การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
๒. ผู้ขอประเมินทำหนังสือแสดงเจตนาขอเข้ารับ การประเมิน ตามหนังสือแสดงเจตนา ๒. ผู้ขอประเมินทำหนังสือแสดงเจตนาขอเข้ารับ การประเมิน ตามหนังสือแสดงเจตนา ๓.
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการ ลงทุนที่ 3 /2555 เรื่องการขยาย เวลาการยกเว้นอากรขาเข้า เครื่องจักรที่นำเข้ามาทดแทน.
กฎหมายสิ่งแวดล้อม อาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 ระเบียบสำนักงานประกันสังคม ว่าด้วย การคืนเงินให้แก่นายจ้าง หรือ ผู้ประกันตน หรือบุคคลอื่น ในกรณีเงิน ที่รับไว้เป็นเงินไม่พึงชำระแก่กองทุน.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
แม่ฮ่องสอน สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นายไพรัช จันทรา
ณ 31 พฤษภาคม
หนองบัวลำภู นายทรงเดช ทิพย์โยธา -ว่าง- นายเฉลิมชัย เรืองนนท์
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
นางพจนีย์ ขจร ปรีดานนท์ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายทวีศักดิ์ สุริยะสิงห์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ ( ว่าง ) หัวหน้าฝ่ายบริหารงาน ทั่วไป นายปรีชา.
1 นางสรัลพัชร ประ โมทะกะ โยธาธิการและผังเมือง จังหวัด นายสุชาติ กิมาคม หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ ผังเมือง นายกุลเกียรติ เทพมงคล หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพสธร.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
นายอธิปัตย์ พ่วง ลาภ โยธาธิการและผัง เมืองจังหวัด นายอนุชา เจริญพันธ์ หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการ โยธาธิการ นายจรัส สุด จันทร์ หัวหน้าฝ่ายปฏิบัติการ นายพศิน.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปี ติดตามงานแผนกล ยุทธ์ ปี เจ้าภาพ กบส./ กลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ ดำเนินการแล้วอยู่ระหว่างดำเนินการยังไม่ดำเนินการ.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
การอุดหนุน งบประมาณ ให้แก่ สถานศึกษาใน สังกัดสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้น พื้นฐาน.
การบริหารจัดเก็บภาษีสินค้ายาสูบ
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
การส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 11 มิถุนายน 2561
พ.ร.ก.ยกเว้นและสนับสนุนฯ สำนักกฎหมาย กรมสรรพากร
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2557
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
โดย... นางสาวปวีณ์ริศา เกณิกานนท์ นักวิชาการแรงงานชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
รองอธิบดีกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (นางอัจฉรา แก้วกำชัยเจริญ)
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 16 นครปฐม
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
กลุ่มเกษตรกร.
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ประชุมชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงาน
สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ
กรณีกองทุนหมู่บ้าน. กรณีกองทุนหมู่บ้าน กรณีกองทุนหมู่บ้าน (ต่อ) ตามหนังสือที่ พณ /1099 ลงวันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ
พรบ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน(ฉบับที่ 2 ) พ.ศ ให้ใช้
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ตามหนังสือสำนักงาน ก.ค.ศ. ที่ ศธ /ว 21 ลงวันที่ 5 กรกฎาคม 2560
สำนักงานประกันสังคม จังหวัดปัตตานี
สวัสดิการและสิทธิประโยชน์เกื้อกูลลูกจ้างชั่วคราว พ.ศ. 2545
ทะเบียนสมาคมฌาปนกิจสงเคราะห์
การบรรจุแต่งตั้งและอัตราเงินเดือน
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
ขั้นตอนการประเมินลูกจ้างชั่วคราวเงินบำรุง
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
บัญชีเงินเดือนขั้นต่ำขั้นสูงของข้าราชการพลเรือนสามัญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน DSD BANK กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

กรมพัฒนาฝีมือแรงงานจัดแคมเปญ “มอบของขวัญ ปี 60 แก่ผู้ประกอบกิจการ” กรมพัฒนาฝีมือแรงงานจัดแคมเปญ “มอบของขวัญ ปี 60 แก่ผู้ประกอบกิจการ”

ความเป็นมา พระราชบัญญัติส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน พ.ศ. 2545 มาตรา 28 (3) บัญญัติให้ใช้จ่ายเงินกองทุนเพื่อช่วยเหลือหรืออุดหนุนกิจการใดๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการประกาศกำหนด ประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์การใช้จ่ายเงินกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงานเพื่อช่วยเหลือหรืออุดหนุนกิจการใดๆ ที่เกี่ยวกับการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน และช่วยเหลือหรืออุดหนุน การดำเนินการของศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถกลาง ลงวันที่ 22 กันยายน 2559

“มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 เป็นต้นไป” ประกาศคณะกรรมการส่งเสริม การพัฒนาฝีมือแรงงาน ลงวันที่ 22 กันยายน 2559 “มีผลใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2560 เป็นต้นไป”

ผู้มีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/ กลุ่มผู้ประกอบกิจการ

1 ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับอนุญาต ตามมาตรา 24 ซึ่งดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน และมีผู้ผ่านการทดสอบในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ 100 คนขึ้นไป โดยมีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนปีละ 10,000 บาทต่อผู้ผ่าน การทดสอบทุก 100 คน ทั้งนี้ ส่วนที่เกิน 100 คน ถ้ามีจำนวนตั้งแต่ 75 คนขึ้นไป ให้ปัดเป็น 100 คน เพื่อเป็นการส่งเสริมให้มีการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน “ประกาศฯ ข้อ 4”

ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ตามประกาศฯ ข้อ 4 √ ปีละ 10,000 บาท ต่อผู้ผ่านการทดสอบทุก 100 คน ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับอนุญาต ตามมาตรา 24 ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ มีผู้ผ่านการทดสอบ 100 คน ขึ้นไป (ปีที่ผ่านมา) นำจำนวนผู้ผ่านการทดสอบ ในปีที่ผ่านมา ยื่นขอรับเงินอุดหนุน ภายในวันที่ 31 สิงหาคม ของทุกปี ส่วนที่เกิน 100 คน ถ้ามี 75 คนขึ้นไป ให้ปัดเป็น 100 คน

ตัวอย่าง 1 ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ยื่นคำขอรับ จำนวน 200 คน การช่วยเหลือหรืออุดหนุน มีผู้ผ่านการทดสอบ จำนวน 175 คน จำนวน 20,000 บาท ปี 2559 ปี 2560 1 ม.ค.59 31 ธ.ค.59 1 ม.ค.60 31 ส.ค.60 คำอธิบาย ปี พ.ศ. 2559 (ม.ค. 59 – 31 ธ.ค. 59) ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติจำนวน 200 คน มีผู้ผ่านการทดสอบฯ จำนวน 175 คน ปี พ.ศ. 2560 (1 ม.ค. 60 – 31 ส.ค. 60) ยื่นคำขอรับเงินอุดหนุน จำนวน 20,000 บาท 100 คนแรก ได้รับเงิน 10,000 บาท 75 คนหลัง ปัดเป็น 100 คน ได้รับเงิน 10,000 บาท

2 ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับอนุญาต ตามมาตรา ๒๔ ซึ่งดำเนินการทดสอบให้แก่ผู้เข้ารับการทดสอบ ที่กรมพัฒนาฝีมือแรงงานส่งไปทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ในสาขาอาชีพที่จำเป็นต้องให้การส่งเสริมหรือสนับสนุนให้มีผู้ประกอบอาชีพที่มีทักษะฝีมือได้มาตรฐานเพียงพอต่อความต้องการของตลาดแรงงาน หรือเป็นสาขาอาชีพที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญ เครื่องมืออุปกรณ์หรือเทคโนโลยีเฉพาะด้าน 2 “ประกาศฯ ข้อ 7”

2 ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน โดยมีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเป็นค่าทดสอบตามที่ผู้ดำเนินการทดสอบกำหนด ไม่เกินอัตราค่าทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานตามประกาศคณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน เรื่อง กำหนดอัตราค่าทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ต่อจำนวนผู้เข้ารับการทดสอบ 1 คน เพื่อส่งเสริมให้ผู้ประกอบอาชีพมีทักษะฝีมือที่ได้มาตรฐานตรงตามความต้องการ ของตลาดแรงงาน 2 “ประกาศฯ ข้อ 7”

ศูนย์ทดสอบฯ ส่งผลการทดสอบ ให้หน่วยงานของกรมฯ ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ตามประกาศฯ ข้อ 7 √ เป็นค่าทดสอบตามที่ผู้ดำเนินการทดสอบกำหนดต่อจำนวนผู้เข้ารับ การทดสอบ 1 คน (ไม่เกินอัตราค่าทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานตามประกาศกำหนด) หน่วยงานของกรมฯ ส่งผู้เข้ารับ การทดสอบไป ทดสอบกับศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ศูนย์ทดสอบฯดำเนินการทดสอบ มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ให้แก่ผู้เข้ารับการทดสอบ ศูนย์ทดสอบฯ ส่งผลการทดสอบ ให้หน่วยงานของกรมฯ เมื่อดำเนินการทดสอบแล้วเสร็จยื่นขอรับเงินอุดหนุน ภายในวันที่ 31 สิงหาคม ของทุกปี

ตัวอย่าง 2 ปี 2560 ดำเนินการทดสอบสาขาช่างไฟฟ้า ภายในอาคาร ระดับ 1 จำนวน 50 คน ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฯ ที่ได้รับอนุญาตตามมาตรา 24 ยื่นขอรับเงินอุดหนุน เป็นค่าทดสอบสาขาช่างไฟฟ้า ภายในอาคาร จำนวน 50 คน เป็นเงินจำนวน 50,000 บาท (50 คน x 1,000 บาท) (ภายในวันที่ 1 ม.ค. 60 – 31 ส.ค. 60) ค่าทดสอบคนละ 1,000 บาท กรมฯ กำหนด ดำเนินการทดสอบ ให้แก่ผู้เข้ารับการทดสอบที่กรมพัฒนาฝีมือแรงงานส่งไปทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาอาชีพที่จำเป็นต้องให้การส่งเสริมหรือสนับสนุนให้มี ผู้ประกอบอาชีพที่มีทักษะฝีมือ ได้มาตรฐานเพียงพอต่อความต้องการของตลาดแรงงาน ขอรับเงินอุดหนุนเป็นค่าทดสอบ ไม่เกินอัตราค่าทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานตามประกาศกำหนดต่อจำนวนผู้เข้ารับการทดสอบ 1 คน ภายในวันที่ 31 สิงหาคม ของปีที่มีสิทธิขอรับเงินอุดหนุน สาขาอาชีพที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญ เครื่องมืออุปกรณ์ หรือเทคโนโลยีเฉพาะด้าน

ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/กลุ่มผู้ประกอบกิจการ ผู้ประกอบกิจการที่ส่งเงินสมทบเข้ากองทุนพัฒนาฝีมืแรงงาน ภายในเวลาที่กำหนดในปีที่ผ่านมา และได้ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานตามมาตรา 29 วรรคสอง ครบตามสัดส่วน ที่กฎหมายกำหนดในปีถัดมา โดยมีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือ หรืออุดหนุนร้อยละ 10 ของเงินสมทบที่นำส่ง เพื่อเป็นการส่งเสริมให้มีการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้าง “ประกาศฯ ข้อ 5” 3 การดำเนินการตามมาตรา 29 วรรคสอง ผู้ประกอบกิจการที่จัดให้มีการฝึกอบรมฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างของตน หรือ ส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบและผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ หรือ มีลูกจ้างผ่านการรับรองความรู้ความสามารถจากศูนย์ประเมินความรู้ความสามารถ

ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/กลุ่มผู้ประกอบกิจการ การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ตามประกาศฯ ข้อ 5 √ ร้อยละ 10 ของเงินสมทบที่นำส่งเข้ากองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ผู้ประกอบกิจการดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานไม่ครบตามสัดส่วน ที่กฎหมายกำหนด ส่งเงินสมทบ เข้ากองทุนฯ ภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด ยื่นขอรับเงินอุดหนุน ภายในวันที่ 31 สิงหาคม ของทุกปี ปีที่ผ่านมา ปีต่อมา ปีถัดไป

3 ตัวอย่าง ส่งเงินสมทบ 20 มี.ค. 59 ปี 2558 ปี 2560 1 ม.ค.58 31 ธ.ค.58 1 ม.ค.59 31 ส.ค.60 ปี 2559 31 ธ.ค.59 1 ม.ค.60 ปี พ.ศ. 2558 ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างไม่ครบ ตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด จำนวน 50 คน ส่งเงินสมทบของปี พ.ศ. 2558 ภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด (ภายในเดือนมีนาคม 2559) จำนวน 54,000บาท (50 คน X 1,080 บาท) ส่งเงินสมทบ 20 มี.ค. 59 ปี พ.ศ. 2559 ดำเนินการพัฒนา ฝีมือแรงงานให้ลูกจ้าง ครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด ปี พ.ศ.2560 ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือ หรืออุดหนุน (1 ม.ค.60 – 31 ส.ค.60) จำนวน 5,400 บาท (54,000 x 10%)

ตัวอย่าง 3 คำอธิบาย ในปี พ.ศ. 2558 บริษัท A มีลูกจ้าง 300 คน ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้างจำนวน 100 คน ไม่ครบ ตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด จำนวน 50 คน จึงต้อง ส่งเงินสมทบเข้ากองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน จำนวน 54,000 บาท (50 คน x 1,080 บาท) 1. บริษัท A นำส่งเงินสมทบ ประจำปี พ.ศ. 2558 ในวันที่ 20 มีนาคม 2559 ภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด (ภายในวันที่ 31 มีนาคม 2559) 2. ในปี พ.ศ. 2559 บริษัท A ดำเนินการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้าง ครบตามสัดส่วนที่กฎหมายกำหนด 3. ในปี พ.ศ. 2560 (1 ม.ค. 60 – 31 ส.ค. 60) บริษัท A ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนร้อยละ 10 ของเงินสมทบที่นำส่ง จำนวน 5,400 บาท (54,000 x 10%)

ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/กลุ่มผู้ประกอบกิจการ ผู้ประกอบอาชีพ ผู้ประกอบกิจการ หรือ กลุ่มผู้ประกอบกิจการ ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานของตนตามมาตรา 26 และได้นำมาตรฐานฝีมือแรงงานดังกล่าวไปใช้ในการทดสอบ ให้แก่ลูกจ้างของตนในปีที่ผ่านมา โดยมีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนในแต่ละสาขาระดับละ 10,000 บาท เพื่อเป็นการส่งเสริมให้มีการจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานของตนและนำมาตรฐานฝีมือแรงงานนั้นไปใช้ทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน ให้ใช้บังคับกับมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับการรับรอง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป “ประกาศฯ ข้อ 8” 4

ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/กลุ่มผู้ประกอบกิจการ การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ตามประกาศฯ ข้อ 8 √ เป็นค่าจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานของตนและทดให้แก่ลูกจ้าง สาขาระดับละ 10,000 บาท ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานของตนตามมาตรา 26 นำมาตรฐานฯ ที่ได้การรับรองไปทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน ยื่นขอรับเงินอุดหนุน ภายในวันที่ 31 สิงหาคม ของทุกปี ปีถัดไป ใช้บังคับกับมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับ การรับรองตั้งแต่ปี พ.ศ. 2560 เป็นต้นไป

4 ตัวอย่าง ปี 2560 ปี 2561 1 ม.ค.60 31 ธ.ค.60 1 ม.ค.61 31 ส.ค.61 ปี พ.ศ. 2560 ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานของตน ตามมาตรา 26 ปี 2560 ปี 2561 1 ม.ค.60 31 ธ.ค.60 1 ม.ค.61 31 ส.ค.61 ปี พ.ศ. 2561 ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือ หรืออุดหนุนในแต่ละสาขา ระดับละ 10,000 บาท (1 ม.ค. 61 – 31 ส.ค. 61) ปี พ.ศ. 2560 นำมาตรฐานฯ ที่ได้รับการรับรอง ไปทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน

ตัวอย่าง 4 คำอธิบาย 1. ในปี พ.ศ. 2560 บริษัท B ได้รับการรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงานของตน ตามมาตรา 26 2. บริษัท B นำมาตรฐานฝีมือแรงงานที่ได้รับการรับรองในปี พ.ศ. 2560 ไปใช้ทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน ภายในปี พ.ศ. 2560 3. ในปี พ.ศ. 2561 (1 ม.ค. 61 – 31 ส.ค. 61) บริษัท B ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ในแต่ละสาขาระดับละ 10,000 บาท

ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/กลุ่มผู้ประกอบกิจการ ผู้ประกอบกิจการที่ส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบ และผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ และได้จ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างดังกล่าวตามประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ เป็นเวลาไม่น้อยกว่า 180 วัน ก่อนวันยื่นขอรับเงินอุดหนุน โดยมีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน 1,000 บาท ต่อลูกจ้าง 1 คน ทั้งนี้ไม่เกินปีละ 100,000 บาท เพื่อเป็นการส่งเสริม ให้มีการจ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ “ประกาศฯ ข้อ 9” 5

ยื่นขอรับเงินอุดหนุน ภายในวันที่ 31 สิงหาคม ของทุกปี ช่วยเหลือหรืออุดหนุนผู้ประกอบกิจการ/ผู้ประกอบอาชีพ/กลุ่มผู้ประกอบกิจการ การขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ตามประกาศฯ ข้อ 9 √ รับเงินจำนวน 1,000 บาท ต่อลูกจ้าง 1 คน (ไม่เกินปีละ 100,000 บาท) ผู้ประกอบกิจการ ส่งลูกจ้าง เข้ารับการทดสอบ และผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ จ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างดังกล่าว ไม่น้อยกว่า 180 วัน ก่อนวันยื่นขอรับเงินอุดหนุน ยื่นขอรับเงินอุดหนุน ภายในวันที่ 31 สิงหาคม ของทุกปี จ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้าง ตามประกาศ คณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ สิทธิเกิดมีขึ้นในระหว่าง 1 ก.ย. – 31 ธ.ค. ให้ยื่นได้ในปีถัดไป

ไม่น้อยกว่า 180 วัน ก่อนวันยื่นคำขอ ตัวอย่าง 5 ผู้ประกอบกิจการ ส่งลูกจ้าง เข้ารับการทดสอบ และผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ จำนวน 40 คน ยื่นขอรับเงินอุดหนุน จำนวน 40,000 บาท (40 คน x 1,000 บาท) ภายในวันที่ 31 ส.ค. 60 1 ก.พ. 60 จ่ายค่าจ้าง ตามมาตรฐานฝีมือ ให้ลูกจ้างที่ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ สาขาช่างไฟฟ้าภายในอาคารระดับ 3 คนละ 600 บาทต่อวัน ไม่น้อยกว่า 180 วัน ก่อนวันยื่นคำขอ 31 ม.ค. 60 31 ม.ค.60 1 ก.พ.60 20 ส.ค.60 ทดสอบ จ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ (ไม่น้อยกว่า 180 วัน ก่อนวันยื่นขอรับเงินอุดหนุน) ยื่นขอรับเงิน 1 ม.ค.60 31 ส.ค.60 31 ธ.ค.60 กรณีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนเกิดมีขึ้น ในระหว่างวันที่ 1 ก.ย. 60 ถึง 31 ธ.ค. 60 ให้มีสิทธิยื่นคำขอรับเงินอุดหนุนได้ในปีพ.ศ. 2561

1 2 ผู้ได้รับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนให้ปฏิบัติตามเงื่อนไข รายงานผลการดำเนินงานการพัฒนาฝีมือแรงงานให้กรมพัฒนาฝีมือแรงงานทราบภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ดำเนินการ แล้วเสร็จ (แบบชอ.3) 1 ยินยอมให้นายทะเบียน พนักงานเจ้าหน้าที่ และคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจตรา และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการพัฒนาฝีมือแรงงานตามที่ได้รับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน 2

ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ประโยชน์ที่ได้รับ ส่งเสริมให้มีการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงาน ส่งเสริมให้ผู้ประกอบอาชีพมีทักษะฝีมือที่ได้มาตรฐาน ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน ผู้ดำเนินการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงาน ส่งเสริมให้มีการพัฒนาฝีมือแรงงานให้แก่ลูกจ้าง เพื่อเพิ่มผลิตภาพแรงงาน ส่งเสริมให้มีการจ่ายค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ ส่งเสริมให้มีการจัดทำมาตรฐานฝีมือแรงงานของตน และนำมาตรฐานฝีมือแรงงานนั้นไปใช้ทดสอบให้แก่ลูกจ้างของตน ผู้ประกอบกิจการ ผู้ประกอบอาชีพ กลุ่มผู้ประกอบกิจการ

ลูกจ้าง ผู้บริโภค ประโยชน์ที่ได้รับ ได้รับการพัฒนาศักยภาพของตนเอง ได้รับค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือแรงงาน ลูกจ้าง ได้รับสินค้าและบริการที่มีคุณภาพ ผู้บริโภค

การยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ผู้ประสงค์จะขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนจากกองทุนพัฒนา ฝีมือแรงงาน ให้ยื่นคำขอตามแบบที่กรมพัฒนาฝีมือแรงงานกำหนด ภายในวันที่ 31 สิงหาคม ของปีที่มีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ผู้ประกอบกิจการที่ส่งลูกจ้างเข้ารับการทดสอบและผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ และได้จ่ายค่าจ้าง ให้แก่ลูกจ้างดังกล่าวตามประกาศคณะกรรมการค่าจ้าง เรื่อง อัตราค่าจ้างตามมาตรฐานฝีมือ กรณีสิทธิขอรับเงินช่วยเหลือ หรืออุดหนุนเกิดมีขึ้น ในระหว่างวันที่ 1 กันยายน ถึง 31 ธันวาคม ในปีใด ให้มีสิทธิยื่นคำขอรับเงินอุดหนุนได้ในปีถัดไป

สถานที่ยื่นคำขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน ผู้ประสงค์จะขอรับเงินช่วยเหลือหรืออุดหนุนจากกองทุนพัฒนาฝีมือแรงงาน ให้ยื่นคำขอ ณ หน่วยงานของกรมพัฒนาฝีมือแรงงานที่ตั้งอยู่ในจังหวัด ที่สถานประกอบกิจการหรือศูนย์ทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานตั้งอยู่ กรุงเทพมหานคร สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน 13 กรุงเทพมหานคร จังหวัดอื่น สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน หรือสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ กองส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน โทร. 0 2643 6039 ดาวน์โหลดเอกสารได้ที่ : www.dsd.go.th/sdpaa