MAKING YOUR HOSPITAL BABY-FRIENDLY พญ.มณฑา ไชยะวัฒน
ความหมายของBaby-friendly practices Course Aims every staff member will confidently support mothers with early and exclusive breastfeeding, การให้บริการเช่นนี้ นำไปสู่ความสำเร็จของโรงพยาบาลสายสัมพันธ์แม่ลูก
The aim of the Baby-friendly Hospital Initiative to implement the Ten Steps to Successful Breastfeeding ไม่รับบริจาค ไม่รับตัวอย่างนม ไม่มีวัสดุอุปกรณ์ที่ส่งเสริมการขายจากบริษัทผู้ผลิตหรือแจกจ่ายอาหารทดแทนนมแม่ในโรงพยาบาล ให้การดูแลเรื่องอาหารทารกที่เหมาะสมและการเลี้ยงดูในกลุ่มทารกที่ไม่ได้กินนมแม่
1 มีนโยบายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นลายลักษณ์อักษรที่สื่อสารกับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกคนได้เป็นประจำ สร้างแนวทางปฏิบัติสำหรับบุคลากรและหน่วยบริการจนกลายเป็นงานประจำ ช่วยให้ผู้รับบริการได้ทราบถึงบริการที่ตนเองจะได้รับ ครอบคลุม และห้ามรับบริจาคนมผสม ขวดนม จุกนม และอุปกรณ์ส่งเสริมการขาย กรณีแม่ที่ติดเชื้อเอชไอวี มีระบบบริการ มีแนวทางในการช่วยแม่ในการตัดสินใจเลือกใช้วิธีการให้นมลูกที่เหมาะสม
ฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขทุกคนให้มีทักษะที่จะนำนโยบายนี้ไปปฏิบัติ 2 Knowledgeable staff ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่จำเป็น กำจัดการปฏิบัติที่ไม่สนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และส่งเสริมการปฏิบัติที่ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
ชี้แจงให้หญิงตั้งครรภ์ทุกคนทราบถึงประโยชน์และวิธีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 3 ชี้แจงให้หญิงตั้งครรภ์ทุกคนทราบถึงประโยชน์และวิธีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ หญิงตั้งครรภ์ควรได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง ไม่มีการส่งเสริมการใช้นมผสมในระยะตั้งครรภ์ ข้อมูลที่ได้ต้องตรงกับปัญหาของแต่ละคน
ช่วยแม่เริ่มให้ลูกดูดนมภายในหนึ่งชั่วโมงแรกหลังคลอด 4 ช่วยแม่เริ่มให้ลูกดูดนมภายในหนึ่งชั่วโมงแรกหลังคลอด Place babies in skin-to-skin contact with their mothers immediately following birth for at least an hour and encourage mothers to recognise when their babies are ready to breastfeed, offering help if needed. If the baby or mother need immediate medical care at birth, this skin to skin contact can start as soon as they are stable. Skin to skin contact helps: - To keep the baby warm, หายใจดี heat rateสม่ำเสมอ - Breastfeeding to get started - The mother and baby to get to know each other.
5 แสดงให้แม่รู้วิธีเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และวิธีให้น้ำนมยังคงมีปริมาณพอเพียงแม้ว่าแม่และลูกจะต้องแยกจากกัน แม่บางคนไม่รู้จักไม่มีประสบการณ์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ เจ้าหน้าที่ควรชี้ให้เห็นจุดสำคัญที่ทำให้การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เป็นไปด้วยดี position of a baby - In line with ear, shoulder and hip in a straight line, so that the neck is neither twisted nor bent forward or far back; - Close to the mother’s body so the baby is brought to the breast rather than the breast taken to the baby; - Supported at the head, shoulders and if newborn, the whole body supported. - Facing the breast with the baby’s nose to the nipple as she or he comes to the breast.
5 แสดงให้แม่รู้วิธีเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และวิธีให้น้ำนมยังคงมีปริมาณพอเพียงแม้ว่าแม่และลูกจะต้องแยกจากกัน attachment of the baby to the breast Signs of good attachment are: - Chin touching breast (or nearly so) - Mouth wide open - Lower lip turned outwards - Areola: more visible above than below the mouth
5 แสดงให้แม่รู้วิธีเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และวิธีให้น้ำนมยังคงมีปริมาณพอเพียงแม้ว่าแม่และลูกจะต้องแยกจากกัน effective suckling Signs of effective suckling are: - Slow, deep sucks and swallowing sounds - Cheeks full and not drawn in - Baby feeds calmly - ดูดนมอิ่มแล้วปล่อยเอง ท่าทางพึงพอใจ - Mother feels no pain
5 แสดงให้แม่รู้วิธีเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และวิธีให้น้ำนมยังคงมีปริมาณพอเพียงแม้ว่าแม่และลูกจะต้องแยกจากกัน จุดสำคัญในการทำhand expression It can help hand expression if the mother can: - Encourage the milk to flow - Find the milk ducts - Compress the breast over the ducts - Repeat in all parts of the breast. ถ้าทารกไม่ได้กินนมแม่ แม่ต้องรู้เรื่องชนิดอาหารทารก,หาได้ง่าย,พอจ่ายได้,มีใช้ต่อเนื่องและปลอดภัย การได้มา การเตรียมอาหารทารกอย่างปลอดภัย
6 อย่าให้นมผสมน้ำ หรืออาหารอื่นแก่เด็กแรกคลอดนอกจากนมแม่ เว้นแต่จะมีข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ เมื่อทารกดูดนมแม่ นมแม่จะปกป้องลำไส้และเกิดภูมิคุ้มกันในระบบต่างๆของทารก การให้น้ำหรืออาหารอื่นโดยไม่มีข้อบ่งชี้ทำให้สภาพการป้องกันหมดไปและเกิดความเสี่ยงต่อการติดเชื้อ
7 ให้แม่และลูกอยู่ในห้องเดียวกันตลอด 24 ชั่วโมง สนับสนุนให้ลูกได้ดูดนมแม่ทุกครั้งที่ลูกต้องการ 8 แม่ได้เรียนรู้อาการหิวของลูก แม่ได้เรียนรู้การดูแลลูก เรียนรู้การให้นมตามต้องการ
อย่าให้ลูกดูดหัวนมยางและหัวนมหลอกหรือหัวนมปลอม 9 อย่าให้ลูกดูดหัวนมยางและหัวนมหลอกหรือหัวนมปลอม The use of artificial teats or pacifiers may: - Interfere with the baby learning to breastfeed. - Affect milk production. - ทำให้การดูแลทารกยากลำบากมากขึ้นทั้งแม่และเจ้าหน้าที่
10 ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งกลุ่มช่วยเหลือและสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และส่งแม่ไปติดต่อกลุ่ม ดังกล่าวเมื่อออกจากโรงพยาบาลหรือคลินิก กลุ่มสนับสนุนอาจเป็น - Family and friends - Health workers - องค์กรหรือกลุ่มให้คำปรึกษา - อาสาสมัครนมแม่ - หน่วยบริการอื่นๆในชุมชน เจ้าหน้าที่ควรให้คำปรึกษาก่อนแม่กลับบ้าน
Hospitals ต้องปฏิบัติตามthe International Code และมติต่อมาเพื่อเป็นbaby-friendly The overall aim of the International Code of Marketing of Breast-milk Substitutes is the safe and adequate nutrition of all infants. To achieve this aim we must: - Protect, promote and support breastfeeding. - ประกันว่ามีการใช้ breast-milk substitutes (BMS) เมื่อมีความจำเป็น - ให้ข้อมูลอย่างเพียงพอเรื่องอาหารทารก - ห้ามการโฆษณาอาหารทดแทนนมแม่หรือรูปแบบต่างๆที่ส่งเสริมการใช้อาหารทดแทนนมแม่ - Report การฝ่าฝืนCode (and/or local laws) to the appropriate authorities.
Mother friendly birth practices ทำให้แม่รู้สึกว่าทำได้ ควบคุมได้ ได้รับการช่วยเหลือ และพร้อมตอบสนองต่อทารก Supportive practices include: - support during labour, - limiting invasive interventions, - ใช้วิธีการบรรเทาความเจ็บปวด - ให้อาหารอ่อน หรืออาหารเหลว - avoiding unnecessary caesarean sections - facilitating early mother and baby contact. เมื่อโรงพยาบาลปฏิบัติตามกระบวนการthe Baby-friendly Initiative เป้าหมายไม่ใช่การได้รับรางวัล ที่สำคัญกว่านั้นคือการที่แม่และลูกได้รับการดูแลที่ดี ซึ่งส่งผลประโยชน์ในวงกว้างต่อชุมชน และยังให้ประโยชน์แก่แม่ที่ไม่สามารถเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้
The process of Baby-friendly Assessment การประเมินตนเอง(Self-Appraisal) ใช้แบบประเมินตนเองทำโดยคณะกรรมการที่รับผิดชอบ ควรประเมินตามความจริง เพื่อวางแผนแก้ไขให้ได้ตามเวลา อาจเกี่ยวข้องกับการของบประมาณ การฝึกอบรมควรเริ่มต้นให้เร็ว เมื่อดำเนินการแล้วควรมีการประเมินตนเองเป็นระยะ
การประเมินจากบุคลภายนอก(External assessment) เมื่อประเมินตนเองผ่าน คณะทำงานจะติดต่อกับผู้ประเมินจากส่วนกลางโดยใช้ The Global Criteria ที่ประเมินเหมือนกันทั่วโลก อาจมีผู้ประเมิน1คนหรือมากกว่ามาตรวจเยี่ยมเพื่ออธิบายกระบวนการประเมิน check policy and training process อาจแนะนำว่าควรทำสิ่งใดเพิ่มเติม ทีมประเมินจากภายนอกจะประเมินการให้บริการแก่แม่ สัมภาษณ์เจ้าหน้าที่และแม่ สังเกตการปฏิบัติ ทบทวนเอกสาร อาจใช้เวลา1-2 วันขึ้นกับขนาดของโรงพยาบาล ก่อนทีมประเมินมา ควรเตรียมเอกสารข้อมูลไว้ล่วงหน้า เช่น หลักสูตร staff training the hospital policy, breastfeeding statistics, เอกสารระยะฝากครรภ์ การสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ เพื่อประเมินความรู้และทักษะการปฏิบัติ ทีมประเมินจากภายนอกเขียนรายงานสรุปผลการประเมินส่งให้คณะกรรมการระดับชาติเป็นผู้พิจารณาว่าผ่านการประเมินหรือไม่
กรณีที่โรงพยาบาลประเมินไม่ผ่านครบทุกเกณฑ์ คณะกรรมการระดับชาติอาจปรึกษาWHO and UNICEF เพื่อพิจารณาให้ได้Certificate of Commitment to becoming baby-friendly และให้คำแนะนำเพื่อการพัฒนา การติดตามกำกับ (On-going monitoring ) เพื่อธำรงไว้ซึ่งมาตรฐานของ The Global Criteria ปฏิบัติตามthe International Code รวมทั้งติดตามการปฏิบัติด้วย เก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติ เป็นการดีที่จะรวบรวมข้อมูลoutcome หรือresult มากกว่าactivitiesเช่น จำนวนทารกที่ได้ทำskin-to-skin contact หลังคลอด ดีกว่าการทำsheet บอกถึงประโยชน์ของ skin-to-skin contact
การประเมินซ้ำจากบุคลภายนอก(External re-assessment) ประกันว่ายังรักษามาตรฐานของ the “Ten Steps” ปฏิบัติตามthe International Code ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมา รวมทั้งยังให้การดูแลแม่และลูกอย่างต่อเนื่อง UNICEF แนะนำให้hospitals ควรรับการประเมินซ้ำทุก3ปี ควรประเมินจากทีมประเมินภายนอก สามารถใช้full assessment tool เมื่อโรงพยาบาลผ่านการประเมินซ้ำแล้ว จะได้รับการแต่งตั้งใหม่ ถ้าไม่ผ่านต้องได้รับการพัฒนาตามขั้นตอนที่ไม่ผ่าน
ควรรวมBFHI เข้ากับprogrammesคุณภาพที่มีอยู่ The BFHI ควรรวมเข้ากับquality assurance programmes ถ้าโรงพยาบาลมีระบบhospital accreditation systemเรียบร้อยแล้วควรใช้เป็นเครื่องมือวางแผนติดตามกำกับ เนื่องจากmother and child servicesและbreastfeeding หรือinfant feeding เป็นกระบวนการดูแลผู้ป่วย ถือเป็นส่วนสำคัญของ quality committee ซึ่งต้องการการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง อาจใช้แบบประเมินตนเองเพื่อตรวจติดตามภายในองค์กร และวางแผนการปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่องจนกระทั่งเป็นองค์กรที่เชี่ยวชาญได้
ขอบคุณค่ะ