แผนบูรณาการ การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เขตบริการสุขภาพนครชัยบุรินทร์ ประจำปี 2558
Advertisements

แผนพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ผลการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัด BSC สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6 จังหวัดขอนแก่น.
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
LOGO กรอบการดำเนินโครงการ ปีงบประมาณ ยุทธศาสตร์ส่งเสริมและพัฒนาสุขภาพจิตเด็กและเยาวชน 7 สิงหาคม 2552.
ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560
ประเด็น สิ่งที่ชื่นชม แนวทางการพัฒนา
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การพัฒนางานสาธารณสุขชายแดน
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
หมวด ๔ : การจัดการระบบบริการครอบคลุมประเภทและประชากรทุกกลุ่มวัย
ชุมชนต้นแบบด้านพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก
การตรวจราชการติดตามและประเมินผล : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
กลุ่มอาชีวอนามัย สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
เส้นทางสู่ วิชาชีพนักกฎหมาย
แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
งบประมาณ ที่ได้รับ (ลบ.)
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
การใช้คู่มือประเมินความสามารถทางเชาวน์ปัญญา เด็กอายุ 2-15 ปี
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
กรมกิจการเด็กและเยาวชน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน สคร.5 เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2558
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
“ เผชิญความตายอย่างสงบ ”
สรุปงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
เด็กผอม – เด็กอ้วน ล้วนเป็นปัญหาของชาติ
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
ดร. อำนาจ วิชยานุวัติ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 27 มกราคม 2562
การบริหาร ความขัดแย้ง ความสามารถและการพัฒนาเชาว์อารมณ์
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
การส่งเสริมสุขภาพในสถานประกอบการ (Workplace Health Promotion)
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
รพ.บัวเชด อ.บัวเชด จ.สุรินทร์
ณ โรงแรมแกรนด์ไชน่า กรุงเทพมหานคร ระหว่างวันที่ มกราคม 2559
การเสียชีวิตจากการบาดเจ็บ
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
Timing diagram ปรับปรุง 19 มีนาคม
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
นโยบายการดำเนินงานป้องกันการบาดเจ็บ จากการจราจรในเมืองใหญ่ (City RTI)
ศูนย์พัฒนาการจัดบริการอาชีวอนามัยจังหวัดสมุทรปราการ
ชี้แจงตัวชี้วัด/โครงการNCD ปี 2561
แนวทางการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข รอบที่ 3 ประจำปี 2561
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต.
กลไกลการขับเคลื่อนนโยบายความปลอดภัยทางงถนน
ปิรามิด แห่งการรับรู้
Happy work place index & Happy work life index
ผลการสำรวจสภาวะทันตสุขภาพปี 59ซึ่งเราจะทำการสำรวจปีละ 1 ครั้ง ในเดือน มิ.ย. – ส.ค. ของทุกปี ข้อมูลนี้จะเป็นข้อมูล base line ในปีงบ 60 และในเดือนธันวาคมนี้จะมีการปรับมาตรฐานผู้ทำการสำรวจเพื่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน.
สรุปความก้าวหน้า การดำเนินงาน PA พัฒนาคุณภาพ เขตสุขภาพที่ 10
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
การรายงานผลการดำเนินงาน
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
การป้องกันการบาดเจ็บและเสียชีวิต จากอุบัติเหตุทางถนน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แผนบูรณาการ การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 แผนบูรณาการ การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 นายแพทย์ดิเรก ขำแป้น ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ อภิปราย เรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพแผนงานบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 กรมควบคุมโรค วันพุธที่  14 ธันวาคม 2559 เวลา 15.30-16.30 น. ณ รร.เวียงอินทร์ ริเวอร์ไซค์ รีสอร์ท จ.เชียงราย

แผนบูรณาการ การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย วิสัยทัศน์ : คนไทยมีศักยภาพมีคุณภาพชีวิตที่ดี สังคมอยู่ดีมีสุข เด็กแรกเกิด/ปฐมวัย (0-5 ปี) เด็กวัยเรียน (5-15 ปี) เด็กวัยรุ่น/นักศึกษา (15-21 ปี) วัยแรงงาน (15-59 ปี) วัยผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) คนไทยมีศักยภาพตลอดช่วงวัย แนวทางที่ 1 ส่งเสริมการเกิดอย่างมีคุณภาพและการมีพัฒนาการสมวัย แนวทางที่ 2 สนับสนุนการศึกษาที่มีคุณภาพ ให้ความรู้และทักษะชีวิต แนวทางที่ 3 ส่งเสริมทักษะและทักษะการทำงาน แนวทางที่ 4 พัฒนาทักษะและสมรรถนะอย่างต่อเนื่อง แนวทางที่ 5 พัฒนาทักษะความรู้ความสามารถในการดำรงชีวิต เป้าหมาย ที่ 1 คนไทยทุกช่วงวัยมีความมั่นคงในชีวิต แนวทางที่ 1 สร้างความพร้อมให้เด็กปฐมวัยเป็นคนไทยที่มีความมั่นคงในชีวิต แนวทางที่ 2 พัฒนาโอกาสทางการศึกษาในระดับสูง ให้เด็กวัยเรียน มีความมั่นคงในชีวิต แนวทางที่ 3 พัฒนาโอกาสในการศึกษาระดับสูงและประสบการณ์ทำงานจริง แนวทางที่ 4 สร้างความมั่นคงในชีวิตให้แรงงาน แนวทางที่ 5 สร้างความมั่นคงในชีวิตของผู้สูงอายุ เป้าหมาย ที่ 2 คนไทยมีครอบครัวอบอุ่นเข้มแข็ง มีคุณธรรมจริยธรรม แนวทางที่ 1 ส่งเสริมความอบอุ่นให้เด็กปฐมวัย แนวทางที่ 2 ส่งเสริมรากฐานจริยธรรม คุณธรรมเพื่อความอยู่ดีมีสุข แนวทางที่ 3 เสริมสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและ การก้าวสู่การเป็นผู้ใหญ่ แนวทางที่ 4 ส่งเสริมความอบอุ่นในครอบครัวสำหรับวัยแรงงาน แนวทางที่ 5 เสริมสร้างคุณค่าและความอบอุ่นในวัยผู้สูงอายุ เป้าหมาย ที่ 3 2559 ปีงบประมาณ 2560 2561 2562 2563 2564 มติ ครม. วันที่ 21 ต.ค. 57 เห็นชอบ กำหนดแนวทางการจัดทำงบประมาณ ในลักษณะบูรณาการ จำนวน 18 เรื่อง โดยมอบหมายรองนายกรัฐมนตรี/รัฐมนตรี กำกับการดำเนินงานในรูปคณะกรรมการฯ โดยมี พม. เป็นเจ้าภาพหลัก คณะที่ 11 เรื่อง การพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต ร่วมกับ 6 กระทรวง และ 2 กองทุน ครม. มีมติ วันที่ 27 ตุลาคม 2558 เห็นชอบการจัดทำงบประมาณในลักษณะบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ 2560 โดยกำหนดแผนงานที่เป็นจุดเน้นของยุทธศาสตร์แต่ละด้าน จำนวน 25 เรื่อง โดยส่วนที่เกี่ยวข้อง คือ คณะที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน (1) การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัยบูรณาการทำงาน 7 กระทรวง 29 หน่วยงาน พลเรือเอก ณรงค์ พิพัฒนาศัย รองนายกฯ เป็นประธานกรรมการ งบประมาณ งบประมาณ ...................... ..................... ล้านบาท ล้านบาท งบประมาณ งบประมาณ งบประมาณ 7,536.8416 ..................... ..................... งบประมาณ 137,574.0613 ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท ล้านบาท

เป้าหมายหลัก การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย 1.คนไทยมีศักยภาพตลอดช่วงวัย 2.คนไทยทุกช่วงวัยมีความมั่นคงในชีวิต 3.คนไทยมีครอบครัวอบอุ่นเข้มแข็ง มีคุณธรรมจริยธรรม เป้าหมายการพัฒนา เด็กปฐมวัย (0-5 ปี) วัยเรียน (5-14 ปี) วัยรุ่น/นักศึกษา (15-21 ปี) เสริมสร้างภูมิคุ้มกันเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงและการก้าวสู่การเป็นผู้ใหญ่ พัฒนาโอกาสในการศึกษาระดับสูงและประสบการณ์การทำงานจริง ส่งเสริมทักษะชีวิตและทักษะการทำงาน วัยแรงงาน (15-59 ปี) ส่งเสริมความอบอุ่นในครอบครัวสำหรับวัยแรงงาน สร้างความมั่นคงในชีวิตให้แรงงาน พัฒนาทักษะและสมรรถนะอย่างต่อเนื่อง วัยผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) เสริมสร้างคุณค่าและความอบอุ่นในวัยผู้สูงอายุ สร้างความมั่นคงในชีวิตของผู้สูงอายุ พัฒนาทักษะความรู้ ความสามารถในการดำรงชีวิต ส่งเสริมการเกิดอย่างมีคุณภาพและมีพัฒนาการสมวัย สนับสนุนการศึกษา ที่มีคุณภาพให้ความรู้และทักษะชีวิต สร้างความพร้อมให้เด็กปฐมวัยเป็นคนไทยที่มีความมั่นคง ในชีวิต สร้างโอกาสทางการศึกษาในระดับสูง ให้เด็กวัยเรียน มีความมั่นคงในชีวิต ส่งเสริมความอบอุ่นให้เด็กปฐมวัย ส่งเสริมรากฐานจริยธรรม คุณธรรมเพื่อความอยู่ดีมีสุข วางรากฐาน เตรียมความพร้อม พัฒนาศักยภาพ มีความมั่นคง Active ageing

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ (ร่าง) ความเชื่อมโยงแผนบูรณาการ เรื่อง การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย ปี 2561 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 3. ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน แผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ เป้าหมายแผนฯ 12 เป้าหมายที่ 2 คนในสังคมไทยทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้และความสามารถเพิ่มขึ้น การปฏิบัติ ตัวชี้วัดเป้าหมาย แผนฯ 12 2.2.1 เด็กมีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2.2.3 เด็กร้อยละ 70 มีคะแนน EQ ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 2.2.7 การมีงานทำของผู้สูงอายุ (อายุ 60 -69 ปี)เพิ่มขึ้น 2.2.2 คะแนน IQ เฉลี่ยไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 2.2.5 ผู้ที่ได้รับการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพและผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติมีจำนวนเพิ่มขึ้น เป้าหมายที่ 1 เป้าหมายที่ 1 : คนไทยมีศักยภาพตลอดช่วงวัย ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75 ของประชากรกลุ่มเป้าหมายมีศักยภาพเพิ่มขึ้น แผนในส่วนของ กรม คร. แนวทาง แผนบูรณาการ แนวทางที่ 1 : ส่งเสริมการเกิดอย่างมีคุณภาพและการมีพัฒนาการสมวัย (เด็กปฐมวัย) แนวทางที่ 2 : สนับสนุนการศึกษาที่มีคุณภาพให้ความรู้และทักษะชีวิต (เด็กวัยเรียน) แนวทางที่ 3 : ส่งเสริมทักษะชีวิตและทักษะการทำงาน (เด็กวัยรุ่น) แนวทางที่ 4 : พัฒนาทักษะและสมรรถนะอย่างต่อเนื่อง (วัยแรงงาน) ตัวชี้วัด เด็กที่มีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ร้อยละ 45 ของเด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ร้อยละ 25 ของเด็กอายุ 15-21 ปี มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ -ร้อยละ 28 ของวัยทำงานมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ -ร้อยละ 55 คนวัยทำงานมี BMI ปกติ โครงการ คก. สนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อและและสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในกลุ่มวัยเด็ก คก. เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและทักษะชีวิตในกลุ่มวัยเรียน คก. พัฒนาขับเคลื่อนกฎหมายและเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในกลุ่มวัยรุ่น 1. คก.การสร้างเสริมสุขภาพและลดพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อในวัยทำงาน (71.88 ลบ.) 2.คก.ป้องกันและลดการตายจากอุบัติเหตุทางถนนในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน (56.30 ลบ.) 3. คก.สื่อสารสร้างความตระหนักในกลุ่มวัยทำงาน (84.50 ลบ.) งปม. 25.520 ลบ. 41.235 ลบ. 20.895 ลบ. 212.68 ลบ. หน่วยงาน กรม คร.

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ (ร่าง) ความเชื่อมโยงแผนบูรณาการ เรื่อง การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย ปี 2561 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 3. ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน แผนพัฒนาฯฉบับที่ 12 ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ เป้าหมายแผนฯ 12 เป้าหมายที่ 2 คนในสังคมไทยทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้และความสามารถเพิ่มขึ้น การปฏิบัติ ตัวชี้วัดเป้าหมาย แผนฯ 12 2.2.1 เด็กมีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 2.2.3 เด็กร้อยละ 70 มีคะแนน EQ ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 2.2.7 การมีงานทำของผู้สูงอายุ (อายุ 60 -69 ปี)เพิ่มขึ้น 2.2.2 คะแนน IQ เฉลี่ยไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 2.2.5 ผู้ที่ได้รับการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพและผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติมีจำนวนเพิ่มขึ้น เป้าหมายที่ 2 เป้าหมายที่ 2 : คนไทยทุกช่วงวัยมีความมั่นคงในชีวิต ตัวชี้วัด : ร้อยละ 75 ของประชากรกลุ่มเป้าหมายมีความมั่นคงในชีวิต แผนในส่วนของ กรม คร. แนวทาง แผนบูรณาการ แนวทางที่ 1 : สร้างความพร้อมให้เด็กปฐมวัยเป็นคนไทยที่มีความมั่นคงในชีวิต (เด็กปฐมวัย) แนวทางที่ 2 : พัฒนาโอกาสทางการศึกษาในระดับสูงให้เด็กวัยเรียนมีความมั่นคงในชีวิต (เด็กวัยเรียน) แนวทางที่ 3 : พัฒนาโอกาสในการศึกษาระดับสูงและประสบการณ์การทำงาน (เด็กวัยรุ่น ) แนวทางที่ 4 : สร้างความมั่นคงในชีวิตให้แรงงาน (วัยแรงงาน) ตัวชี้วัด - ร้อยละ 40 ของกลุ่มวัยแรงงานเข้าถึงระบบบริการอาชีวอนามัยที่มีคุณภาพ โครงการ 1. โครงการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน งปม. 126.410 ลบ. หน่วยงาน กรม คร.

แผนบูรณาการ การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย ในส่วนของกรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ 2561 (กลุ่มปฐมวัย/วัยเรียน/วัยรุ่น) กลุ่มปฐมวัย (0 – 5 ปี) กลุ่มวัยเรียน (5 – 14 ปี) กลุ่มวัยรุ่น (15 – 21ปี) โครงการสนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดต่อและและสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ในกลุ่มวัยเด็ก โครงการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและทักษะชีวิตในกลุ่มวัยเรียน โครงการพัฒนาขับเคลื่อนกฎหมายและเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในกลุ่มวัยรุ่น การป้องกันควบคุมโรคมือ เท้า ปากในศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาล (15.0 ลบ.) ขยายพื้นที่การให้บริการวัคซีนไวรัสโรต้า (6.52 ลบ.) การสำรวจความครอบคลุมการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐาน (4.0 ลบ.) การควบคุมโรคหนอนพยาธิในนักเรียนและเยาวชนในพื้นที่ถิ่นทุรกันดารและพื้นที่ในแผนภูฟ้าพัฒนาตามพระราชดำริ ปี 2561 (17.0 ลบ.) การพัฒนาและสนับสนุนการดำเนินงาน เฝ้าระวัง ป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ (9.2 ลบ.) การดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำ เชิงบูรณาการปี 2561 (5.0 ลบ.) การสำรวจความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในนักเรียน พ.ศ.2561 (2.8 ลบ.) ขยายพื้นที่ให้บริการวัคซีน HPV (6.1 ลบ.) พัฒนาการดำเนินงานควบคุมป้องกัน โรคไม่ติดต่อในโรงเรียนนำร่อง (1.1 ลบ.) - เสริมสร้างการเฝ้าระวัง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการบริการลดเลิก ยาสูบของเยาวชนเชิงรุกทั้งในชุมชนและสถานศึกษา (6.5 ลบ.) พัฒนารูปแบบเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงด้านเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยง (1.76 ลบ.) การเฝ้าระวังและควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในวัยรุ่น (12.6 ลบ.) รวม 25.520 ลบ. รวม 41.235 ลบ. รวม 20.895 ลบ.

แผนบูรณาการ การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย 2561 (กลุ่มวัยทำงาน) ในส่วนของกรมควบคุมโรค เป้าหมายที่ 1. คนไทยมีศักยภาพตลอดช่วงวัย เป้าหมายที่ 2. คนไทยทุกช่วงวัยมีความมั่นคงในชีวิต 1. การสร้างเสริมสุขภาพและลดพฤติกรรมเสี่ยงในวัยทำงาน 2. การเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุของวัยทำงาน มาตรการ 3. การบริการดูแลสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน อย่างครบวงจร ชุดคก.ที่ 1 สร้างเสริมสุขภาพและลดพฤติกรรมเสี่ยง โรคไม่ติดต่อในวัยทำงาน (71.87 ลบ.) ชุดคก.ที่ 3 สื่อสารสร้างความตระหนักในกลุ่มวัยทำงาน (84.50 ลบ.) ชุดคก.ที่ 4 พัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ( 126.41 ลบ.) - ควบคุมALC ในกลุ่มวัยทำงาน (ส.Alc.12.13) พัฒนาและขับเคลื่อนการบังคับใช้กฎหมาย ควบคุมผลิตยาสูบ (ศูนย์กม. 6.5) บูรณาการงานด้านควบคุม ป้องกันโรคไม่ติดต่อ และปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อในสถาน ประกอบการนำร่องทั่วประเทศ(ศนย.NCD 1.14) สร้างเสริมสุขภาพและลดพฤติกรรมเสี่ยงโรค และ ภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพในวัย แรงงาน (env-occ 25.1) กำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อ น้ำดี (ส.CD 25.0) พัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (วัคซีน 2.0) พัฒนาระบบบริการบำบัดโรคเสพติด ยาสูบในสถานบริการสุขภาพ (ส.ยาสูบ 20.0) ยาสูบในสถานประกอบการ (ส.ยาสูบ 3.0) คัดกรอง บำบัดรักษาผู้ติดสุรา (รพศ. รพท. และ รพช.) (ส.Alc 60.0) สร้างความมั่นคงในชีวิตให้แรงงาน ด้านสุขภาพจากการทำงาน (env-occ 43.41) สื่อสารประชาสัมพันธ์ ป้องกันควบคุมโรคNCD วัยทำงาน (ส.NCD 3.0) เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมปัจจัยเสียง Stroke ในวัยทำงาน ช่วงปลาย (ส.NCD 80.5) - M&E (ส.NCD 1.0) RTI ชุดคก.ที่ 2 ป้องกันและลดการตายจากอุบัติเหตุทางถนนในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน (56.30 ลบ.) รวม 339.09 ลบ.

แผนบูรณาการ การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย (กลุ่มวัยทำงาน) กระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561

แผนงานบูรณาการ การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย กลุ่มวัยทำงาน (กระทรวง 721 แผนงานบูรณาการ การพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย กลุ่มวัยทำงาน (กระทรวง 721.40 ลบ.) เป้าหมาย 20 ปี : ประชาชนมีสุขภาพดี ลดพฤติกรรมเสี่ยง/ลดป่วย/ลดการบาดเจ็บ/ลดภาวะแทรกซ้อน/ลดความพิการ เป้าหมายที่ 1 : คนไทยมีศักยภาพตลอดช่วงวัย - ร้อยละ 28 ของวัยทำงานมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ - ร้อยละ 55 คนวัยทำงานมี BMI ปกติ เป้าหมายที่ 2 : คนไทยทุกช่วงวัยมีความมั่นคงในชีวิต ร้อยละ 40 ของกลุ่มวัยแรงงานเข้าถึงระบบบริการ อาชีวอนามัยที่มีคุณภาพ มาตรการที่ 1 การสร้างเสริมสุขภาพ และลดพฤติกรรมเสี่ยงในวัยทำงาน มาตรการที่ 2 การเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุของวัยทำงาน มาตรการที่ 3 การบริการดูแลสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน อย่างครบวงจร ระยะเวลา มาตรการย่อย 1 สร้างเสริมสุขภาพและลดพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อในวัยทำงาน ผลลัพธ์ : ปชช.วัยทำงานมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อโรคและภัยสุขภาพที่สำคัญลดลง (บุหรี่/เหล้า/BMI/Env-occ) มาตรการย่อย 2 ป้องกันและลดการตายจากอุบัติเหตุทางถนนในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ผลลัพธ์ : อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนนลดลง มาตรการย่อย 1 สื่อสารสร้างความตระหนักในกลุ่มวัยทำงาน ผลลัพธ์ : ปชช.กลุ่มวัยทำงานมีความรับรู้และเข้าใจปัญหาสุขภาพ มาตรการย่อย 1 พัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน ผลลัพธ์ : ปชช.กลุ่มวัยทำงานเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ 5 ปี ปี 2561 กรม คร. วงเงิน 128.18 ลบ. กรม อ. วงเงิน 40.00 ลบ. กรม สบส. วงเงิน 217.65 ลบ. สป. วงเงิน 109.64 ลบ. กรม คร. วงเงิน 84.50 ลบ. กรมสุขภาพจิต วงเงิน 4.00 ลบ. กรม คร. วงเงิน 126.41 ลบ. กรม พ. วงเงิน 5.57 ลบ. กรมสุขภาพจิต วงเงิน 5.45 ลบ. หน่วยงาน/ งบประมาณ งบประมาณ 2561 รวม 495.47 ลบ. รวม 88.50 ลบ. รวม 137.43 ลบ.

แผนงานบูรณาการการพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย (กลุ่มวัยทำงาน 2561 = 721 แผนงานบูรณาการการพัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย (กลุ่มวัยทำงาน 2561 = 721.40 ลบ.) กระทรวง เป้าหมายบริการ : ประชาชนมีสุขภาพดีลดพฤติกรรมเสี่ยง/ลดป่วย/ลดการบาดเจ็บ/ลดภาวะแทรกซ้อน/ลดความพิการ เป้าหมายที่ 1. คนไทยมีศักยภาพตลอดช่วงวัย เป้าหมายที่ 2. คนไทยทุกช่วงวัยมีความมั่นคงในชีวิต 1. การสร้างเสริมสุขภาพและลดพฤติกรรมเสี่ยงในวัยทำงาน มาตรการ 2. การเตรียมความพร้อมเข้าสู่วัยสูงอายุของวัยทำงาน 3.การบริการดูแลสุขภาพกลุ่มวัยทำงายอย่างครบวงจร ชุดคก.ที่ 1 สร้างเสริมสุขภาพและลดพฤติกรรมเสี่ยงโรค ไม่ติดต่อในวัยทำงาน (439.17 ลบ.) ชุดคก.ที่ 3 สื่อสารสร้างความตระหนักในกลุ่มวัยทำงาน (88.50 ลบ.) ชุดคก.ที่ 4 พัฒนาคุณภาพระบบบริการสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน (137.43 ลบ.) - ควบคุมALC ในกลุ่มวัยทำงาน (กรมคร. 12.13) พัฒนาและขับเคลื่อนการบังคับใช้กฎหมายควบคุมผลิตยาสูบ (กรมคร. 6.5) บูรณาการงานด้านควบคุม ป้องกันโรคไม่ติดต่อ และปัจจัยเสี่ยงโรคไม่ติดต่อในสถานประกอบการนำร่องทั่วประเทศ (กรมคร. 1.14) สร้างเสริมสุขภาพและลดพฤติกรรมเสี่ยงโรคและภัยสุขภาพจากการประกอบอาชีพในวัยแรงงาน(กรมคร.25.1) กำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี (กรมคร.25.0) พัฒนารูปแบบการให้วัคซีนในผู้ใหญ่ (กรมคร.2.0) คนไทยวัยทำงานยุค4.0 หุ่นดีสุขภาพดี (กรมอ.40.0) - ตำบลจัดการสุขภาพ (สบส. 217.65) พัฒนาระบบบริการบำบัดโรคเสพติดยาสูบในสถานบริการสุขภาพ (กรมคร.20.0) พัฒนาระบบบริการบำบัดโรคเสพติดยาสูบในสถานประกอบการ (กรมคร.3.0) คัดกรอง บำบัดรักษาผู้ติดสุรา (รพศ. รพท. และ รพช.) (กรมคร.60.0) สร้างความมั่นคงในชีวิตให้แรงงานด้านสุขภาพจากการทำงาน (กรมคร.43.41) พัฒนาระบบส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในวัยทำงาน (กรมจ.5.45) พัฒนาการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพที่เหมาะสมสำหรับวัยทำงาน (กรมพ.5.57) สื่อสารประชาสัมพันธ์ป้องกันควบคุมโรคNCDวัยทำงาน (กรมคร. 3.0) เฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมปัจจัยเสียง Stroke ในวัยทำงานช่วงปลาย (กรมคร. 80.5) สร้างความตระหนักและ เข้าใจต่อปัญหาสุขภาพจิต (กรมจ. 4.0) - M&E (กรมคร. 1.0) RTI ชุดคก.ที่ 2 ป้องกันและลดการตายจากอุบัติเหตุทางถนนในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน (56.30 ลบ.) การดำเนินงานในระดับเขต จังหวัด (สป. 109.648 ลบ.)

ขอบคุณครับ