วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
กลุ่มเศรษฐกิจ ภาวการงาน ( มีการจ้างงาน ไร้อาชีพ เป็นทหาร ) อาชีพ
Advertisements

การมีภาวะเจริญพันธุ์ลดลง
สถาบันวิจัยประชากรและสังคม ม.มหิดล Institute for Population and Social Research, Mahidol University การใช้ประโยชน์จากข้อมูลการ สำรวจการเปลี่ยนแปลงของประชากร.
ผลการคัดกรอง ค้นหาวัณโรค อำเภอ (ณ ตค. -31 มีค. 2552)
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน
ASEAN-China FTA.
ผลการดำเนินงานวัณโรค ปี 2552 ชื่อ ……… นามสกุล ……… สถานบริการ ………………
The Future Challenges and Policy Elaboration นพ. โกเมนทร์ ทิวทอง.
โจทย์วิเคราะห์ปัญหาที่ 1
การวัดทางระบาดวิทยา น.ส.วิภาวี ธรรมจำรัส.
Jinnpipat Choopanya, M.D.,M.P.H.M. Mukdahan Provincial Chief Medical Officer.
Chapter 7 Mix problem ผู้สอน อ. ยืนยง กันทะเนตร สาขาวิชาเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ ng.
สถานการณ์โรคมะเร็งในประเทศไทย
How to use epidemiology for trouble shooting the problems
Postterm พญ พัชรินทร์ นภามาศ 14/01/2015.
Breast cancer screening & Evaluation in Thailand
สถานการณ์โรคมะเร็ง จังหวัดเชียงใหม่ ปี
สำนักงานวิจัยเพื่อการพัฒนา หลักประกันสุขภาพไทย Health Insurance System Research Office How to deal with data problems? By Ms. Alice Molinier (ILO) and.
กองส่งเสริมและพัฒนาการปศุสัตว์ ผลการดำเนินงานการ ตรวจสอบน้ำนมดิบ โดย กสส. สตส. สคบ. สทป. 8 กันยายน 2558.
เอกสารประกอบการบรรยาย หลักสูตร Fundamental หัวข้อวิชา องค์กรและระบบงานตรวจสอบภายใน สำนักกำกับและพัฒนาการตรวจสอบภาครัฐ กรมบัญชีกลาง.
Septic shock เป็นภาวะช็อกที่เกิดจาก systemic inflammatory response ของร่างกาย อันเป็นผลมาจากการติดเชื้อรุนแรง.
Trang Provincial Public Health Office
Flexible Budgeting and
การวิเคราะห์งบการเงิน
Burden of disease measurement
ข้อมูลสำคัญในการพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก: มุมมองและความหมาย
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
เครือข่ายบริการ Referral system High level Mid level First level รพศ.
การค้นหาข้อมูลด้วยฟอร์ม
การวัดทางระบาดและดัชนีอนามัย
ประชุมหารือการตามจ่าย เงินกันและOP Refer
สรุปรายงานสถานการณ์วัณโรค จังหวัดปทุมธานี ปี
Service Plan สุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด
การกระจายของโรคในชุมชน
นายแพทย์สุพรรณ ศรีธรรมมา ที่ปรึกษากระทรวงด้านพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
การสัมมนาวิชาการ ปขมท.
สรุปงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
รูปแบบการศึกษา ทางระบาดวิทยา
วัคซีนป้องกันเอชพีวี
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต (Production Theory)
การตรวจสอบภาษีน้ำมันและผลิตภัณฑ์น้ำมัน
สรุปประเมินผลการดำเนินงาน สาธารณสุขจังหวัดสระบุรี รอบ 10 เดือน (ต. ค
วาระการประชุม วาระที่ 1 เรื่องแจ้งเพื่อทราบ
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
Breast Cancer Surveillance system
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
ทพ.สุธา เจียมมณีโชคชัย รองอธิบดีกรมอนามัย
Burden of Diseases (BOD) Disability Adjusted Life Years(DALY)
สถานการณ์วัณโรค นางสาวภัทรา ทองสุข นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ
อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ
(ร่าง) ตัวบ่งชี้และ เกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ ระดับอุดมศึกษา
วันที่ 29 สิงหาคม 2562 นายบรรเจิด เดชาศิลปชัยกุล เภสัชกรเชี่ยวชาญ
แผนงานยุทธศาสตร์บูรณาการระดับประเทศ พัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย
วิชาการเลี้ยงสุกร ระดับปวช.
โครงการปรับปรุง และสร้างฐานข้อมูลหลักมาตรฐานสากล
วิชาการผลิตสุกร บทที่ 6 การจัดการเลี้ยงดูแม่สุกรหลังคลอด
ประชากร.
เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการด้านการเงินการคลังสุขภาพ
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
วิชาการผลิตสุกรพันธุ์ระดับปวช.
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
Evaluation and Development of Information System for Risk groups for Diabetes in Health Region 4 การประเมินและพัฒนาระบบข้อมูลกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานในพื้นที่เขตสุขภาพที่
Topic 12 เงิน สถาบันการเงิน นโยบายการเงิน VS การคลังสาธารณะ(Public Finance) รศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
บทที่ 6 การจัดการสินค้าคงคลัง
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 MLP รายวิชาพื้นฐาน
สถานการณ์ก๊าซปิโตรเลียมเหลว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.1 การวางแผนการผลิตสุกร 6.2 เป้าหมายการผลิตสุกร ผู้เลี้ยงสุกรควรกำหนดเป้าหมายในการผลิตสุกร ดังนี้ 1. วัตถุประสงค์ด้านการตลาดเป็นอย่างไร เช่น ผลิตลูกสุกรหรือสุกรรุ่นจำหน่ายเพียงอย่างเดียว หรือผลิตครบวงจร 2. สัดส่วนสุกรแต่ละระยะกับปริมาณแม่สุกร ขึ้นกับวัตถุประสงค์ของการเลี้ยง การคำนวณขนาดของฟาร์มจะคำนวณจากปริมาณแม่สุกร 3. ระยะเวลาในการเลี้ยง ซึ่งมักตามวัตถุประสงค์ในข้อที่ 1 4. จำนวนพ่อที่จะใช้ผสมพันธุ์มีจำนวนเท่าไร 5. จำนวนแม่สุกรสาวและพ่อสุกรหนุ่มที่จะใช้ทดแทนประจำปี

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.3 จำนวนครอกต่อแม่ต่อปี ฟาร์มที่มีการจัดการที่ดีจะทำให้แม่สุกรมีวงรอบของการผลิตสั้น โดยสามารถผลิตลูกได้ปีละหลายครอก เรียกว่า จำนวนครอกต่อแม่ต่อปี (litter/sow/year) เช่น 2.3 หรือ 2.5 ครอกต่อแม่ต่อปี จำนวนครอกต่อแม่ต่อปีจะมีผลต่อต้นทุนการผลิตของลูกสุกร ถ้าฟาร์มใดมีจำนวนครอกต่อแม่ต่อปีสูงจะเสียต้นทุนการผลิตต่อตัวลูกสุกรต่ำกว่าฟาร์มที่มีจำนวนครอกต่อแม่ต่อปีต่ำ

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.3 จำนวนครอกต่อแม่ต่อปี จำนวนครอกต่อแม่ต่อปี = _ __ 365 _____ จำนวนวันอุ้มท้อง+จำนวนวันเลี้ยงลูก+จำนวนวันท้องว่าง หรือ จำนวนครอกต่อแม่ต่อปี = __ 365 ______ วงรอบการผลิต (วัน) หรือ จำนวนครอกต่อแม่ต่อปี = __ 52 _ ____ วงรอบการผลิต (สัปดาห์)

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.3 จำนวนครอกต่อแม่ต่อปี จำนวนครอกต่อแม่ต่อปี = _ __ 365 _____ จำนวนวันอุ้มท้อง+จำนวนวันเลี้ยงลูก+จำนวนวันท้องว่าง หรือ จำนวนครอกต่อแม่ต่อปี = __ 365 ______ วงรอบการผลิต (วัน) หรือ จำนวนครอกต่อแม่ต่อปี = __ 52 _ ____ วงรอบการผลิต (สัปดาห์) วงรอบการผลิต = ระยะอุ้มท้อง+ระยะเลี้ยงลูก+ระยะท้องว่างก่อนผสม ผสม อุ้มท้อง คลอดเลี้ยงลูก หย่านม ผสม 114 วัน 25-28 วัน 3-10 วัน

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.4 จำนวนลูกหย่านมต่อแม่ต่อปี ถ้าแม่สุกรมีจำนวนลูกหย่านมต่อครอก (wean/litter) มาก และจำนวนครอกต่อแม่ต่อปีมากด้วย ย่อมส่งผลให้จำนวนลูกหย่านมต่อแม่ต่อปีของแม่สุกรมากขึ้น ตารางที่ 6.1 ผลของจำนวนลูกหย่านมต่อครอกและจำนวนครอกต่อแม่ต่อ ปีต่อผลผลิตลูกหย่านมต่อแม่ต่อปีของแม่สุกร

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.4 จำนวนลูกหย่านมต่อแม่ต่อปี จำนวนลูกหย่านมต่อแม่ต่อปีมีความสำคัญ เพราะมีผลต่อต้นทุนการผลิตลูกหย่านมหากได้จำนวนลูกหย่านมต่อแม่ต่อปีมาก ทำให้ต้นทุนในการผลิตลูกหย่านมน้อยกว่าจำนวนลูกหย่านมต่อแม่ต่อปีน้อย ทำให้ผู้เลี้ยงมีรายได้เพิ่มขึ้นและยิ่งมีกำไรมากขึ้น ถ้าในระยะนั้นราคาสุกรตกต่ำ อาจทำให้ขาดทุนน้อยลงหรือไม่ขาดทุนเลย

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.4 จำนวนลูกหย่านมต่อแม่ต่อปี ตารางที่ 6.2 ต้นทุนค่าอาหารในการผลิตลูกสุกรหย่านม 1 ตัวของฟาร์มที่ มีประสิทธิภาพการผลิตต่างกัน

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.4 จำนวนลูกหย่านมต่อแม่ต่อปี ตารางที่ 6.3 รายรับของฟาร์มที่มีประสิทธิภาพการผลิตต่างกัน

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.4 จำนวนลูกหย่านมต่อแม่ต่อปี ตารางที่ 6.4 การผลิตของฟาร์มที่มีประสิทธิภาพต่างกัน

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.4 จำนวนลูกหย่านมต่อแม่ต่อปี ตารางที่ 6.5 รายรับเพิ่มขึ้นของฟาร์ม ก เทียบกับฟาร์ม ข และรายจ่าย เพิ่มขึ้นของฟาร์ม ค เทียบกับฟาร์ม ก

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.5 ปัจจัยในการเพิ่มจำนวนลูกต่อครอกต่อปี ผู้เลี้ยงพยายามทำให้แม่สุกรมีลูกหย่านมต่อแม่ต่อปีจำนวนเพิ่มขึ้น ซึ่งมีผลจากปัจจัยหลายประการดังนี้ 1. เพิ่มให้ลูกดกทำได้โดยเลือกพันธุ์ เพราะพันธุ์แต่ละพันธุ์มีพันธุกรรมของการมีลูกดกไม่เท่ากัน เช่น สุกรพันธุ์ลาร์จไวท์มีลูกดกกว่าสุกรพันธุ์แลนด์เรซ และทั้งสองพันธุ์มีลูกดกกว่าสุกรพันธุ์ดูรอค เป็นต้น 2. เพิ่มให้ลูกดกทำได้โดยเลือกสายพันธุ์ เพราะสายพันธุ์ของแต่ละพันธุ์มีลูกดกต่างกัน เช่น สุกรพันธุ์ต่าง ๆ จากสายพันธุ์ที่มาจากประเทศเดนมาร์คมักมีลูกดกกว่าประเทศอื่น ๆ

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.5 ปัจจัยในการเพิ่มจำนวนลูกต่อครอกต่อปี 3. ลดเปอร์เซ็นต์การตายเมื่อคลอด หรือทำให้จำนวนลูกคลอดมีชีวิตต่อครอกเพิ่มขึ้น ซึ่งขึ้นอยู่กับวิธีการจัดการฟาร์มที่ดี 4. ลดอัตราการตายของลูกสุกรก่อนหย่านม ซึ่งขึ้นอยู่กับการจัดการฟาร์มที่ดีเท่านั้น

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.6 การวินิจฉัยประสิทธิภาพการผลิตลูกสุกรของฟาร์ม การวินิจฉัยประสิทธิภาพการผลิตลูกสุกรของฟาร์มว่าอยู่ในเกณฑ์ดีหรือปกติหรือไม่ สามารถศึกษาได้จากข้อมูลต่อไปนี้ 1. จำนวนแม่สุกรที่ได้ผสมในแต่ละชุดในช่วง 1 สัปดาห์ ศึกษาว่ามีแม่สุกรเป็นสัดสามารถผสมได้เพียงพอต่อสัปดาห์หรือไม่ มีแม่หย่านมรอผสมจนเป็นแม่ตกค้างมากเกินไปหรือไม่ หรือมีสุกรสาวทดแทนตกค้างนานเกินไปไม่ยอมเป็นสัดจำนวนมากหรือไม่ ตามปกติจำนวนแม่สุกรที่ผสมได้ตามเป้าหมายควรประมาณ 6 เปอร์เซ็นต์ของแม่สุกรทั้งฝูง คือ 60 ตัวจากฝูงแม่สุกร 1,000 ตัว 2. อัตราการกลับสัดหรืออัตราการผสมติด เมื่อผสมแม่สุกรแล้วต้องไม่ล้มเหลว มีอัตราการกลับสัดต่ำหรืออัตราการผสมติดดี

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.6 การวินิจฉัยประสิทธิภาพการผลิตลูกสุกรของฟาร์ม 3. การอุ้มท้อง จำนวนแม่สุกรที่ผสมติดสามารถรักษาการอุ้มท้องจนครบกำหนดคลอด ไม่แท้ง หรือไม่มีท้องลม (pseudopregnancy) ซึ่งข้อมูลอัตราการเข้าคลอด (farrowing rate) ต้องไม่ต่ำกว่า 80-85 เปอร์เซ็นต์ คือ เข้าคลอด 50 ตัวจากจำนวนแม่ที่ผสมได้ 60 ตัว หรืออัตรา 0.833:1 หรือ 83.3 เปอร์เซ็นต์ 4. ลูกแรกคลอดต่อครอก (total born) จำนวนลูกแรกคลอดต่อครอกควรอยู่ในช่วง 10-12 ตัวต่อครอก 5. ลูกแรกคลอดมีชีวิตต่อครอกสูง โดยจำนวนลูกกรอก (มัมมี่) ต่ำ จำนวนตายแรกคลอดหรือตายขาว (stillbirth) ต่ำ จำนวนอ่อนแอ พิการ น้ำหนักน้อย (ต่ำกว่า 0.8-1.0 กิโลกรัม) ต่ำ

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.6 การวินิจฉัยประสิทธิภาพการผลิตลูกสุกรของฟาร์ม 6. การตายก่อนหย่านม (prewean mortality) จำนวนลูกที่ตายก่อนหย่านมต่ำ ซึ่งจะส่งผลถึงจำนวนลูกหย่านมสูง 7. น้ำหนักหย่านม ลูกสุกรต้องมีน้ำหนักหย่านมรวมสูงหรือเฉลี่ยต่อตัวสูงสุขภาพแข็งแรง กินอาหารเก่ง 8. การตายหลังหย่านม (postwean mortality) จำนวนลูกสุกรหลังหย่านมที่อยู่ในช่วงอนุบาล (4-5 สัปดาห์) มีการตายต่ำ เพื่อให้ได้สุกรเล็กเพื่อขุนขายต่อไปมีคุณภาพดีอยู่ในเกณฑ์ A และ B ร้อยละ 85-95 ขึ้นไป หากมีลูกสุกรน้ำหนักไม่อยู่ในเกณฑ์ควรส่งไปพร้อมกับลูกสุกรในสัปดาห์ต่อไป

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.7 จำนวนแม่สุกรคัดทิ้งและแม่สุกรสาวทดแทน แม่สุกรจะถูกคัดทิ้งปีละ 15-20 เปอร์เซ็นต์ บางฟาร์มอาจถึง 35 เปอร์เซ็นต์ หรือ 1 ใน 3 เช่น แม่สุกรจำนวน 100 ตัว จะต้องคัดแม่สุกรทิ้ง 35 ตัว และจะต้องสำรองสุกรสาวมาทดแทน (35x100)/85 = 41 ตัวต่อปี ในทางปฏิบัติแม่สุกรถูกคัดทิ้งทุกเดือน ดังนั้นจึงควรมีแม่สุกรสาวทดแทนทุกเดือน ถ้าทำการทดแทนทุก ๆ 3 เดือน จะต้องทำการทดแทนครั้งละ 41/4 = 10.25 หรือประมาณ 10 ตัว

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.8 จำนวนคอกภายในโรงเรือน การวางแผนผังสร้างคอกต่าง ๆ ภายในโรงเรือนสุกรพันธุ์ จะสร้างจำนวนคอกเท่าใด เพื่อให้สามารถใช้คอกต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยู่กับ 1. จำนวนสุกรที่เลี้ยง 2. เป้าหมายการผลิต 3. ช่วงระยะเวลาแต่ละครั้งที่สุกรต้องอยู่ในคอกนั้น ๆ (รวมระยะพัก) 4. พื้นที่ต่อตัวของสุกร 5. ปริมาณสุกรต่อคอก

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.8 จำนวนคอกภายในโรงเรือน การคำนวณคอกค่าง ๆ ทำได้ดังนี้

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.8 จำนวนคอกภายในโรงเรือน การคำนวณคอกค่าง ๆ ทำได้ดังนี้

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.8 จำนวนคอกภายในโรงเรือน การคำนวณคอกค่าง ๆ ทำได้ดังนี้ เกณฑ์ที่ใช้ในการคำนวณ 1. อัตราส่วนพ่อพันธุ์:แม่พันธุ์ เท่ากับ 1:15 2. วงรอบการผลิต 22 สัปดาห์ 3. แม่สุกรท้องให้อยู่ในซองตับ (ผสม-ก่อนคลอด 1 สัปดาห์) 16 สัปดาห์ 4. แม่สุกรให้อยู่ในคอกคลอด 5 สัปดาห์ 5. ลูกสุกรให้อยู่ในคอกคลอดหลังหย่านม 1 สัปดาห์ 6. ลูกสุกรให้อยู่ในคอกอนุบาล 2 สัปดาห์ 7. คอกคลอดและคอกอนุบาลอาจมีช่วงพักคอก 1 สัปดาห์

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.8 จำนวนคอกภายในโรงเรือน การคำนวณคอกค่าง ๆ ทำได้ดังนี้ เกณฑ์ที่ใช้ในการคำนวณ 8. แม่สุกรหลังหย่านมปล่อยลงลานดิน 1 สัปดาห์ 9. น้ำหนักลูกสุกรที่ออกจากคอกอนุบาล 15 กิโลกรัม 10. น้ำหนักสุกรส่งตลาด 100 กิโลกรัม 11. อัตราการเจริญเติบโตในช่วง 15 กิโลกรัม-ส่งตลาด 650 กรัมต่อวัน 12. คอกอนุบาล บรรจุลูกสุกรได้ 10 ตัวต่อคอก 13. คอกสุกรขุนขนาด 4x5 ตารางเมตร บรรจุสุกรได้ 15 ตัวต่อคอก (1.33 ตารางเมตรต่อตัว) 14. อัตราการผสมติด 80 % 15. จำนวนลูกมีชีวิต 9 ตัวต่อแม่ 16. จำนวนลูกหย่านม 90 %

บทที่ 6 การวางแผนการผลิตสุกร 6.8 จำนวนคอกภายในโรงเรือน การคำนวณคอกค่าง ๆ ทำได้ดังนี้ เกณฑ์ที่ใช้ในการคำนวณ 14. อัตราการผสมติด 80 % 15. จำนวนลูกมีชีวิต 9 ตัวต่อแม่ 16. จำนวนลูกหย่านม 90 %