ประชุมวิชาการ ระดับ รพ.สต. วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 รพ.สิรินธร ขอนแก่น ประชุมวิชาการ ระดับ รพ.สต. วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 รพ.สิรินธร ขอนแก่น มาตรฐานงานห้องปฎิบัติการ รพ.สต. วิรัช พวงภู่
ระบบคุณภาพและมาตรฐานทางห้องปฏิบัติ การด้านการแพทย์และสาธารณสุข (LAB) 1. บุคลากร 2. สถานที่ทาการทดสอบ/พื้นที่ปฏิบัติงาน 3. วัสดุ น้ายาและเครื่องมือทดสอบ 4. ขั้นตอนก่อนการทดสอบ 5. ขั้นตอนการทดสอบ 6. การประกันคุณภาพการทดสอบ 7. ขั้นตอนหลังการทดสอบและความปลอดภัย 8. การรายงานผลการทดสอบ หมวด ****1,3,5,6 ห้ามได้ 0 ข้อใดข้อหนึ่ง*****
- ฝึกอบรม จาก * รพ. พี่เลี้ยง 1.หมวดบุคลากร 1.1 ผู้ปฏิบัติงานตรวจทางห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขต้องผ่านการอบรมหรือได้รับการฟื้นฟูทางวิชาการ - ฝึกอบรม จาก * รพ. พี่เลี้ยง * หรือ ผู้รับผิดชอบหลักใน รพ.สต. ที่ผ่านการฝึกอบรมได้ - โดยมีหลักฐานการฝึกอบรม - ครอบคลุม 4 test หลักที่ให้บริการและเป็นปัจจุบัน 1.4 มีที่ปรึกษาทางวิชาการเช่น นักเทคนิคการแพทย์ จพง.วิทย์ฯ ของโรงพยาบาลทุติยภูมิ/ตติยภูมิ - มีคาสั่งแต่งตั้งและ 1* - หลักฐานการ ...ปรึกษาจากโทรศัพท์/ line / face book ได้
* Tube Hct ต้อง ไม่หมดอายุ 3. วัสดุ น้ายาและเครื่องมือทดสอบ 3.2.2 มีแผนการสอบเทียบและบารุงรักษา ใช้แผนสอบเทียบรวมของ CUP หรือ รพ.สต. ได้แก่ * เครื่องปั่น Hct และ นาฬิกา * เทอร์โมมิเตอร์ด้วย (กรณีมีวัสดุงานห้องปฏิบัติการเก็บในตู้เย็น) 3.2.3 มีการบันทึกการสอบเทียบ และบารุงรักษาเครื่องมือที่เป็นปัจจุบัน * มีบันทึกการสอบเทียบที่เป็นรายละเอียดจากการสอบเทียบ * หรือสำเนาจากหน่ายงานที่ สอบเทียบ * ใบ Certification(กรณีจ้างองกรณ์ภายนอก) 3* ระยะเวลาสอบเทียบ * เครื่องปั่น Hct /เทอร์โมมิเตอร์ด้วย สอบเทียบอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง * นาฬิกาจับเวลา สอบเทียบทุก 6 เดือน ตามค่าที่ใช้งาน (ละเอียดวินาที) 3.6.3 Tube Hematocrit 2* * ถ้าเจาะจากปลายนิ้วชนิด Heparin (มีแถบคาดสีแดงที่ปลายหลอด/ใส่เลือดได้สองข้าง) * Tube Hct ต้อง ไม่หมดอายุ
5. ขั้นตอนการทดสอบ 5.1 มีคู่มือการทดสอบตัวอย่างครบทุกรายการที่เปิดให้บริการ * คู่มือการตรวจวิเคราะห์/การเก็บสิ่งส่งตรวจ(ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ หรือจัดทำขึ้นเองได้โดยนักเทคนิคการแพทย์ และ * ต้องมีเอกสารกากับน้ายา / ชุดตรวจ ที่เป็นปัจจุบันอยู่ด้วยเสมอ 5.2 ปฏิบัติตามขั้นตอนที่ระบุไว้ในคู่มืออย่างเคร่งครัด *บุคลากรผู้รับผิดชอบต้องสาธิตวิธีการตรวจวิเคราะห์ให้ดูทั้ง 4 รายการทดสอบ และ มีการสุ่มเลือกผู้สาธิต
6. การประกันคุณภาพการทดสอบ 6.1 มีการควบคุมคุณภาพภายใน (Internal Quality Control, IQC) บันทึกใน Worksheet การปฏิบัติงานประจำต่อจากบันทึกการตรวจวิเคราะห์ผู้ป่วย ชนิด สารควบคุมคุณภาพ IQC ที่มีค่ากำหนดให้เป็นช่วง เช่น 50-70 mg% 1.เตรียมจากสารเคมี 2.เตรียมจากสิ่งมีชีวิต มีสภาพใกล้เคียงกับตัวอย่างผู้ป่วย เหมาะสมที่สุด เช่น เลือด ปัสสาวะ ข้อหนด.. CUP สิรินธร IQC * DTX ประกอบด้วย 1. ชนิดที่ 1 ของบริษัทจำนวน 1 ครั้ง/เดือน 2.และ ชนิดที่ 2 โดยนำเครื่องมาทดสอบกับห้องปฏิบัติการ รพ.สิรินธร 3 เดือน/ครั้ง * Urine (Preg test, Glucose, Protien) เตรียมจากตัวอย่างผู้ป่วย หรือห้องปฏิบัติการ รพ.สิรินธร แช่แข็ง ได้ 1 ปี * Het 1. สอบเทียบความเร็วรอบและนาฬิกา 2. และขั้นตอนอย่างถูกต้องแทนการส่งตัวอย่างเลือด -ใช้เลือด 3/4 และ ปิดปลายด้านหนึ่งของ tube ด้วยดินน้ำมันที่แนวราบเสมอกันให้แน่น -Centrifuge ที่ 12,000 – 15,000 rpm เป็นเวลา 5 นาที
6.2 การควบคุมคุณภาพโดยองค์กรภายนอก (External Quality Assessment, EQA) หรือเปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการ EQA : เตรียมจากสิ่งมีชีวิต เช่น เลือด ปัสสาวะ : ส่งมาพร้อมๆกันหลายแห่ง โดยไม่บอกค่า เมื่อเราส่ง กลับจะแจ้งว่าอยู่ในระดับใด : อย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง : มีสรุปผล การเปรียบเทียบ มีบันทึกทบทวนผลการเปรียบเทียบ 6.3 กรณีที่พบว่า IQC หรือ EQA มีผลดาเนินการออกนอกเกณฑ์การยอมรับ หาสาเหตุปัญหา ดำเนินการแก้ไขและป้องกันไม่ให้เกิดซ้า โดยมีบันทึกไว้เป็นหลักฐาน บันทึกการทบทวนกรณีผลการควบคุมคุณภาพออกนอกเกณฑ์ที่ยอมรับ
ขอบคุณครับ