เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
สมาชิกในกลุ่ม 1 นางสาวเกศริน งัดสันเทียะ รหัสนักศึกษา 5670101204 1 นางสาวเกศริน งัดสันเทียะ รหัสนักศึกษา 5670101204 2 นางสาวจิตรานุช ใสสอด รหัสนักศึกษา 5670101206 3 นางสาวธนัชชนม์ ฝ่าพิมาย รหัสนักศึกษา 5670101213 4 นางสาวนิสาชล กุสันเทียะ รหัสนักศึกษา 5670101217 5 นางสาวพลอยทิพย์ ใจดี รหัสนักศึกษา 56701222 6 นางสาวพิมพวรรณ ปรุสันเทียะ รหัสนักศึกษา 5670101225 7 นางสาวสิริมา อามาตมนตรี รหัสนักศึกษา 5670101239 8 นางสาวสุปรียา ปัญญาเสมอทรัพย์ รหัสนักศึกษา 5670101242
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 เป็น พรบ.ที่กำหนดขอบเขต อำนาจหน้าที่ ของส่วนราชการของกระทรวงศึกษาธิการให้ชัดเจน เพื่อมิให้การปฏิบัติงานทับซ้อนกัน รวมทั้งการจัดระบบราชการในระดับต่างๆ และการมอบอำนาจให้ปฏิบัติราชการแทน การรักษาราชการแทน
พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ 2546 แก้ไขเพิ่มเติม พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ 2553 (ฉบับที่2)
เกิดจาก หมวดที่ 5 ของ พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ให้ไว้ ณ วันที่ 3 ก.ค พ.ศ.2546 เป็นที่58 ของรัชกาลปัจจุบัน บังคับใช้ 7 ก.ค พ.ศ. 2546 ประกาศ 6 ก.ค พ.ศ 2546 ผู้รักษาการตาม พรบ.นี้ มาตรา 8 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ผู้รับสนองพระบรมราชโองการคือ คุณทักษิน ชินวัตร
พ.ศ 2553 เป็นปีที่ 65 ในรัชกาลปัจจุบัน ให้ไว้ ณ วันที่ 12 ก.ค พ.ศ 2553 เป็นปีที่ 65 ในรัชกาลปัจจุบัน บังคับใช้ 23 ก.ค พ.ศ 2553 ประกาศ 22 ก.ค พ.ศ 2553 ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ คือ คุณ อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ 2546 มี 5 หมวด 82 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล
การจัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง หมวด 1 การจัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง ส่วนที่ 1 บททั่วไป มี 14 มาตรา มาตรา 9-22 ส่วนที่ 2 การจัดระเบียบราชการในสำนักงานปลัดกระทรวง มี 5 มาตรา มาตรา 23-27 ส่วนที่ 3 การจัดระเบียบราชการในสำนักงาน มี 5 มาตรา มาตรา 28-32
การจัดระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา มี 7 มาตรา มาตรา 33-39 หมวด 2 การจัดระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา มี 7 มาตรา มาตรา 33-39 หมวด 3 การจัดระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษา ระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล มี 4 มาตรา มาตรา 40-43 มี 4 มาตรา มาตรา 47 หมวด 4 การปฏิบัติราชการแทน มี 9 มาตรา มาตรา 48-56 หมวด 5 การรักษาราชการแทน มี 26 มาตรา มาตรา 57-82 บทเฉพาะกาล
มาตรา ๔ ให้นำกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติมาใช้บังคับแก่กระทรวงศึกษาธิการโดยอนุโลม เว้นแต่ใพระราชบัญญัตินี้จะได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น มาตรา ๕ กระทรวงศึกษาธิการมีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ และกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า “พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖” มาตรา ๒พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิก
มาตรา ๔ ให้นำกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดินและกฎหมายว่าด้วยการศึกษา แห่งชาติมาใช้บังคับแก่กระทรวงศึกษาธิการโดยอนุโลม เว้นแต่ในพระราชบัญญัตินี้จะได้บัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น มาตรา ๕ กระทรวงศึกษาธิการมีอำนาจหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ และกฎหมายว่าด้วยการปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม
มาตรา ๖ ให้จัดระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้ (๑) ระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง (๒) ระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา (๓) ระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล มาตรา ๗ การกำหนดตำแหน่งและอัตราเงินเดือนของข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการ ให้คำนึงถึง คุณวุฒิ ประสบการณ์ มาตรฐานวิชาชีพ ลักษณะหน้าที่ความรับผิดชอบ และคุณภาพของงาน แล้วแต่กรณี
มาตรา ๘ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศเพื่อปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งให้มีอำนาจตีความและวินิจฉัยชี้ขาดปัญหาอันเกี่ยวกับการปฏิบัติการ อำนาจหน้าที่ของผู้ดำรงตำแหน่งหรือหน่วยงานต่าง ๆ ตามที่กำหนดไว้ในบทเฉพาะกาลของพระราชบัญญัติ
การจัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง หมวด 1 การจัดระเบียบบริหารราชการในส่วนกลาง การจัดระเบียบบริหารส่วนกลาง การแบ่งส่วนราชการ กระทรวงศึกษาธิการมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้บังคับบัญชา การให้มีสภาการศึกษา คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ฐาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา คณะกรรมการอาชีวศึกษา สำนักงานรัฐมนตรี ส่วนที่ 1บททั่วไป มี 14 มาตรา มาตรา 9-22
การจัดระเบียบราชการในสำนักงานปลัดกระทรวง มี 5 มาตรา ตั้งแต่มาตรา 23-27 ส่วนที่ 2 การจัดระเบียบราชการในสำนักงานปลัดกระทรวง มี 5 มาตรา ตั้งแต่มาตรา 23-27 กระทรวงศึกษาธิการมีปลัดกระทรวงคนหนึ่งมีอำนาจหน้าที่ ดังนี้ - รับผิดชอบควบคุมราชการประจำในกระทรวง แปลงนโยบายเป็นแนวทางและแผนปฏิบัติราชการ -เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการของส่วนราชการในสำนักงานปลัดกระทรวง สำนักปลัดกระทรวง สำนักอำนวยการ ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมสนับสนุนและประสานงานความร่วมมือการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย
ส่วนที่ 3 การจัดระเบียบราชการในสำนักงาน มี 5 มาตรา ตั้งแต่มาตรา 28-32 ให้สำนักงานที่มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการตาม มาตรา ๑๐ ให้ส่วนราชการที่มีหัวหน้าส่วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ตามมาตรา ๑๐
หมวด 2การจัดระเบียบบริหารราชการเขตพื้นที่การศึกษา มี 7 มาตราตั้งแต่มาตรา 33-39 การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ยึดเขตพื้นที่การศึกษา ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ให้มีคณะกรรมการและสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ให้จัดระเบียบบริหารราชการของเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้ (1) ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา (2) สถานศึกษาที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานหรือส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่น ให้มีสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ให้มีสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
หมวด 3การจัดระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษา ระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคล มี 4 มาตรา ตั้งแต่มาตรา 40-43 ระเบียบปฏิบัติราชการหรือระเบียบปฏิบัติงานของ สถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาที่เป็นนิติบุคคลทั้งที่เป็นสถานศึกษาในสังกัดและที่เป็นสถานศึกษาในกำกับให้เป็นตามกฎหมายว่าด้วยการดังกล่าว ให้มีคณะกรรมการข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัยโดยเรียกโดยย่อว่า ก.ม. ทำหน้าที่เป็นองค์กรบริหารงานบุคคลสำหรับข้าราชการพลเรือนในสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาในสังกัด ตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎหมายว่าด้วยการดังกล่าว
หมวด 4การปฏิบัติราชการแทน มี 4 มาตรามาตรา 47 ให้ปลัดกระทรวง เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เลขาธิการคณะกรรมการอุดมศึกษา เลขาธิการคณะกรรมการอาชีวศึกษา กระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษาด้านวิชาการ งบประมาณ การบริหารงานบุคคล การบริหารทั่วไป ไปยัง คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาโดยตรง การมอบอำนาจตามมาตรานี้ให้ทำเป็นหนังสือ
ผู้มอบอำนาจให้ปฏิบัติราชการแทน (การสั่ง การอนุญาต การอนุมัติ) ผู้รับมอบอำนาจ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ มอบอำนาจให้…… รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษา ปลัดกระทรวง เลขาธิการ หัวหน้าส่วนราชการ ผู้ว่าราชการจังหวัด มอบอำนาจให้........ รองปลัดกระทรวง ผู้ช่วยปลัดกระทรวง อธิบดี
เลขาธิการ มอบอำนาจให้..... ผู้ช่วยเลขาธิการ อธิการบดี ผู้อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการสำนัก ผู้อำนวยการสำนักบริหาร หรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้อำนวยการสถานศึกษา ข้าราชการในสำนักเขตพื้นที่การศึกษา ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือหัวหน้าหน่วยงานที่รับผิดชอบ
ผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือผู้ดำรงตำแหน่งเทียบเท่า มอบอำนาจให้...... ข้าราชการในสถานศึกษา จะมอบอำนาจนั้นให้แก่ผู้ดำรงตำแหน่งอื่นต่อไปไม่ได้ ในการมอบอำนาจของผู้ว่าราชการจังหวัดได้แก่ รองผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ช่วยราชการจังหวัด ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดแจ้งให้ผู้มอบอำนาจขั้นต้นทราบ ส่วนการมอบอำนาจให้แก่บุคคลอื่น นอกจากรองผู้ว่าราชการจังหวัดจะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจากผู้มอบอำนาจขั้นต้นแล้ว ผู้มอบอำนาจมีหน้าที่ กำกับติดตามผลการปฏิบัติราชการของผู้มอบอำนาจ และแนะนำแก้ไขการปฏิบัติราชการของผู้รับมอบอำนาจได้
หมวด 5การรักษาราชการแทน ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รัฐมนตรีช่วยว่ากากระทรวงศึกษาธิการเป็นผู้รักษาราชการแทน ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งเลขานุการรัฐมนตรี หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ผู้ช่วยเลขานุการรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาราชการแทน ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งเลขาธิการ หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ รองเลขาธิการเป็นผู้รักษาราชการแทน ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนัก หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้ รองผู้อำนวยการสำนักเป็นผู้รักษาราชการแทน หมวด 5การรักษาราชการแทน มี 9 มาตรา ตั้งแต่มาตรา 48-56 ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจ ปฏิบัติราชการได้ ให้รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษารักษาราชการแทน ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งปลัดกระทรวง หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองปลัดกระทรวงเป็นผู้รักษาราชการแทน ในกรณีที่ไม่มีผู้ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือมีแต่ไม่อาจปฏิบัติราชการได้ ให้รองผู้อำนวยการสถานศึกษารักษาราชการแทน
บทเฉพาะกาล มี 26 มาตรา ตั้งแต่มาตรา 57-82 มี 26 มาตรา ตั้งแต่มาตรา 57-82 ให้หน่วยงานทางการศึกษาที่จัดการศึกษาในลักษณะโรงเรียน วิทยาลัยหรือสถานศึกษา ที่เรียกชื่ออย่างอื่นของกระทรวงศึกษาธิการ ที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ในสังกัดกรมสามัญศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ เป็นสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการบริหารและการจัดการในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษาที่สถานศึกษานั้นตั้งอยู่ เว้นแต่ศูนย์การศึกษาพิเศษสำหรับคนพิการและโรงเรียนสำหรับคนพิการโดยเฉพาะ ให้โอนอำนาจหน้าที่ ให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน หนี้ อัตรากำลัง ข้าราชการ ลูกจ้าง และเงินงบประมาณ
ให้สถานศึกษาที่จัดการศึกษาระดับปริญญาที่เป็นสถานศึกษาในสังกัด ทบวงมหาวิทยาลัย และให้สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งมีกฎหมายว่าด้วยการจัดตั้งสถานศึกษานั้นโดยเฉพาะ และมีฐานะเป็นกรมตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดินอยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ มีฐานะเป็นสถานศึกษาที่เป็นนิติบุคคลในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา โดยให้สถานศึกษาดังกล่าวยังคงมีอำนาจในการบริหารบรรดากิจการ ทรัพย์สิน หนี้ ข้าราชการลูกจ้าง และเงินงบประมาณ ให้ข้าราชการครูในสังกัดสำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล และสถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน กรมอาชีวศึกษา อยู่ในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ ยังคงเป็นข้าราชการครู ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูต่อไปจนกว่าจะมีการกำหนดตำแหน่งหรือวิทยฐานะตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษา
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ ๒) พ. ศ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๓ มาตรา ๕ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดยคำแนะนำของสภาการศึกษามีอำนาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาเพื่อกำหนดหรือแก้ไขเปลี่ยนแปลงเขตพื้นที่การศึกษาสำหรับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาให้แล้วเสร็จภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่พระราชบัญญัตินี้ใช้บังคับ
เอกสารอ้างอิง http://www.moe.go.th https://www.youtube.com/watch?v=6bYouuX2zaY http://slideshare.net
จบการนำเสนอแล้วค่ะ