่เกี่ยวข้องได้ 5.2

2. โปร่งใสในการตัดสินใจและกิจกรรมที่ดำเนินการ (Transparent) การเปิดเผยเกี่ยวกับนโยบาย การตัดสินใจและการดำเนินการของตนอย่างชัดเจน เหมาะสม เพียงพอและเป็นจริง ตามขอบเขตของกฎระเบียบ/กฎหมาย 5.3

3. มีคุณธรรม/จริยธรรม ในการดำเนินการ (Behave Ethically) ความซื่อสัตย์ และความซื่อตรง กำหนดโครงสร้างเพื่อให้เกิดธรรมาภิบาล ลดการเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน หรือ การมีส่วนได้ส่วนเสีย 5.4

4. คำนึงถึงความสนใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Interests of Stakeholders) มีการชี้บ่งผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย คำนึงถึงผลประโยชน์ของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 5.5

5. ปฏิบัติตามกฎหมาย (Rule of Law) ปฏิบัติตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง มั่นใจว่าผู้ที่เกี่ยวข้อง (relationships) ปฏิบัติตามกรอบที่กฎหมายกำหนดด้วย 5.6

6. ตระหนักในสิทธิมนุษยชน ดำเนินนโยบายและกิจกรรมที่สอดคล้องกับปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (Universal Bill of Human Rights) และประกาศจากองค์กรระดับสากล 5.7

7. เคารพต่อข้อกำหนดและ แนวปฏิบัติระหว่างประเทศ มาตรฐานระหว่างประเทศ (Norms) ข้อตกลง (Treaties) ที่เป็นที่ยอมรับ 5.8

7 ประเด็นหลักของความรับผิดชอบต่อสังคม 4 สิ่งแวดล้อม (The environment) 3 การปฏิบัติด้านแรงงาน (Labor practices) 5 การปฏิบัติที่เป็นธรรม (Fair operating practices) 2 สิทธิมนุษยชน(Human right) 6 ประเด็นผู้บริโภค (Consumer issues) ความรับผิดชอบต่อสังคม (Social Responsibility) 1 การกำกับดูแลองค์กร (Organizational governance) 7 การพัฒนาชุมชนด้านสังคมและเศรษฐกิจ (Social and economic development of the community) หลักการของความรับผิดชอบต่อสังคม เคารพต่อข้อกำหนดและแนวปฏิบัติระหว่างประเทศ รับผิดชอบผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม หลักการ (Principles) โปร่งใสในการตัดสินใจและกิจกรรมที่ดำเนินการ ให้ความสำคัญต่อสิทธิมนุษยชน มีคุณธรรม/จริยธรรมในการดำเนินการ ปฏิบัติตามกฎหมาย คำนึงถึงความสนใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

โครงสร้างของ IS0/WD 26000 บทนำ ขอบข่าย มาตรฐานอ้างอิง นิยามและคำศัพท์ ความเข้าใจเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม (SR) หลักการของ SR (Principles) แนวปฏิบัติของ SR (Practices) ประเด็นหลักของ SR (Core subjects) ข้อแนะนำสำหรับองค์กรในการนำไปปฏิบัติ ภาคผนวก (Guidance)

ISO/WD 26000: SR 5. Principles of SR Accountable Transparent Ethical Behavior Interests of Stakeholders Rule of Law Human Rights International Norms 6. Practices of SR Identifying SR Stakeholder Identification & Engagement Integrating SR into the organization Communication 7. SR Core Subjects Organization Governance Human Rights Labour Practices The Environment Fair Operating Practices Consumer Issues Social & Economic Development of the Community 8. Guidance on Implementing SR Identifying SR Stakeholder Identification & Engagement Integrating SR into organization Communication on SR Examining Activities about SR Using Instruments & Initiatives on SR