กลุ่มสัตว์ทดลอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 8 พฤศจิกายน 2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อนุสัญญา CITES การตีความเพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติมีผลกระทบอย่างมากต่อ ขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้าระหว่างประเทศ เกี่ยวพันอย่างสลับซับซ้อนกับมิติทางการพัฒนาเศรษฐกิจ.
Advertisements

CONFORMITY ASSESSMENT GUIDANCE ON A THIRD-PARTY CERTIFICATION SYSTEM
การเข้าร่วมเป็นภาคีการยอมรับร่วม OECD MAD
ภาพรวม ระบบการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ ของประเทศญี่ปุ่น
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Expedited and Exempt Review Ethics Committee, Faculty of Tropical Medicine, Mahidol university By Prof. Krisana Pengsaa.
ครูปัทมา แฝงสวัสดิ์. การอ่านเรื่อง สิ่งแวดล้อม ที่อยู่รอบตัวเรา.
“JTEPA, RCEP and Projects Cooperation” สภาอุตสาหกรรมแห่ง ประเทศไทย The Federation of Thai Industries By Mr. Boonpeng Santiwattanatam Vice Chairman of The.
ธีรนารถ Jan Experiences in GMP Inspection in WHO Vaccine Prequalification Scheme ธีรนารถ จิวะไพศาลพงศ์ กองชีววัตถุ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
1 คต ๔๔๑ สรุปการจัดการ โครงการซอฟต์แวร์ คต ๔๔๑ สรุปการจัดการ โครงการซอฟต์แวร์ Royal Thai Air Force Academy : RTAFA Royal Thai Air Force Academy : RTAFA.
บทบาทของวิศวกรเคมี Lecture1_intro_ Chemical Industrial Process, Chemeng, KKU, Mm.Thabuot CIP 1.
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
Guideline on Good Corporate Governance for Insurance Companies in Thailand 1/11/48.
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management System
โครงการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน
Crowded Cloud e-services: Trust and Security
New Chapter of Investment Promotion
ประกาศ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระเบียบ ประกาศ คำสั่งกรมปศุสัตว์
การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
Thai Quality Software (TQS)
การบริการงานอาชีวเวช ภายนอกโรงพยาบาล
พัฒนาการของการคุ้มครองสิทธิในสิ่งแวดล้อม
แนวทางและประสบการณ์ การฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการทำเหมืองแร่
หลักการเดินสำรวจโรงงาน (walkthrough survey)
Biological Products registration/licensing THAILAND
สำนักงานวิจัยนวัตกรรมและพันธมิตร มจธ.
การใช้เครื่องมือการจัดการในองค์การภาครัฐ
การเตรียมความพร้อมของSMEsไทยสู่...
Information System Development
นโยบายการพัฒนาสถานประกอบการเพื่อสุขภาพมุ่งสู่คุณภาพ
ชวนคิดชวนคุยลุยงาน สุขาภิบาลอาหารและน้ำ
โรคจากการประกอบอาชีพ
ทิศทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560
การจัดหาหรือจัดให้มีการพัฒนา และการบํารุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบงานคอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศ มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศตามวิธีการแบบปลอดภัย.
ทรัพยากรธรรมชาติ และการใช้ทรัพยากร
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุคนธา ศิริ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ความตระหนักการจัดการคุณภาพ
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
มาตรฐานระบบบริการสุขภาพ ด้านสุขศึกษา ปี 2562
กลุ่มระบาดวิทยาและข่าวกรอง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 12 สงขลา
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทางการตลาด Marketing Environmental Analysis
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กลุ่มติดตามและประเมินผล กอง แผนงานและวิชาการ.
สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนา
ระบบการจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management System
สังคมวิทยาอุตสาหกรรม
SEA Strategic Environmental Assessment E S A
ปฏิบัติงานการแสดง อ.ดร.กุสุมา เทพรักษ์.
รูปแบบการศึกษา ทางระบาดวิทยา
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
มุ่งสู่ความเป็นศูนย์: การเลือกปฏิบัติด้านเอดส์ 10 กันยายน 2557
การจัดการความปลอดภัยระบบสารสนเทศ (Information Security Management System : ISMS) ด้วย เกณฑ์มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ISO/IEC และ ISO/IEC
สถาบันส่งเสริมสินค้าเกษตรนวัตกรรม
กรอบการประเมินการรู้วิทยาศาสตร์ (PISA 2015 และ 2018)
บทบาทของ สสจ" ในงานอนามัยสิ่งแวดล้อม ในสถานการณ์ปัจจุบัน
การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
Activity-Based-Cost Management Systems.
นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุขภาพ
EM: Asst.Prof.Dr.PattanaSirichotpundit, Ph.D.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยข้อมูล สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
เรื่อง การผลิตอาหารปลอดภัย
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
การพัฒนาหน่วยทดสอบการระคายเคืองในสัตว์ทดลองตามข้อกำหนด OECD GLP
คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
การเสนอโครงร่างโครงงานวิจัย (Research Proposal)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

กลุ่มสัตว์ทดลอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 8 พฤศจิกายน 2559 ระดับความสำเร็จการเตรียมความพร้อมห้องปฏิบัติการการทดสอบการระคายเคืองทางผิวหนังในสัตว์ทดลองให้ได้ตามข้อกำหนด OECD GLP กลุ่มสัตว์ทดลอง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข 8 พฤศจิกายน 2559

OECD Organisation for Economic Co-operation and Development ก่อตั้ง ปี 1960 สมาชิกกลุ่มแรกประกอบด้วยประเทศในยุโรปที่พัฒนาทาง เศรษฐกิจแล้ว ต่อมาขยายรับสมาชิกที่มีเศรษฐกิจดีนอกยุโรป (อเมริกา คานาดา เม็กซิโก ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์) MAD Mutual Acceptance of Data – test data generated in any member country in accordance with OECD Test Guidelines and Principles of Good Laboratory Practice (GLP) shall be accepted in other member countries for assessment purposes and other uses relating to the protection of human health and the environment

MAD : International mechanism หลีกเลี่ยงการทำซ้ำ (avoid duplication) ประหยัดทรัพยากร (save resources) ลดการทดลองกับสัตว์ (reduce animal testing) กำจัดกำแพงการค้าที่ไม่ใช่ภาษี (eliminate non-tariff barrier) ลดเวลาในการนำสินค้าสู่ตลาด (reduce time-to- market) For registration or licensing of new product

Players in Thailand Regulators 1. สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา 2. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ Compliance Monitoring Authority (CMA) สำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ GLP test facility ศูนย์สัตว์ทดลอง มหาวิทยาลัยมหิดล สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสัตว์ทดลอง สวส. Sponsor บริษัทหรือหน่วยงานที่มีผลิตภัณฑ์ใหม่

GLP Good Laboratory Practice Good Laboratory Practice (GLP) คือระบบคุณภาพที่ช่วยจัดการ ห้องปฏิบัติการให้มีมาตรฐาน มีผลงานถูกต้อง น่าเชื่อถือและเป็นที่ยอมรับ ใช้กันในNon-clinical health and environmental safety study ต้องมีการวางแผนการศึกษาที่ชัดเจน (planned) มีการดำเนินการที่เป็นมาตรฐาน (performed) สามารถตรวจสอบกลับได้ (monitored) มีการบันทึกรายละเอียดการทดสอบ (recorded) จัดเก็บและรายงานอย่างเป็นระบบ (archived and reported)

Products Pharmaceuticals* Food additives Feed additives Pesticides Cosmetic products Veterinary drug products Industrial chemicals

Area of Expertise/Studies Physical – Chemical testing Toxicity studies* Mutagenicity studies Environmental toxicity studies on aquatic and terrestrial organisms Studies on behavior in water , soil and air bioaccumulation Residue studies Studies on the effects of mesocosms and natural ecosystems Analytical and clinical chemistry testing Other studies

OECD GLP Requirements Resources จะกำหนดมาตรฐานของบุคลากร สถานที่ เครื่องมือและ อุปกรณ์ที่ใช้ Characterization จะกำหนดมาตรฐานของสารที่จะใช้ทดสอบ และระบบที่จะทดสอบ Rules จะเป็นข้อกำหนดต่างๆ ที่ใช้ในการวิจัยและทดลอง (protocol) ระบบเอกสาร (Documentation) เช่น การบันทึก ข้อมูลดิบ การ เก็บข้อมูล การรายงาน เป็นต้น ระบบประกันคุณภาพ (Quality Assurance)

ความเป็นไปได้ของโครงการ Product : Pharmaceuticals – ครีมสมุนไพรรักษาเชื้อราของกรมฯ Area of study : Toxicity study – Skin irritation testing ได้รับ ISO 15189 แล้ว ช่วงเวลาทดสอบในสัตว์ไม่นานเกินไป (21 วัน) OECD test guideline 404 Problem ? ยังไม่มีการกำหนดเกณฑ์สำหรับการ characterization ของ test item ที่ เป็นสมุนไพรโดย CMA Engelhard et al., 2003

การทดสอบความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์สุขภาพ คือ การทดสอบการระคายเคือง (Skin irritation testing) ในสัตว์ทดลอง

องค์ประกอบความสำเร็จที่เกี่ยวข้อง ระบบประกันคุณภาพ (QA unit) ต้องเป็นระบบรวมถึงบุคคลที่ไม่ เกี่ยวข้องกับการทดสอบ มีหน้าที่ตรวจประเมินเพื่อประกันคุณภาพว่าทุก ขั้นตอนการปฏิบัติงานมีความสอดคล้องกับข้อกำหนด OECD GLP Archive (Data and specimen storage) คือ บุคคลและพื้นที่ที่ ไม่เกี่ยวข้องกับการทดสอบ มีหน้าที่เก็บรักษาเอกสาร ข้อมูล และตัวอย่างที่ เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานทั้งหมดโดยรักษาให้คงอยู่ในสภาพที่สามารถนำ กลับมาดำเนินการใหม่ได้ในกรณีที่จำเป็น โดยมีระยะเวลาการเก็บรักษา เท่าที่หน่วยงานขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์เป็นผู้กำหนด ต้องดำเนินการในช่วงเวลาที่สอดคล้องกันกับโครงการนี้

แนวทางการประเมินผล เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางประเมินผล ระดับคะแนนที่ 1 ขั้นตอนที่ 1 จัดทำแผนปฏิบัติการการเตรียมความพร้อมห้องปฏิบัติการการทดสอบการระคายเคืองทางผิวหนังในสัตว์ทดลองให้ได้ตามข้อกำหนดมาตรฐาน OECD GLP โดยแผนได้รับอนุมัติจากผู้บริหาร   แผนปฏิบัติการการเตรียมความพร้อมห้องปฏิบัติการการทดสอบการระคายเคืองทางผิวหนังในสัตว์ทดลองให้ได้ตามข้อกำหนดมาตรฐาน OECD GLP ที่ได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ระดับคะแนนที่ 2 ขั้นตอนที่ 2 ดำเนินการทดสอบการระคายเคืองทางผิวหนังในสัตว์ทดลองให้ได้ตามข้อกำหนดมาตรฐาน OECD GLP รายงานผลการดำเนินการทดสอบการระคายเคืองทางผิวหนังในสัตว์ทดลองให้ได้ตามข้อกำหนดมาตรฐาน OECD GLP ระดับคะแนนที่ 3 ขั้นตอนที่ 3 ได้รับการตรวจตามข้อกำหนดมาตรฐาน OECD GLP โดย QA Unit ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์/สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข รายงานผลการตรวจตามข้อกำหนดมาตรฐาน OECD GLP โดย QA Unit

แนวทางการประเมินผล (ต่อ) เกณฑ์การให้คะแนน แนวทางประเมินผล ระดับคะแนนที่ 4 ขั้นตอนที่ 4 เตรียมเอกสารเพื่อยื่นขอรับรองมาตรฐาน OECD GLP ต่อสำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ตามข้อกำหนดและเงื่อนไขการรับรองห้องปฏิบัติการทดสอบหรือศึกษาวิจัย/พัฒนา ด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข    แสดงรายการเอกสารที่ต้องเตรียมก่อนการยื่นขอการรับรองมาตรฐาน OECD GLP ตามที่สำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์กำหนดตามข้อกำหนดและเงื่อนไขการรับรองห้องปฏิบัติการทดสอบหรือศึกษาวิจัย/พัฒนาด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข  ระดับคะแนนที่ 5 ขั้นตอนที่ 5 ยื่นขอรับรองมาตรฐาน OECD GLP ต่อสำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เอกสารแสดงการยื่นขอรับรองมาตรฐาน OECD GLP ต่อสำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์