Visual Communication for Advertising Week15-16

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สตอรี่บอร์ด (Story board)
Advertisements

Work Shop: Set Actor & Story
การเขียน STORYBOARD STORYBOARD.
โครงการ การสร้างสื่อผลิต MV ( Music Video )
กรอบแนวคิดและแผนงานการสื่อสาร
รูปแบบ Story Board อย่างง่าย
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
CLIP VDO + โดย พุทธพจน์ ตรีเภรี + -. CLIP VDO+ Q : แหล่งที่อยู่
การสื่อสารกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
Background / Story Board / Character
การเขียนบทโทรทัศน์ สุรพล บุญลือ.
การถ่ายวีดีโอ.
ปัจจัยสำคัญของภาพยนตร์
บทที่8 การเขียน Storyboard.
08:30-08:45 ตัวแทนโรงเรียนกล่าวเปิดการอบรม แนะนำ วิทยากร วิดีโอ “ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21” กิจกรรมสันทนาการ 09:00-09:40 แผนที่ชุมชน.
การเขียนแผนการสอน Media Base learning. รายละเอียดแผนการเรียนรู้ 1. สาระสำคัญ (Concept) เป็นความคิดรวบยอด หรือหลักการของเรื่องหนึ่งที่ต้องการให้เกิดกับ.
นวัตกรรมและเทคโนโลยี สารสนเทศทางการศึกษา “ กระดานอัจฉริยะ ”
Mobile Application Proposal
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI โดย อาจารย์วาสนา สังข์พุ่ม
Guideline on Good Corporate Governance for Insurance Companies in Thailand 1/11/48.
หลักการตลาด บทที่ 14 การโฆษณา.
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
บทที่ 6 การผลิตสื่อผสมเพื่อการนำเสนอทางด้านวิชาชีพพยาบาล : Lab06
บทที่ 3 การนำเสนอสื่อมัลติมีเดีย
ประสบการณ์ของเอกภาพในคริสตจักรยุคแรก
การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning
โดย นางเพชราภรณ์ คำเอี่ยมรัตน์
Visual Communicationfor Advertising Week1
การโฆษณาผ่านสื่อดิจิทัล AMC4301
ทัศนธาตุในงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อม เหมือนและต่างกันอย่างไร
บทที่6 หลักการออกแบบ 1.การกำหนดความต้องการในงานศิลปะ
Visual Communication for Advertising Week14
การบัดกรีชิ้นงานอิเล็คทรอนิคส์
การสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI
Visual Communication for Advertising Week2-4
Visual Communication for Advertising Week7,9
APD205 หลักการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
บทที่ 11 การจำลองเหตุการณ์ โดยโปรแกรม Scratch Part II
วิธีการเพิ่มกล่อง like แฟนเพจเฟซบุ๊ค ลงในเว็บ Wordpress ของเรา
Seminar 4-6.
นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH
โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
การโฆษณาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การจัดกิจกรรมห้องสมุด
การออกแบบธุรกิจออนไลน์
ภูมิปัญญาผ้าหมักย้อมดินภูเขาไฟ :ผ้าภูอัคนี นางสมศรี เจ้าของภูมิปัญญา ปราชญ์ภูมิปัญญา การย้อมผ้าด้วยวัสดุธรรมชาติ เช่นมะเกลือ แก่นขนุน ใบสาบเสือ.
Advanced Visual Arts 2 2/2559.
โครงการสร้างสรรค์ทัศนศิลป์ขั้นสูง Terminal Project in Advanced Visual Arts 
พื้นที่และ เส้นรอบรูปวงกลม.
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
การจัดทำแผน และนำแผนไปใช้
ขั้นตอนในการพัฒนาบท หนังสั้น
ปรัชญาทั่วไป (General Philosophy) หมู่ 2.
การผลิตสารคดี.
Visual Communication for Advertising Week10-12
Storyboard คืออะไร.
รูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ความหมาย ความสำคัญของการให้การศึกษา และแนะแนวผู้ปกครอง
Outline รู้จักกับโปรแกรม Windows Movie Maker การติดตั้งโปรแกรม
Storyboard คืออะไร.
ตู้หยอดเหรียญผักสลัด ดึงเกษตรกรเข้าถึงผู้บริโภคในเมือง
Visual Communication for Advertising Week7,9
การบริหารกล้ามเนื้อปากและใบหน้า Oral – motor exercise
การเขียนรายงานการออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI)
งาน Trade Association’s President Club (TAP)
การจัดการช่องทางการจัดจำหน่ายและ ห่วงโซ่อุปทาน
นิเทศทัศน์ Visual communication.
ศัพท์บัญญัติ.
การออม (Saving) : Week 9.
เส้นขนาน.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Visual Communication for Advertising Week15-16

(Story Board) ตอรี่บอร์ด (Story Board) คือ การเขียนกรอบแสดงเรื่องราวที่สมบูรณ์ของภาพยนตร์หรือหนังแต่ละเรื่อง โดยมีการแสดงรายละเอียดที่จะปรากฏในแต่ละฉากหรือแต่ละหน้าจอ เช่น ข้อความ ภาพ ภาพเคลื่อนไหว เสียงดนตรี เสียงพูดและแต่ละอย่างนั้นมีลำดับของการปรากฏว่าอะไรจะปรากฏขึ้นก่อน-หลัง อะไรจะปรากฏพร้อมกัน เป็นการออกแบบอย่างละเอียดในแต่ละหน้าจอก่อนที่จะลงมือสร้างเอนิเมชันหรือ หนังขึ้นมาจริงๆ • Storyboard คือ การสร้างภาพให้เห็นลำดับขั้นตอนตามเนื้อเรื่องที่ต้องการ โดยเฉพาะภาพเคลื่อนไหว

งานโฆษณากับการออกแบบนิเทศศิลป์ หลักการเขียนสตอรี่บอร์ด           รูปแบบของสตอรี่บอร์ด จะประกอบไปด้วย 2 ส่วนคือ ส่วนภาพกับส่วนเสียง โดยปกติการเขียนสตอรี่บอร์ด ก็จะวาดภาพในกรอบสี่เหลี่ยม ต่อด้วยการเขียนบทบรรยายภาพหรือบทการสนทนา และส่วนสุดท้ายคือการใส่เสียงซึ่งอาจจะประกอบด้วยเสียงสนทนา เสียงบรรเลง และเสียงประกอบต่างๆ   สิ่งสำคัญที่อยู่ภายในสตอรี่บอร์ด ประกอบด้วย - ตัวละครหรือฉาก ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่หรือตัวการ์ตูน และที่สำคัญ คือ พวกเขากำลังเคลื่อนไหวอย่างไร - มุมกล้อง ทั้งในเรื่องของขนาดภาพ มุมภาพและการเคลื่อนกล้อง - เสียงการพูดกันระหว่างตัวละคร  มีเสียงประกอบหรือเสียงดนตรีอย่างไร

ขั้นตอนการทำ Story Board 1.วางโครงเรื่องหลัก ไม่ว่าจะเป็น Theme, ตัวละครหลัก, ฉาก ฯลฯ     1.1  แนวเรื่อง     1.2  ฉาก     1.3  เนื้อเรื่องย่อ     1.4  Theme/แก่น (ข้อคิด/สิ่งที่ต้องการจะสื่อ)     1.5  ตัวละคร  สิ่งสำคัญคือกำหนดรูปลักษณ์ของตัวละครแต่ละตัวให้โดดเด่นไม่คล้ายกันจนเกิน ไป ควรออกแบบรูปลักษณ์ของตัวละครให้โดดเด่นแตกต่างกัน และมองแล้วสามารถสื่อถึงลักษณะนิสัยของตัวละครได้ทันที  2.  ลำดับเหตุการณ์คร่าว ๆ จุดสำคัญคือ ทุกเหตุการณ์จะเป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและกัน เหตุการณ์ก่อนหน้าจะทำให้เหตุการณ์ต่อมามีน้ำหนักมากขึ้น และต้องหา จุด Climax ของเรื่องให้ได้ จุดนี้จะเป็นจุดที่น่าตื่นเต้นที่สุดก่อนที่จะเฉลยปมทุกอย่างในเรื่อง การสร้างปมให้ผู้อ่านสงสัยก็เป็นจุดสำคัญในการสร้างเรื่อง ปมจะทำให้ผู้อ่านเกิดคำถามในใจและคาดเดาเนื้อเรื่องรวมถึงตอนจบไปต่าง ๆ นานา 3. กำหนดหน้า 4. แต่งบท             เป็นขั้นตอนสุดท้ายก่อนลงมือวาดสตอรี่บอร์ด ควรเขียนบทพูดและบทความคิดที่จะใช้เขียนลงในหนังออกมาโดยละเอียดเพื่อที่จะได้กำหนดขนาดของบอลลูนและจัดวางลงบนหน้ากระดาษได้อย่าเหมาะสม 5. ลงมือเขียน Story Board แบบฟอร์มการเขียนสตอรี่บอร์ดแบบต่างๆ แบบที่ 1

ลำดับขั้นตอนของการออกแบบของที่ระลึก 1. กำหนดประเภทของรูปแบบ คือการกำหนดเป้าหมายเบื้องต้นในเรื่องรูปแบบว่าจะให้มีแนวโน้มไปในลักษณะใด เช่น อาจกำหนดให้มีรูปแบบในลักษณะตามประเพณีนิยมก็อาจออกแบบจำกัดให้ชัดลงไปได้อีกว่ารูปแบบประเพณีนิยมนั้นจะเป็นประเพณีนิยมแบบสากลทั่วไปหรือเป็นรูปแบบประเพณีนิยมเฉพาะของท้องถิ่น ของภูมิภาค ของหมู่บ้าน ฯลฯ หรืออาจกำหนดสร้างให้มีรูปแบบในลักษณะตามสมัยนิยมก็อาจออกแบบจำกัดให้ชัดลงไปได้ว่าจะเป็นรูปแบบที่กำลังนิยมอยู่โดยทั่วไปในปัจจุบันหรือรูปแบบที่กำลังจะเป็นที่นิยมและรูปแบบที่พยายามจะสร้างให้กลายเป้นความนิยมขึ้นใหม่ในโอกาสต่อไปและถ้าจะกำหนดเป้าหมายในเรื่องรูปแบบให้เป็นลักษณะเฉพาะนั้นเป็นรูปแบบเฉพาะของอะไร ของบุคคล เหตุการณ์ งาน สถานที่ฯลฯ

2. เก็บรวบรวมข้อมูล การออกแบบสร้างสื่อสัญลักษณ์สิ่งแทนบุคคล เหตุการณ์ สถานที่หรือแทนสิ่งใดๆ ก็ตาม ผู้ออกแบบควรเก็บรวบรวมข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับสิ่งนั้นๆ เพื่อเป็นแนวทางในการในการออกแบบให้มีลักษณะสอดคล้องกับความเป็นสิ่งนั้นอย่างแท้จริง ซึ่งข้อมูลดังกล่าวอาจจะเป็นประวัติเรื่องราว รายละเอียด รูปภาพ หลักฐานเอกสารสิ่งตีพิมพ์  ฯลฯ           3. สำรวจค่านิยม ในปัจจุบันของที่ระลึกมีส่วนผูกพันกับค่านิยม รสนิยมของบุคคลอยู่มาก คำว่า “ค่านิยม” อาจหมายถึงความสนใจ ความพึงพอใจ ความชอบ ความนิยม หน้าที่ ความปรารถนา ความอยาก ความต้องการ ความแหนงหน่ายและความดึงดูดหรือความรู้สึกอื่นที่มนุษย์มีต่อผลผลิต มีต่อการการกระทำ สิ่งเหล่านี้มนุษย์ยึดถือไว้สำหรับเป็นแนวทางในการใช้เลือกหรือแนวทางในการจัด การรวบรวมองค์ประกอบของสิ่งต่างๆ เข้าด้วยกันด้วยวิธีการที่เหมาะสม จากคำจำกัดความของคำว่า “ค่านิยม” คำเดียว บางครั้งก็ให้ความหมายต่อการทำงานของมนุษย์เป็นอย่างมากในการออกแบบ เพราะมีส่วนผูกพันกับค่านิยมทั้งตัวนักออกแบบเอง แล้วรวมไปถึงผู้ใช้ผู้บริโภคด้วย ค่านิยมจึงเป็นสิ่งที่มีผลต่อการออกแบบสร้างของที่ระลึกอย่างกว้างขวาง ผู้ที่สร้างสรรค์ต้องใช้การสังเกตและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับค่านิยมขิงผู้บริโภคไว้เป็นพื้นฐานประกอบการตัดสินใจในการออกแบบ         

  4. การจับประเด็นสำคัญของข้อมูลเพื่อกำหนดรูปแบบ จากข้อมูลที่เก็บรวบรวม ผู้ออกแบบจะต้องนำมาคัดเลือกกลั่นกรองเอาแต่เฉพาะช่วงตอนที่เป็นประเด็นสำคัญ เพื่อถ่ายทอดสร้างสรรค์เป็นรูปแบบการจับประเด็นสำคัญในข้อมูลนั้นขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบต้องการเน้นย้ำในด้านใด ทั้งนี้เนื่องจากข้อมูลทั้งมวลอาจเป็นเรื่องราวของความรัก ความพลัดพราก ความปีติยินดี ความตาย ความกล้าหาญ ความเชื่อความศรัทธา ความกล้าหาญวีรกรรม ฯลฯ ซึ่งเรื่องราวอันก่อให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจจากข้อมูลเหล่านี้ ย่อมสามารถกระตุ้นเตือนหรือเน้นย้ำความทรงจำได้ต่างกัน หากเรื่องราวเป็นที่ประทับใจ ความทรงจำก็จะฝังแน่นยาวนานกว่าเรื่องราวที่เป็นปกติธรรมดา ดังนั้น ผู้ออกแบบจึงควรมีความเข้าใจในการแยกแยะข้อมูลและจับประเด็นความรู้สึกอันถูกกระตุ้นเร้าจากข้อมูลที่ได้ผนวกกับ“ค่านิยม” แปลค่าออกมาเป็นสื่อสัญลักษณ์สิ่งแทน           5. กำหนดคุณค่าและการนำไปใช้ การจับประเด็นของข้อมูลที่เป็นเนื้อหาเรื่องราวเพื่อกำหนดถ่ายทอดเป็นรูปแบบให้สอดคล้องกับค่านิยมนั้น สามารถกระตุ้นเร้าทางความรู้สึกให้เกิดความประทับใจอันเป็นคุณค่าทางความรู้สึกหรือคุณค่าภายใน ส่วนอีกคุณค่าอีกประการหนึ่งที่ผู้ออกแบบควรคำนึงควบคู่กันไปด้วยคือ คุณค่าภายนอกหรือคุณค่าทางกายภาพของวัตถุ คุณค่านี้อาจเกิดจากการนำวัสดุที่มีคุณค่าในตัวเองอยู่บ้างแล้วมาสร้างสรรค์เป็นของที่ระลึก เช่น อัญมณี งา แก้ว ทองฯลฯ หรือค่าของงานอยู่ที่ความเก๋ กะทัดรัด แปลกตา สวยงาม มีคุณค่าต่อการมองสมารถบันดาลให้เกิดความภาคภูมิใจ มีสง่าราศี เป็นต้น และคุณค่าอีกลักษณะหนึ่งก็คือคุณค่าที่เกิดจากการนำไปใช้ ในปัจจุบันของที่ระลึกมักออกมาในรูปของสิ่งของเครื่องใช้ เครื่องประดับ ที่ได้รับการออกแบบให้มีความหมายว่าเป้นของที่ระลึก นับว่าเป้นความคิดที่ดี ผู้รับสามีรถใช้ประโยชน์จากของที่ระลึกได้ด้วยซึ่งดีกว่าตั้งไว้เพื่อคุณค่าทางจิกใจหรือคุณค่าทางความงามเฉยๆ ซึ่งรูปแบบที่ใช้ในการออกแบบอาจดัดแปลงแปรรูปจากสิ่งของเครื่องใช้ เครื่องประดับที่มีปรากฏอยู่แล้วให้เป้นของที่ระลึก เช่น เอาถ้วยชาม ช้อนส้อม จาน ฯลฯ ย่อขนาดและสัดส่วนลงให้พอเหมาะแล้วกำหนดสัญลักษณ์ของที่ระลึกลงไปก็เป้นของที่ระลึกได้โดยสมบูรณ์

6. ข้อควรคำนึงในด้านการผลิตและการตลาด หากของที่ระลึกที่จะออกแบบนั้นเกี่ยวข้องกับการจัดจำหน่ายโดยผลิตขึ้นเป็นจำนวนมาก ผู้ออกแบบอาจต้องคำนึงถึงสิ่งต่างๆ อีกดังนี้ – ของที่ระลึกนั้นจำเป็นหรือมีคนนิยมหรือไม่ใช้ประโยชน์ได้หรือไม่ – ของที่ระลึกนั้นผลิตขึ้นมาได้ง่ายหรือไม่ วัสดุที่จะนำมาประดิษฐ์นั้นมีอยู่เพียงพอและหาได้ยากง่ายประการใด – จะใช้วัสดุอะไร สีอะไร การขัดเงาเคลือบผิวอย่างไร – การนำออกโชว์ การขนส่งทำได้ง่ายหรือไม่ จะต้องจัดใส่หีบห่อหรือจะต้องระมัดระวังเป็นพิเศษประการใด – วัตถุดิบอะไร ชิ้นส่วนมากน้อยเพียงใด ต้องใช้เครื่องมืออะไร เครื่องแรงงานเป็นอย่างไร ออกแบบแล้วผลิตขึ้นได้หรือไม่ จะผลิตให้ถูก มีคุณสมบัติดีและรวดเร็วขึ้นได้อย่างไร

Exercise Week15-16 1.การออกแบบสตอรี่บอดร์ 2.การออกแบบของที่ระลึก

Homework- Week15-16 homework15 ผลิตสตอรรี่บอดร์mv homework16 ผลิตของที่ระลึกการตลาด