(Product Liability: PL Law)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การวิจารณ์งานทัศนศิลป์ (Art Criticism)
Advertisements

CONFORMITY ASSESSMENT GUIDANCE ON A THIRD-PARTY CERTIFICATION SYSTEM
Course Software Engineering SE Overview and Introduction.
Mobilization Plan ลำดับ แผนงาน เดือนที่ 1 เดือนที่ 2 เดือนที่ 3 1.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
Chapter 2 Software Process.
บทที่ 9 การบริหารคุณภาพ Quality Control and Management
SAP Best Practices Prepackaged Industry & Cross-Industry Know-How ความพร้อมใช้งานสำหรับลูกค้าและคู่ค้า ของ SAP.
Copyright © 2011 Self-access Learning Centre, KMUTT Speaking Web Manual.
การวิเคราะห์ภาระงานของบุคลากรสายสนับสนุน
ทพญ. เรวดี ศรีหานู. ภาพรวมของการพัฒนา คุณภาพ ระบบบริหารความเสี่ยง องค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันและควบคุมการ ติดเชื้อ.
Managerial Accounting for Management
การบัญชีเกี่ยวกับส่วนของผู้เป็นเจ้าของ(Accounting of Owners’ Equity)
อ.หทัยกาญจน์ กำเหนิดเพชร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
Food safety team leader
นิเทศทัศน์ Visual communication.
Human resources management
พัฒนาการของการคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อม
กม.152 กฎหมายมหาชนเบื้องต้น Introduction to Public law (ตอน 02)
บทที่ 1 แนวคิด ทฤษฎี และพัฒนาการของกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
Marketing Concept วิวัฒนาการของแนวความคิดทางการตลาด แบ่งได้ 5 แนว
หน่วยที่ 2 ข้อมูลและสารสนเทศ
บทที่ 5 ความต้องการ วิศวกรรมความต้องการ แบบจําลองการวิเคราะห์
จริยธรรมทางการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม
Software Evolution แบบจำลองกระบวนการพัฒนา/ผลิตซอฟต์แวร์ (Process Model) แบบจำลองใช้สำหรับชี้นำถึงกิจกรรมหลัก (key Activities) ในการพัฒนาซอฟต์แวร์ ด้วยการกำหนดรายละเอียดหรือข้อบัญญัติไว้ในแต่ละกิจกรรมในแต่ละขั้นตอนที่มีลำดับขั้นตอนการพัฒนาที่ชัดเจน.
ความตระหนักการจัดการคุณภาพ
ตอนที่ 2 ขอบเขตการบังคับใช้ พ.ร.บ. วิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง
สงกรานต์ ป้องบุญจันทร์ คณะนิติศาสตร์ ม.เชียงใหม่
โครงการพัฒนานวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนงานครอบครัวอบอุ่น
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
ADM 2301 การสื่อสารการตลาดในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร 2552 VS 2558
บทที่ 1 ความเบื้องต้นเกี่ยวกับ ความรับผิดละเมิด
Tourism Industry Vs Retail Business in Thailand Suan Sunandha Rajabhat University Bangkok, Thailand January 13, 2019.
อีคอมเมิร์ซกับจริยธรรม กฎหมาย และสภาพแวดล้อมทางสังคม
กฎหมายอาญา(Crime Law)
แนวบรรยาย เรื่อง หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระทำทางปกครอง
Review of the Literature)
ลำพูน นายพงษ์ธาดา แก้วกมล หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการโยธาธิการ
การออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอร์
บทที่ 6 การแบ่งส่วนตลาด การตลาด เป้าหมาย และการวางตำแหน่ง ผลิตภัณฑ์
หลักเกณฑ์การประเมินผลงานวิชาการ กลุ่มงานประเมินบุคคลและวิชาการ
Object-Oriented Analysis and Design
Advanced Visual Arts 2 2/2559.
บทที่4 การควบคุมการใช้อำนาจรัฐ
มิติทางสังคมและจริยธรรมสำหรับนักเทคโนโลยีสารสนเทศ
MG414 Supply Chain and Logistics Management
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
บทที่ 2 วิวัฒนาการของกฎหมาย
กฎหมายสิ่งแวดล้อม : การฟ้องคดีสิ่งแวดล้อม
บทที่ 6 ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค
กลไกลการขับเคลื่อนนโยบายความปลอดภัยทางงถนน
Chapter 8 State and Sovereign Immunity
บทที่ 5 การออกแบบวิจัย อ.พิสิษฐ์ พจนจารุวิทย์
กฎกระทรวง สถานที่เก็บรักษาก๊าซปิโตรเลียมเหลวประเภทโรงเก็บ พ.ศ. 2560
Inventory Control Models
บทที่ 1 ผลิตภัณฑ์บริการ
พว.พิมพ์วรา อัครเธียรสิน
บทที่ 5 การวางแผนผังกระบวนการผลิต
Chapter 8 State and Sovereign Immunity
กฎหมายอาญาภาคความผิด 1
บทที่ 5 การออกแบบวิจัย อ.พิสิษฐ์ พจนจารุวิทย์
แนวโน้มกรุงเทพเมืองใหม่จากแลนด์มาร์คใหม่
ผลประกอบการทางการเงิน
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในการดำเนินธุรกิจ และ หลักการประกอบธุรกิจสมัยใหม่ สัปดาห์ที่ 3 1.
รหัสวิชา CPD 1121 รายวิชา การวาดเส้น
โดย สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดจันทบุรี
ใบสำเนางานนำเสนอ:

(Product Liability: PL Law) 1 พ.ร.บ. ความรับผิดต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้า ที่ไม่ปลอดภัย (Product Liability: PL Law) กิตติ ตั้งจิตรมณีศักดา SCG Legal Counsel Limited

หลักการของกฎหมาย  ผู้ประกอบการต้องรับผิดต่อผู้เสียหายในความเสียหาย 2 หลักการของกฎหมาย  ผู้ประกอบการต้องรับผิดต่อผู้เสียหายในความเสียหาย ที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย

1. กฎหมายปัจจุบันมีข้อจำกัด 2. สินค้าและเทคโนโลยีที่ซับซ้อนขึ้น 3 เหตุผลของกฎหมาย 1. กฎหมายปัจจุบันมีข้อจำกัด กฎหมายละเมิด กฎหมายสัญญา 2. สินค้าและเทคโนโลยีที่ซับซ้อนขึ้น

ข้อจำกัด: กฎหมายละเมิด 4 ข้อจำกัด: กฎหมายละเมิด  ละเมิด: ทำให้เสียหายโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ  ผู้เสียหายฟ้องผู้ประกอบการไม่ได้ หากผู้ประกอบการ ไม่ได้จงใจหรือประมาทเลินเล่อ

ข้อจำกัด: กฎหมายสัญญา 5 ข้อจำกัด: กฎหมายสัญญา  หลักคู่สัญญา (Doctrine of Privity) ผู้เสียหายฟ้องผู้ประกอบการไม่ได้หากไม่ได้เป็น คู่สัญญากับผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการ ผู้ขายส่ง ผู้ขายปลีก ผู้เสียหาย

ความรับผิดแบบเคร่งครัด (Strict Liability) 6 ความรับผิดแบบเคร่งครัด (Strict Liability)  ผู้ประกอบการต้องรับผิดชอบแม้ไม่ได้จงใจหรือ ประมาทเลินเล่อ  ผู้เสียหายฟ้องคดีได้แม้ไม่ได้เป็นคู่สัญญากับ ผู้ประกอบการ

LANDMARK CASE : ESCOLA V. COCA COLA BOTTLING (1942) 7 LANDMARK CASE : ESCOLA V. COCA COLA BOTTLING (1942)  วางหลัก Strict Liability ด้วยเหตุผลว่า:  ผู้ประกอบการอยู่ในสถานะที่ดีกว่าผู้เสียหายในการ ป้องกันอันตราย  ผู้บริโภคเชื่อถือในชื่อเสียงของผู้ประกอบการ

สาระสำคัญของกฎหมาย กฎหมายจะมีผลใช้บังคับตั้งแต่ 20 กุมภาพันธ์ 2552 8 สาระสำคัญของกฎหมาย กฎหมายจะมีผลใช้บังคับตั้งแต่ 20 กุมภาพันธ์ 2552 กฎหมายไม่ใช้บังคับกับสินค้าที่ขายก่อนวันที่กฎหมายมีผลใช้บังคับ ผู้ประกอบการต้องรับผิดต่อผู้เสียหายใน ความเสียหายที่เกิดขึ้นจากสินค้าที่ไม่ปลอดภัย

9 ประเภทของสินค้า สังหาริมทรัพย์ทุกชนิด รวมทั้งผลิตผลเกษตรกรรมและกระแสไฟฟ้า ยกเว้นสินค้าที่กำหนดในกฎกระทรวง

ประเภทของความไม่ปลอดภัย 10 ประเภทของความไม่ปลอดภัย สินค้าที่ไม่ปลอดภัย จาก  การผลิต (Manufacturing Defect)  การออกแบบ (Design Defect)  คำเตือนที่ไม่เพียงพอ (Inadequate Warning / Instructions) โดยคำนึงถึงสภาพของสินค้า ลักษณะการใช้งานและ การเก็บรักษาตามปกติธรรมดา อันพึงคาดหมายได้

11 Design Defect  หากใช้ Design อื่นจะทำให้สินค้าปลอดภัยมากขึ้น แต่ละเลยไม่ใช้ และการละเลยนั้นก่อให้เกิดอันตราย  ความคาดหวังของผู้บริโภค (Consumer Expectation Test)  ค่าใช้จ่าย/ต้นทุนที่เพิ่มขึ้นกับความ ปลอดภัยที่ได้รับ (Risk / Utility Analysis)

Prentis v. Yale Mfg (1984)  รถ Forklift ของ Yale ไม่มีที่นั่ง 12 Prentis v. Yale Mfg (1984)  รถ Forklift ของ Yale ไม่มีที่นั่ง  เมื่อเกิดไฟฟ้ากระตุก Prentis ตกลงจากรถและได้รับอันตราย  Prentis พิสูจน์ได้ว่า มีรถ Forklift รุ่นอื่น ๆ ในตลาดที่มีที่นั่ง และมี Safety Belt

Manufacturing Defect  สินค้ามีการผลิตที่แตกต่างไปจาก specification 13 Manufacturing Defect  สินค้ามีการผลิตที่แตกต่างไปจาก specification หรือ design ที่กำหนดไว้  การผลิตที่แตกต่างไปดังกล่าวก่อให้เกิดอันตราย

Inadequate Warning / Instruction 14 Inadequate Warning / Instruction  หากใช้คำเตือนที่เหมาะสม จะลดความเสี่ยงของ ความไม่ปลอดภัย แต่ละเลยไม่ใช้  การละเลยนั้น ก่อให้เกิดอันตราย

O’ Brien v. Mushin Corporation (1983) 15 O’ Brien v. Mushin Corporation (1983)  O’ Brien กระโดดพุ่งหลาว ลงไปในสระน้ำเด็กขนาด 3 ฟุต  ขอบสระมีคำเตือน ขนาด 1 นิ้ว ว่า “DO NOT DIVE”

 “do not use for drying pet” (ไมโครเวฟ) 16 ตัวอย่าง คำเตือน  “do not use for drying pet” (ไมโครเวฟ)  “do not iron clothes on body” (เตารีด)  “remove plastic before eating” (ห่อขนม)  “do not use in shower” (ไดร์เป่าผม)  “may irritate eyes” (สเปรย์พริกไทย) “hot beverages are HOT” (แก้วกาแฟ) Full-proof vs. Foolproof

ผู้ประกอบการ (ผู้ต้องรับผิด) 17 ผู้ประกอบการ (ผู้ต้องรับผิด)  ผู้ผลิต หรือ ผู้ว่าจ้างให้ผลิต  ผู้นำเข้า  ผู้ขายสินค้า (เฉพาะกรณีไม่สามารถหาตัว ผู้ผลิต ผู้ว่าจ้าง หรือ ผู้นำเข้าได้)  ผู้ใช้ชื่อทางการค้า ให้เข้าใจว่าเป็นผู้ผลิต ผู้ว่าจ้างให้ผลิต หรือ ผู้นำเข้า

ความเสียหาย  ชีวิต ร่างกาย สุขภาพ อนามัย ทรัพย์สิน 18 ความเสียหาย  ชีวิต ร่างกาย สุขภาพ อนามัย ทรัพย์สิน  ไม่รวมความเสียหายต่อตัวสินค้านั้นเอง

ผู้เสียหาย ผู้มีสิทธิฟ้องคดี 19 ผู้เสียหาย  ผู้ได้รับความเสียหาย เช่น ผู้ซื้อ ผู้บริโภค และผู้อื่นที่ได้รับความเสียหาย (Bystander) ผู้มีสิทธิฟ้องคดี ผู้ได้รับความเสียหาย คณะกรรมการคุ้มครองผู้บริโภค มูลนิธิ/สมาคม ที่สคบ.รับรอง

การพิสูจน์  หลักการทั่วไป “ผู้ใดกล่าวอ้าง ผู้นั้นต้องพิสูจน์” 20 การพิสูจน์  หลักการทั่วไป “ผู้ใดกล่าวอ้าง ผู้นั้นต้องพิสูจน์”  PL Law ไทย  ได้รับความเสียหายจากสินค้า  การเก็บรักษาสินค้าเป็นไปตามปกติธรรมดา

การพิสูจน์ (ต่อ) โดยไม่ต้องพิสูจน์ถึง  ความจงใจหรือประมาทเลินเล่อของ 21 การพิสูจน์ (ต่อ) โดยไม่ต้องพิสูจน์ถึง  ความจงใจหรือประมาทเลินเล่อของ ผู้ประกอบการ  ความไม่ปลอดภัยของสินค้า ความสัมพันธ์ระหว่างความเสียหายกับ ความไม่ปลอดภัย (Causation)

ข้อยกเว้นความรับผิด  สินค้าปลอดภัย (No Defect) 22 ข้อยกเว้นความรับผิด  สินค้าปลอดภัย (No Defect)  ผู้ใช้เสี่ยงภัยเอง (Assumption of Risk)  ใช้หรือเก็บรักษาไม่ถูกต้องตามคำเตือน หรือข้อมูลที่ให้ไว้ชัดเจน (Misuse)

ข้อยกเว้นที่ไม่มีในกฎหมายไทย 23 ข้อยกเว้นที่ไม่มีในกฎหมายไทย  สินค้าที่ผลิตตามมาตรฐานบังคับของรัฐ (Mandatory Standard)  State of the Art Defense

ค่าเสียหาย  ค่าเสียหายทั่วไป  ค่าเสียหายต่อจิตใจ 24 ค่าเสียหาย  ค่าเสียหายทั่วไป  ค่าเสียหายต่อจิตใจ  ค่าเสียหายเพื่อการลงโทษ (Punitive Damages) Henley v. Phillip Morris  ค่าเสียหายทั่วไป US$ 1.6 Million  Punitive damages US$ 50 Million

อายุความ  3 ปี นับแต่ผู้เสียหายรู้ถึงความเสียหายและรู้ตัว 25 อายุความ  3 ปี นับแต่ผู้เสียหายรู้ถึงความเสียหายและรู้ตัว ผู้ประกอบการ แต่ไม่เกิน 10 ปี นับแต่ขาย ผู้ประกอบการ แต่ไม่เกิน 10 ปี นับแต่รู้ถึง ความเสียหาย กรณีสารสะสม

ผลกระทบ  ผู้ประกอบการมีความเสี่ยงมากขึ้น เนื่องจาก 26 ผลกระทบ  ผู้ประกอบการมีความเสี่ยงมากขึ้น เนื่องจาก  ผู้เสียหายฟ้องคดีได้ง่าย  มีข้อยกเว้นความรับผิดน้อย  ค่าเสียหายกว้างขึ้น

27 แนวทางดำเนินการ คำเตือน ฉลากสินค้า คู่มือการใช้งานที่ครอบคลุมและเหมาะสม กิจกรรมการตลาด และ Marketing Materials ที่รัดกุม  ศูนย์รับเรื่องร้องเรียนที่สามารถตอบสนองต่อผู้บริโภคได้รวดเร็วและเหมาะสม  ระบบควบคุมคุณภาพ เช่น กระบวนการผลิต การทดสอบสินค้า

แนวทางดำเนินการ (ต่อ) 28 แนวทางดำเนินการ (ต่อ)  จัดเก็บข้อมูลเกี่ยวกับสินค้า เช่น Drawing / Specifications ที่มาของ Raw Materials  Product Liability Insurance  ทำสัญญากำหนดความรับผิดกับผู้ที่เกี่ยวข้อง เช่น ผู้ขายวัตถุดิบ ผู้ผลิตสินค้า ผู้รับจ้างทำของ Licensor

การประกันภัย (Product Liability Insurance) การประกันครอบคลุมอะไรบ้าง ข้อยกเว้น (เหตุการณ์, ประเทศ ฯลฯ) ทุนประกัน เบี้ยประกัน ความรับผิดตามพ.ร.บ.วิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค

Q & A