ตัวอย่างการต่ออุปกรณ์ต่อพ่วงเข้ากับ PIC16F877A

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Electronic Circuits Design
Advertisements

บทที่ 3 การรับ และส่งข้อมูลจากภายนอก และการเขียนโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
ไมโครคอนโทรลเลอร์เบื้องต้น
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
การสื่อสารข้อมูล (D ATA C OMMUNICATIONS ) หมายถึง กระบวนการถ่ายโอนหรือ แลกเปลี่ยนข้อมูลกันระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยผ่านช่องทางสื่อสาร เช่น อุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
การสื่อสารข้อมูล การสื่อสารข้อมูล หมายถึง การรับส่งข้อมูลจากที่หนึ่งไปยังอีกที่ หนึ่งโดยผ่านสื่อกลาง เช่น สายโทรศัพท์ สายเคเบิลไฟเบอร์ออพติก, คลื่นไมโครเวฟ,
หน่วยที่ 1 อุปกรณ์อินพุท/เอ้าท์พุทเซนเซอร์และวงจรควบคุม
หน่วยที่ 2 โครงสร้างโปรแกรมเมเบิลคอนโทรลเลอร์
บทที่ 4 วงจร ADC เทอดศักดิ์ ลิ่วหาทอง สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์
วัตถุประสงค์ 1. แสดงรายการของโปรแกรม ที่และสถานการทำงานของ โปรแกรม 2. แสดงรายการบริการที่มี บน ระบบปฏิบัติการ 3. แสดงกราฟการใช้ ตัว ประมวลผล 4. แสดงกราฟการทำงานการ.
คำสั่ง : TIMER และ TIMH (FUN15)
โดย คุณครูนัฏฐา อัครวงษ์ โรงเรียนวังข่อยพิทยา
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
รายชื่อผู้จัดทำ ด.ช.จิณณวัตร ทับจันทร์ เลขที่ 1 ม.1/3 ด.ช.ฐิติพงศ์ โลหะเวช เลขที่ 4 ม.1/3 ด.ช. พงศ์ภัค พุทธรักษ์ เลขที่9 ม.1/3 ด.ช.อริยะ แดงงาม เลขที่
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
ADC & UART.
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
1 ระบบสื่อประสม วิวัฒนาการและ องค์ประกอบ. 2 ระบบสื่อประสม (multimedia system)  ระบบสื่อประสม หมายถึง การนำ องค์ประกอบของสื่อชนิดต่างๆ มา ผสมผสานเข้าด้วยกัน.
เตชิษฐ์ เรือง ไพศาล.  คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ไฟฟ้า กระแสตรงทำงาน  ข้อมูลภายในเป็นข้อมูลดิจิตอล  …..  แทนข้อมูลเหล่านี้ด้วยแรงดันไฟฟ้า.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
ระบบสื่อประสม วิวัฒนาการและองค์ประกอบ
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ
ELECTRONICS Power อาจารย์ผู้สอน การประเมินผล Lab ปฏิบัติ
การใช้หม้อแปลงไฟฟ้า อย่างมีประสิทธิภาพ.
องค์ประกอบและเทคนิคการทำงาน
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
Piyadanai Pachanapan, Power System Design, EE&CPE, NU
การแปลงสัญญาณ ดิจิตอล เป็น อนาล็อก Digital to Analogue Conversion
คุณลักษณะของสัญญาณไฟฟ้าแบบต่าง ๆ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
DC Voltmeter.
เซอร์กิตสวิตชิงและแพ๊คเก็ตสวิตชิง (Circuit Switching and Packet Switching ) อ.ธนากร อุยพานิชย์
ไมโครคอนโทรลเลอร์ บทที่ 11.
โครงสร้างภาษา C Arduino
จากรูปที่ 13.3 ที่เวลา เมื่อไม่มีสัญญาณที่อินพุตทรานซิสเตอร์ จะไม่ทำงานและอยู่ในสภาวะ OFF คาปาซิเตอร์ C จะเก็บประจุเพื่อให้แรงดันตกคร่อมมีค่าสูง ทำให้มีกระแสไหลผ่าน.
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Interrupt & Timer.
ประเภทแผ่นโปร่งใส (แผ่นใส) รายวิชา ออปแอมป์และลิเนียร์ไอซี
Memory & I/O Mapping (Z80)
Basic Input Output System
Light Emitting Diode (LED)
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
วงจรข่ายสองทาง (Two Port Network)
Binary Numbers Hexadecimal Numbers
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
เครื่องบันทึกและถอดข้อความ
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
State Table ตารางสถานะ ปรับปรุง 18 เมษายน 2562
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
Power Flow Calculation by using
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
บทที่ 11 พัลส์เทคนิค
แนะนำวิชา Microprocessors and Applications
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
หลักสูตรการบำรุงรักษาระบบโทรศัพท์
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

I/O Interface, Polling, Current Sink + Source, Fan Out, Buffer, Voltage Translator

ตัวอย่างการต่ออุปกรณ์ต่อพ่วงเข้ากับ PIC16F877A

ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับ การเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่อพ่วง การเชื่อมต่อไมโครคอนโทรลเลอร์เข้ากับอุปกรณ์ต่อพ่วงจำเป็นต้องเข้าใจ คุณสมบัติและการทำงานของอุปกรณ์ต่อพ่วง Timing Diagram ของสัญญาณต่างๆของอุปกรณ์ต่อพ่วง คุณสมบัติ ความสามารถและข้อจำกัดต่างๆทางกายภาพของวงจรหรือไอซี ดิจิตอลแต่ละตระกูล (Family)

คุณสมบัติของวงจรหรือไอซีดิจิตอล พารามิเตอร์ของแรงดันของวงจรดิจิตอล VIH แรงดันอินพุทต่ำสุดของโลจิก High VIL แรงดันอินพุทสูงสุดของโลจิก Low VOH แรงดันเอาท์พุทต่ำสุดของโลจิก High VOL แรงดันเอาท์พุทสูงสุดของโลจิก Low

คุณสมบัติของวงจรหรือไอซีดิจิตอล พารามิเตอร์ของแรงดันของไอซีตระกูลต่างๆ

คุณสมบัติของวงจรหรือไอซีดิจิตอล ในกรณีที่ต้องการนำไอซีต่างตระกูลกันมาใช้งานร่วมกัน จำเป็นจะต้อง พิจารณาพารามิเตอร์ต่างๆของแรงดันว่าสามารถต่อร่วมกันได้หรือไม่ สามารถต่อไอซีต่างตระกูลเข้าด้วยกันได้ในกรณีที่ VOH>VIH และ VOL<VIL เท่านั้น

คุณสมบัติของวงจรหรือไอซีดิจิตอล 3.3V to 5V MOSFET Voltage Translator Output 3.3 V เป็นโลจิก High NMOS จะ OFF ทำให้มีกระแส Source ไหลจาก ไฟเลี้ยงผ่าน R1 เข้า 5V Input Output 3.3 V เป็นโลจิก Low NMOS จะ ON ทำให้ 5V Input ต่อกับ Ground

คุณสมบัติของวงจรหรือไอซีดิจิตอล 3.3V to 5V DIODE OFFSET Voltage Translator Output 3.3 V เป็นโลจิก High D1 เป็น Forward Bias มีกระแสไหลจากไฟเลี้ยง 5V ผ่าน D1 ไปยังไฟเลี้ยง 3.3V ทำให้ 5V Input มีแรงดัน 4V เป็นโลจิก High Output 3.3 V เป็นโลจิก Low D2 เป็น Forward Bias มีกระแสไหลจากไฟเลี้ยง 5V ผ่าน D2 ลง Ground ทำให้ 5V Input มีแรงดัน 0.7V เป็นโลจิก Low

คุณสมบัติของวงจรหรือไอซีดิจิตอล 3.3V to 5V Transistor Voltage Translator Output 3.3 V เป็นโลจิก High Q1 ON และ Q2 OFF มีกระแสไหลจากไฟเลี้ยง 5V ผ่าน R 10K ทำให้ 5V Input เป็นโลจิก High Output 3.3 V เป็นโลจิก Low Q1 OFF และ Q2 ON มีกระแสไหลจากไฟเลี้ยง 5V ผ่าน Q2 ลง Ground ทำให้ 5V Input เป็น โลจิก Low

คุณสมบัติของวงจรหรือไอซีดิจิตอล 3.3V to 5V Transistor Clamp Voltage Translator Output 5 V เป็นโลจิก High Q1 ON มีกระแส Source จาก 5V Output ผ่าน R1 และ Q1 เข้าไฟเลี้ยง 3.3V ทำให้ 3.3V Input มีแรงดัน 4V เป็นโลจิก High Output 5 V เป็นโลจิก Low Q1 OFF มีกระแส Sink ไหลจาก 3.3V Input ผ่าน R1 ลง Ground ทำให้เป็นโลจิก Low

คุณสมบัติของวงจรหรือไอซีดิจิตอล 3.3V to 5V Transistor Clamp Voltage Translator CS และ CL เป็น C แฝงบนแผ่น PCB และข้าง ในไอซี หาค่า R1 และ R2 ที่ทำให้ 5*R2/(R1+R2) = 3.3

คุณสมบัติของวงจรหรือไอซีดิจิตอล การทนทานต่อสัญญาณรบกวน (Noise Immunity) เนื่องจาก VOH>VIH และ VOL<VIL ทำให้ไอซีดิจิตอลสามารถทนทาน ต่อสัญญาณรบกวนได้ในระดับหนึ่ง Noise Margin คือระดับแรงดันของสัญญาณรบกวนที่ไอซีสามารถ ทนได้

คุณสมบัติของวงจรหรือไอซีดิจิตอล Current Sink กระแสที่ไหลจาก Vcc ผ่านโหลดเข้าขา Output ของไอซีแล้วลง Ground Current Source กระแสที่ไหลจาก Vcc ออกจาก Output ของไอซี ผ่านโหลดแล้วลง Ground

คุณสมบัติของวงจรหรือไอซีดิจิตอล พารามิเตอร์ของกระแสของวงจรดิจิตอล IIH กระแสอินพุทต่ำสุดของโลจิก High IIL กระแสอินพุทต่ำสุดของโลจิก Low IOH กระแสเอาท์พุทสูงสุดของโลจิก High ที่ไอซีสามารถ Source ได้ VOL กระแสเอาท์พุทสูงสุดของโลจิก Low ที่ไอซีสามารถ Sink ได้ Icc(0) กระแสที่แหล่งจ่ายไฟต้องจ่ายให้กับไอซีเมื่อ Output เป็นโลจิก High Icc(1) กระแสที่แหล่งจ่ายไฟต้องจ่ายให้กับไอซีเมื่อ Output เป็นโลจิก Low

คุณสมบัติของวงจรหรือไอซีดิจิตอล Fan Out จำนวนสูงสุดของดิจิตอลไอซีแบบเดียวกันที่สามารถ ต่อกับ Output ของไอซี ดิจิตอลไอซีที่ดีจะต้องมีค่า Fan Out สูง ตัวอย่างเช่น ไอซีที่มีค่า Current Sink และ Source สูงสุดเท่ากับ 10mA สามารถต่อ Output กับไอซีที่มีค่า IIH และ IIH เท่ากับ 1mA ได้มากที่สุด 10 ตัว หรือมีค่า Fan-Out เท่ากับ 10

คุณสมบัติของวงจรหรือไอซีดิจิตอล การสูญเสียกำลัง (Power Dissipation) การสูญเสียกำลังเท่ากับ Vcc*Icc Icc เท่ากับกระแสเฉลี่ยที่ไหลออกจาก Vcc ของวงจรดิจิตอล Icc = (Icc(0) + Icc(1))/2

คุณสมบัติของวงจรหรือไอซีดิจิตอล ความเร็วในการทำงาน (Speed of Operation) Propagation Delay เป็นตัวกำหนดความเร็วในการทำงานของวงจร ดิจิตอล tpHL เป็นเวลาที่ Output เปลี่ยนจาก High เป็น Low tpLH เป็นเวลาที่ Output เปลี่ยนจาก Low เป็น High Propagation Delay = (tpHL+ tpLH)/2

คุณสมบัติของวงจรหรือไอซีดิจิตอล Figure of Merit Figure of merit ผลคูณของ Propagation Delay กับการสูญเสีย กำลัง propagation delay (ns) * power dissipation (mW) หน่วยเป็น pico joules ไอซีดิจิตอลทีดีจะต้องมีค่า Figure of Merit ต่ำ

I/O Ports PIC มี I/O Port ชนิดต่างๆ เพื่อใช้ติดต่อกับอุปกรณ์ต่อพ่วง ผ่าน เช่น Digital I/O Ports Analog to Digital Converter Port Pulse Width Modulation (PWM) Ports

โครงสร้างของ I/O Ports ทุก Port ของ PIC สามารถ กำหนดให้เป็น Input หรือ Output Port ก็ได้ ทุก Port จะมี Register อยู่ 3 ตัว คือ TRIS Register ใช้กำหนดให้ Port เป็น Input (TRIS=1) และ Output (TRIS=0) Port Register ใช้เก็บค่าที่อ่าน ได้จากอุปกรณ์ต่อพ่วง LAT Register ใช้เก็บค่าที่จะ ส่งไปให้อุปกรณ์ต่อพ่วง

ข้อห้ามของการนำเอา Output กับ Output มาต่อเชื่อมกัน เช่นถ้า Output ของ Not Gate ตัวบน เป็น 1 และตัวล่างเป็น 0 จะทำให้ไม่สามารถ บอกได้ว่า Y มีสถานะเป็น 1 หรือ 0 และโดยปกติจะทำให้ Not Gate พัง เสียหายได้

Tristate Buffer ถ้าต้องการนำ Output ของวงจร ดิจิตอลมาต่อเชื่อมกันจะต้องต่อผ่าน Tristate Buffer เสมอ ถ้าขา Enable เป็น 0 จะทำให้ Output มีสถานะเป็นไปตามสถานะ ของ Input แต่ถ้าขา Enable เป็น 1 จะทำให้ Output มีสถานะเป็น High Impedance Tristate Buffer

โครงสร้างของ I/O Ports ถ้าต้องการให้ Port เป็น Input Port จะต้องเซ็ทให้ TRIS = 1 เพื่อให้ Output ของ Tristate Buffer ตัวบนเป็น High Impedance เพื่อตัดการเชื่อมต่อ ของ LAT ออกจากอุปกรณ์ต่อพ่วงที่อยู่ ภายนอก ถ้าต้องการให้ Port เป็น Output Port จะต้องให้ TRIS = 0 เพื่อให้ Output ของ Tristate Buffer มีสถานะเดียวกับสถานะของ LAT

โครงสร้างของ I/O Ports

I/O Port ของ PIC18F8722 PWR = Power Supply O = Output I = Input ANA = Analog Signal DIG = Digital Output ST = Schmitt Buffer Input TTL = TTL Buffer Input X = Don’t Care

I/O Port ของ PIC18F8722

I/O Port ของ PIC18F8722

I/O Port ของ PIC18F8722

I/O Port ของ PIC18F8722

I/O Port ของ PIC18F8722

I/O Port ของ PIC18F8722

I/O Port ของ PIC18F8722

I/O Port ของ PIC18F8722

#include <p18f8722.h> #include <adc.h> #include <delays.h> #include <timers.h> #define NUMBER_OF_LEDS 8 #pragma code void main(void) { char LED[] = { 0b00000001, 0b00000011, 0b00000111, 0b00001111, 0b00011111, 0b00111111, 0b01111111, 0b11111111 }; int i=0; ADCON1 = 0b00001110; TRISAbits.TRISA5 = 1; TRISBbits.TRISB0 = 1; TRISD = 0; PORTD = 1; while(1) { if(PORTAbits.RA5==0) i++; if(i==8) i=7; PORTD = LED[i]; while(PORTAbits.RA5==0); } if(PORTBbits.RB0==0) i--; if(i<0) i=0; while(PORTBbits.RB0==0);

#include <p18f8722.h> #include <adc.h> #include <delays.h> #include <timers.h> #define NUMBER_OF_LEDS 8 #pragma code void main(void) { char LED[] = { 0b00000001, 0b00000011, 0b00000111, 0b00001111, 0b00011111, 0b00111111, 0b01111111, 0b11111111 }; int i=0; ADCON1 = 0b00001110; TRISAbits.TRISA5 = 1; TRISBbits.TRISB0 = 1; TRISD = 0; PORTD = 1; while(1) { if(PORTAbits.RA5==0) i++; if(i==8) i=7; PORTD = LED[i]; while(PORTAbits.RA5==0); } if(PORTBbits.RB0==0) i--; if(i<0) i=0; while(PORTBbits.RB0==0);