อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
Advertisements

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ติดตั้งอุปกรณ์เครือข่าย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่องกำหนด โปรโตคอลที่ต้องการใช้ในเครือข่าย ครูปนัดดา กองมนต์ รายวิชา อินเทอร์เน็ตและการสร้างเว็บ.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ จัดทำโดย นาย ปรัชญา สิทธิชัยวงค์ ชั้น 4/6 เลขที่ 23 น. ส. สัตตบงกช ศรีวิชัย ชั้น 4/6 เลขที่ 22 จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน.
จัดทำโดย ด. ญ. ศศิปภา มณีขัติย์ ชั้น 2/6 เลขที่ 4.
การดำเนินงานด้าน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ คอมพิวเตอร์ ปีงบประมาณ 2551 กองบำรุงพันธุ์สัตว์
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
อินเตอร์เน็ต (Internet)
3 กลุ่มของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมต่อเข้าด้วยกัน 3 สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูล และใช้อุปกรณ์ต่างๆ เช่น ดิสก์ เทป เครื่องพิมพ์ ร่วมกันได้ 3 เครือข่ายท้องถิ่น.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Internet. Internet Inter Connection Network เชื่อมโยงเครื่องหลายล้านเครื่อง ทั่วโลก เข้าด้วยกัน เสมือนใยแมงมุม ที่ครอบคลุมทั่วโลก หน่วยงานรัฐ เอกชน หรือสารธารณะ.
ac.th. WWW (World Wide Web) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ถึงกันทั่ว โลก โดยใช้โปรโตคอลที่ชื่อว่า TCP/IP.
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ac.th. WWW (World Wide Web) ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ถึงกันทั่ว โลก โดยใช้โปรโตคอลที่ชื่อว่า TCP/IP.
ความหมายของอินเตอร์เน็ต ความเป็นมาของอินเตอร์เน็ต อินเตอร์เน็ตในไทย ประโยชน์ของอินเตอร์เน็ต มารยาทการใช้อินเตอร์เน็ต อยากใช้อินเตอร์เน็ตต้องมีอะไร.
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายสังคมออนไลน์
การสื่อสารข้อมูล.
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โปรแกรมประยุกต์ หลายชนิด มีการทำงานร่วมกันระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ ที่ต่ออยู่ในเครือข่าย โดยอาศัยเครือข่ายเป็น สื่อกลาง ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและกัน.
พัฒนาการสื่อใหม่ ( เวปไซต์และสังคมออนไลน์ ). เวปไซต์คือ ?
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
ครูสุนทร ยี่สุ้น จบการศึกษา : วิศวคอมพิวเตอร์ Website : 1.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
Case Study.
Chapter 2 สถาปัตยกรรมเครือข่าย (Network Architecture)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
IP-Addressing and Subneting
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
IP-Addressing and Subneting
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 6 : Firewall Part1 สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูล
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
ประเภทของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
เริ่มต้นด้วยอินเทอร์เน็ต
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 1 : Introduction to Data Communication and Computer Network Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
.:ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เข้าใจตน เข้าใจสาขา นายจิรภัทร ผดุงกิจ.
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : แบบจำลองเครือข่าย (Network Models) Part2 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
SMS News Distribute Service
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 1 : การสร้างการเชื่อมต่อบนอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
เครือข่ายสารสนเทศ ครั้งที่ 2 แบบจำลองเครือข่าย
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
บทที่ 5 ปฏิบัติการที่ 5.2 : การสร้างแผ่นพับด้วย MS Publisher
พื้นฐานเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 3 : การตั้งค่าอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย วค101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร
บทที่ 5 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสาร Part2
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com บทที่ 7 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ apipong.ping@gmail.com

Outline ทำความรู้จักกับ TCP/IP และ อินเทอร์เน็ต ประวัติโดยย่อของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เครือข่ายระดับสากล (Internetworking) ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ค (Network Layer) Internetwork Protocol (IP)

ทำความรู้จักกับ TCP/IP และ อินเทอร์เน็ต TCP/IP (Transmission Control Protocol/Internetworking Protocol) คือชุด โปรโตคอล (Protocol Suite) ที่พัฒนาขึ้นมา สำหรับแลกเปลี่ยนข้อมูลบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต TCP/IP เป็นโปรโตคอลที่ได้รับความนิยมสูง ประกอบไปด้วยชุดของโปรโตคอลหลายๆตัว ที่แบ่ง ความรับผิดชอบออกเป็นชั้นๆ เรียกว่า Protocol Stack

ทำความรู้จักกับ TCP/IP และ อินเทอร์เน็ต [2] เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายสาธารณะที่ ผู้คนทั่วไปสามารถใช้บริการได้ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายขนาดมหึมา มี จำนวนโฮสต์เชื่อมต่ออยู่มากมายหลายล้านโฮสต์ มี เครือข่ายหลายพันหลายหมื่นเครือข่ายเชื่อมโยงเข้า ด้วยกัน ซึ่งมีคอมพิวเตอร์หลากหลายระดับ หลาย ประเภท และมีรูปแบบการเชื่อมต่อมากมาย การใช้ชุดโปรโตคอล TCP/IP จะทำให้โฮสต์และ เครือข่ายที่มีความหลากหลายสามารถเชื่อมต่อ สื่อสารกันได้ โดยมุมมองของ TCP/IP จะมองใน รูปแบบ ลอจิคัลเน็ตเวิร์ค (Logical Network) เสมือนเป็นเครือข่ายเดียว

ประวัติโดยย่อของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต : ARPANET เกิดขึ้นจากโครงการ Advanced Research Project Agency Network (ARPANET) ในปี 1969 โดยกระทรวงกลาโหมของสหรัฐอเมริกา ซึ่ง เป็นเครือข่ายที่ใช้งานด้านความมั่นคงในการปกป้อง ประเทศ โครงการ ARPANET สร้างขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อให้นักวิทยาศาสตร์ที่วิจัยเทคโนโลยีด้าน การทหารตามพื้นที่ต่างๆที่ห่างไกลกัน สามารถ แลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้ 2) เครือข่ายจะยังสามารถสื่อสารกันได้ แม้ว่าจะถูก โจมตีด้วยอาวุธนิวเคลียร์ก็ตาม

ประวัติโดยย่อของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต : ARPANET [2] ARPANET เป็นเครือข่ายระดับ WAN ที่ประกอบ ไปด้วยคอมพิวเตอร์ที่เป็นศูนย์กลางอยู่ 4 เครื่อง ที่ตั้งอยู่ตามมหาวิทยาลัยต่างๆ คือ University of California, Los Angeles (UCLA) University of California, Santa Barbara (UCSB) University of Utah (UTAH) Stanford Research Institute (SRI) ทำการเชื่อมต่อโดยใช้สายสื่อสารความเร็วสูง

ARPANET ก้าวแรกของ Internet

ประวัติโดยย่อของเครือข่ายอินเทอร์เน็ต : Internet หลังจากเครือข่าย ARPANET เริ่มได้รับความนิยม หน่วยงานต่างๆได้มีการพัฒนาเครือข่ายเพื่อใช้ใน หน่วยงานของตน เริ่มมีการเชื่อมโยงเครือข่ายด้วยโปรโตคอล TCP/IP เปลี่ยนแปลงจากเครือข่ายเฉพาะกลุ่มมาเป็น เครือข่ายสาธารณะที่เรียกว่า Internet ประเทศไทยได้ริเริ่มใช้อินเทอร์เน็ตในปี พ.ศ.2530 และสามารถเชื่อมต่ออย่างสมบูรณ์ในปี พ.ศ. 2535 ด้วยการเชื่อมต่อระหว่างสถาบันอุดมศึกษาใน ประเทศไทยกับสหรัฐอเมริกา จากนั้นมีการพัฒนา เครือข่ายมาอย่างต่อเนื่อง

เครือข่ายระดับสากล (Internetworking)

ชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์ค (Network Layer)

การทำงานของชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์คที่ต้นทางและปลายทาง

การทำงานของชั้นสื่อสารเน็ตเวิร์คที่เราเตอร์

Internetwork Protocol (IP) IP เป็นกลไกการส่งข้อมูลในลักษณะ Connectionless และปล่อยให้ชั้นสื่อสารที่อยู่ เหนือกว่าทำหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล IP จะมีหน้าที่เพียงแค่ส่งข้อมูลไปยังปลายทางด้วย IP Address โปรโตคอล IP จึงต้องทำงานร่วมกับโปรโตคอล TCP เพื่อรับประกันว่าข้อมูลจะส่งไปถึงปลายทางได้ อย่างแน่นอน IP เปรียบได้กับการส่งจดหมายธรรมดา TCP เปรียบได้กับการส่งจดหมายแบบลงทะเบียน

IP Datagram