สถาบันรับรองระบบการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ __________________________________________________________________________________________________________________________________________ Institute of Certified Agricultural Production System : ICAPS Maejo University อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา 63 หมู่ 4 ต. หนองหาร อ.สันทราย จ เชียงใหม่ 50290 โทรศัพท์ 0-5387-5685-6 โทรสาร 0-5387-5685 Website : www.icaps.mju.ac.th E-mail : icapsmju@gmail.com
ประวัติความเป็นมา เมื่อปี พ.ศ. 2552 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้มีการจัดทำ ข้อตกลงความร่วมมือด้านมาตรฐานสินค้าเกษตรกับ มกอช. และเข้าร่วมโครงการส่งเสริมระบบคุณภาพ สำหรับหน่วยรับรอง/หน่วยตรวจสอบ ระยะที่ 1 โดย ได้เริ่มดำเนินกิจกรรมจัดทำระบบคุณภาพสำหรับ หน่วยรับรอง (Certification Body : CB) ตาม มาตรฐาน ISO/IEC Guide 65 ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 เป็นต้นมา สภามหาวิทยาลัยได้อนุมัติจัดตั้ง “สถาบันรับรอง ระบบการผลิตผลิตภัณฑ์การเกษตร” ขึ้นเมื่อวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2554 ซึ่งเป็นหน่วยงานวิสาหกิจใน กำกับของมหาวิทยาลัย และมีภารกิจด้านการตรวจ รับรองระบบการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารให้ เป็นไปตามมาตรฐานสากล
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่ สถานที่ตั้ง ชั้น 1 อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่
พันธกิจของสถาบันฯ บริหารและดำเนินการให้สอดคล้องกับข้อกำหนดตาม มาตรฐานสากล ISO/IEC 17020:2012 และ ISO/IEC 17065:2012 และปรับปรุงระบบการตรวจประเมิน/รับรองอย่าง ต่อเนื่อง ยกระดับการตรวจประเมิน/รับรองให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล ตรวจประเมินและให้การรับรอง ให้แก่ผู้รับบริการด้วยความ ถูกต้อง โปร่งใส รวดเร็ว และเป็นธรรม รักษาความลับของข้อมูลและเอกสารของผู้รับบริการทุกรายอย่าง เคร่งครัด สรรหาทรัพยากรที่จำเป็น รวมทั้งบุคลากรที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ให้เพียงพอ ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากรให้มีขีดความสามารถเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ร่วมมือ สนับสนุน และเผยแพร่ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาธารณชน ได้รับการรับรองระบบงาน (Accredited) ตามระบบการรับรอง ระบบงานเพื่อให้เกิดการยอมรับในขีดความสามารถและสถานภาพ
โครงสร้างการบริหาร
บุคลากร ผศ. ดร.สุรัตน์ นักหล่อ ตำแหน่ง รักษาการผู้อำนวยการสถาบันฯ ผศ. ดร.สุรัตน์ นักหล่อ ตำแหน่ง รักษาการผู้อำนวยการสถาบันฯ นางสาวณิชมน ธรรมรักษ์ ตำแหน่ง ผู้จัดการคุณภาพ นางสาวสุพชยาฌ์ นามสาม ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายบริหาร นายอรรถพล นิติราษฎร์ ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายวิชาการ (ผู้จัดการวิชาการ) นางสาวชลดา จี้ยศกาบ ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ฝ่ายวิชาการ นางสาวกานต์สินี อัครศรีประไพ ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ฝ่ายวิชาการ นางสาวชุติกาญจน์ อิ่นแก้ว ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ฝ่ายวิชาการ นายจักรจรัส วาวงศ์มูล ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ฝ่ายบริหาร
ระบบงานที่ได้รับการรับรอง สถาบันฯ ได้รับการรับรองความสามารถในฐานะหน่วยตรวจ (Inspection Body : IB) ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17020:2012 จากสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ขอบข่ายการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ขอบข่ายย่อยด้านพืช (16 ชนิด) ข้าว (มกษ. 4401-2551) ข้าวหอมมะลิไทย (มกษ. 4400-2552) พืชอาหาร (มกษ. 9001-2556) กระเจี๊ยบเขียว (มกษ. 2501-2548) พริก (มกษ. 2502-2548) ข้าวโพดฝักอ่อน (มกษ. 2503-2550) ข้าวโพดหวาน (มกษ. 2506-2556) ลำไย (มกษ. 1000-2546) ข้าวโพดเมล็ดแห้ง (มกษ. 4402-2553) กาแฟ (มกษ. 5903-2553) ใบชาสด (มกษ. 9005-2556) กล้วยไม้ตัดดอก (มกษ. 5501-2552) มะพร้าวน้ำหอม (มกษ. 1001-2551) ขิง (มกษ. 3501-2558) ถั่วลิสง (มกษ. 4900-2553) ถั่วเมล็ดแห้ง (มกษ. 4902-2558)
ระบบงานที่ได้รับการรับรอง ความสามารถในฐานะหน่วยตรวจ ใบ Certification ความสามารถในฐานะหน่วยตรวจ
ระบบงานที่ได้รับการรับรอง
ระบบงานที่ได้รับการรับรอง สถาบันฯ ได้รับการรับรองความสามารถในฐานะหน่วยรับรอง (Certification Body : CB) ตามมาตรฐาน ISO/IEC 17065:2012 จากสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ขอบข่ายการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP) ขอบข่ายย่อยด้านพืช (16 ชนิด) ข้าว (มกษ. 4401-2551) ข้าวหอมมะลิไทย (มกษ. 4400-2552) พืชอาหาร (มกษ. 9001-2556) กระเจี๊ยบเขียว (มกษ. 2501-2548) พริก (มกษ. 2502-2548) ข้าวโพดฝักอ่อน (มกษ. 2503-2550) ข้าวโพดหวาน (มกษ. 2506-2556) ลำไย (มกษ. 1000-2546) ข้าวโพดเมล็ดแห้ง (มกษ. 4402-2553) กาแฟ (มกษ. 5903-2553) ใบชาสด (มกษ. 9005-2556) กล้วยไม้ตัดดอก (มกษ. 5501-2552) มะพร้าวน้ำหอม (มกษ. 1001-2551) ขิง (มกษ. 3501-2558) ถั่วลิสง (มกษ. 4900-2553) ถั่วเมล็ดแห้ง (มกษ. 4902-2558)
ระบบงานที่ได้รับการรับรอง ขอบข่ายเกษตรอินทรีย์ (ORGANIC) ขอบข่ายย่อยด้านพืช มกษ. 9000 เล่ม 1-2552 : มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เล่ม 1 การผลิต แปรรูป แสดงฉลาก และจำหน่ายผลิตผลและผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ มกษ. 9000 เล่ม 4-2553 : มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ เล่ม 4 ข้าวอินทรีย์
ระบบงานที่ได้รับการรับรอง ใบ Certification ความสามารถในฐานะหน่วยรับรอง
ระบบงานที่ได้รับการรับรอง
ระบบงานที่ได้รับการรับรอง
ภาพกิจกรรมการตรวจประเมิน/รับรอง
ภาพกิจกรรมการตรวจประเมิน/รับรอง
ภาพกิจกรรมการตรวจประเมิน/รับรอง
เป้าหมายในอนาคต ในปัจจุบันมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ได้มุ่งเน้นในการส่งเสริมให้ผู้ผลิตสินค้าเกษตรปลอดภัย และสินค้าอินทรีย์ที่ได้รับมาตรฐานสากลในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ ซึ่งสอดคล้องกับพันธกิจของสถาบันฯ โดยสถาบันฯ มีเป้าหมายการดำเนินงานในอนาคต ดังต่อไปนี้ ประชาสัมพันธ์หน่วยงานให้รู้จักอย่างแพร่หลายมากขึ้น เพิ่มจำนวนโครงการ/พื้นที่แปลง ในการตรวจประเมิน/ รับรอง ขอบข่ายพืชอาหาร เช่น พื้นที่ของมูลนิธิ โครงการหลวง และพื้นที่ของสถาบันวิจัยและพัฒนา พื้นที่สูง (องค์การมหาชน) ในจังหวัดต่างๆ เป็นต้น ปรับปรุงและพัฒนาการตรวจประเมิน/รับรอง ให้ สอดคล้องตามมาตรฐานสากล ISO/IEC 17020:2012 และ ISO/IEC 17065:2012 อย่างต่อเนื่อง จัดอบรม เผยแพร่ ความรู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น การ ปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี และเกษตรอินทรีย์ สู่ เกษตรกรหรือผู้ที่สนใจ เป็นต้น เพิ่มจำนวนผู้ตรวจประเมินที่มีความรู้ ความสามารถและ ประสบการณ์
ขอบคุณครับ/ค่ะ