การไทเทรตแบบตกตะกอน ดร.อัญชนา ปรีชาวรพันธ์.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย เสาวนีย์ หีตลำพูน คศ.3 โรงเรียนปะทิววิทยา จังหวัดชุมพร
Advertisements

สมดุลเคมี.
ผลของหมู่แทนที่หมู่แรกต่อปฏิกิริยาแทนที่ของเบนซีน
ปฏิกิริยาจัดเรียงตัว
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ชนิดของปฏิกิริยาเคมี
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
ความเข้มข้นของสารละลาย (Solution concentration)
ธาตุในตารางธาตุ Chaiwat Chueamang.
ครูวิชาการสาขาเคมี โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
บทที่ 8 Carboxylic acids and Derivatives
บทปฏิบัติการที่ 5 PLANT TISSUE ANALYSIS.
ว เคมีพื้นฐาน พันธะเคมี
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน
Effect of Temperature dH = H dT = CpdT T Constant presure
การทดลองที่ 3 ปฏิบัติการเคมีทั่วไป I
การย่อยสลายสารพาราควอทที่ปนเปื้อนในน้ำ ด้วยปฏิกิริยาโฟโตคะตะไลซิส
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2559 อาหาร สิ่งแวดล้อม เคมี ฟิสิกส์ สอบเทียบ.
Dr. Wongsakorn Boonkarn Medicine
ธาตุกัมมันตรังสี (Radioactive Element)
ปริมาณสารสัมพันธ์ Stoichiometry.
สารละลาย(Solution).
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
5. ของแข็ง (Solid) ลักษณะทั่วไปของของแข็ง
พลังงานกับการเกิดสารประกอบไอออนิก
Water and Water Activity I
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
กรด-เบส Acid-Base.
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
เคมีเพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา ๒๕๕๘
การจัดการดินและปุ๋ยสำหรับผักสวนครัว
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
Covalent B D O N.
ธาตุอาหารพืช (Plant Nutrient).
คำแนะนำและขั้นตอน; การเพิ่มข้อมูลขนาดสินค้า SKU ใหม่
สมดุลเคมี (Chemical Equilibrium)
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
สารละลาย(Solution).
กระบวนการที่แยก Analyte และ Matrix ออกจากกัน
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
การจำแนกสาร ครูปฏิการ นาครอด.
(Introduction to Soil Science)
รายการวัสดุอ้างอิง (RM) และตัวอย่างควบคุม (Qc sample) สำหรับห้องปฏิบัติการ NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it.
อุตสาหกรรมการผลิตและ การใช้ประโยชน์จากโซเดียมคลอไรด์
ดร. อุษารัตน์ รัตนคำนวณ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
กรด - เบส ครูกนกพร บุญนวน.
การจำแนกสารรอบตัว โดย ครูวนิดา สวนดอกไม้
แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
สมดุลเคมี.
พันธะเคมี (Chemical Bonding).
/ Soil Fertility and Plant Nutrition
สารประกอบโคเวเลนต์ เกิดจากอะตอมของอโลหะ กับ อโลหะ
สารละลายกรด-เบส.
อ.ณัฐวัฒน์ ธนสารโชคพิบูลย์
ปัจจัยต่างๆเกี่ยวกับเทคโนโลยีและการพัฒนา ที่มีผลกระทบกับทรัพยากร
สมบัติของ สารละลายกรดเบส
อุทธรณ์,ฎีกา.
เลขออกซิเดชัน 5. ธาตุออกซิเจนในสารประกอบทั่วไปจะมีเลขออกซิเดชัน -2
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2562
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
นิยาม แรงลอยตัว คือ ผลต่างของแรงที่มาดันวัตถุ
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2561
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
X สัญลักษณ์นิวเคลียร์ A Z
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 2
การกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชา ว21101
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การไทเทรตแบบตกตะกอน ดร.อัญชนา ปรีชาวรพันธ์

การไทเทรตแบบตกตะกอน ส่วนใหญ่เป็นการหาปริมาณของสารโดยอาศัยAg+ เป็นสารละลายมาตรฐานเพื่อหาปริมาณของสารอื่นที่สามารถเกิดตะกอนที่ละลายได้ยากในน้ำกับ Ag+ หรือที่เรียกว่า อาร์เยนติมิตรี (Argentimetry) สารที่สามารถหาปริมาณได้ด้วยวิธีนี้ได้แก่ Cl- Br- I- SCN- เป็นต้น

กราฟไทเทรชันสำหรับปฏิกิริยาที่เกิดตะกอน กราฟไทเทรชันที่ได้จากค่า p-value (-log [A]) ของไอออนที่เป็นองค์ประกอบของตะกอนกับปริมาตรของสารละลายที่เป็นตัวไทแทรนต์ (Titrant) ทำให้เราสามารถมาวิเคราะห์หาอินดิเคเตอร์ที่เหมาะสม ทราบถึงความคลาดเคลื่อนที่อาจจะเกิดขึ้นในการไทเทรตตามทฤษฎีกราฟไทเทรชันที่สร้างขึ้นจากการคำนวณ โดยอาศัยค่าคงที่ของสารละลาย (Ksp) ของตะกอน จะให้ผลใกล้เคียงกับกราฟไทเทรชันที่ได้จากการทดลองจริงๆ มาก

กราฟไทเทรชันสำหรับปฏิกิริยาที่เกิดตะกอน การคำนวณเพื่อสร้างกราฟไทเทรชัน โดยจะแบ่งการคำนวณออกเป็น 3 บริเวณ คือ บริเวณก่อนถึงจุดสมมูล ที่จุดสมมูล บริเวณหลังจุดสมมูล

Ag+(aq) + Cl-(aq) AgCl(s) ตัวอย่าง ในการไทเทรตสารละลาย 0.100M NaCl ปริมาตร 50.00 cm3 ด้วยสารละลาย 0.100M AgNO3 จงคำนวณหา pAg และ pCl ของสารละลายเมื่อเติมสารละลาย AgNO3 ลงไป 0.00 10.00 49.95 และ 52.25 cm3 ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น Ag+(aq) + Cl-(aq) AgCl(s) Ksp = [Ag+] [Cl-] = 1.82  10-10 ---(1) หาปริมาตรที่สมดุล จน.โมลของ Ag+ 1 V[Ag+] = M[Cl-]V[Cl-] จน.โมลของ Cl- 1 M[Ag+] จน.โมลของ Ag+ = จน.โมลของ Cl- V[Ag+] = 0.1 50 MV MV 0.1 1000 1000 V[Ag+] = 50 cm3 = = [Ag+] [Cl-]

ที่จุดเริ่มต้น [Cl-] = 0.100 pCl = -log(0.100) = 1.00 [Ag+] = 0 pAg = หาไม่ได้

ที่จุดเมื่อเติม 10.00 cm3 0.100 M AgNO3 ลงไป [Cl-]รวม = [Cl- ](ที่เหลือ) + [Cl-] (ที่มาจากการแตกตัวของ AgCl) = [Cl-] (ที่เหลือ) + [Ag+] n(Cl-ทั้งหมด) – n(Cl-ที่เกิดตะกอน)  1000 V(รวม) = + [Ag+] = 6.67  10-2 + [Ag+] ถ้าสมมุติให้ [Ag+] << 6.67  10-2 เราจะได้ [Cl-] = 6.67  10-2 แทนค่าลงในสมการ (1) [Ag+] = 1.82  10-10 [Cl-] 1.82  10-10 6.67  10-2 = 2.73  10-9 + [Ag+] = เป็นจริงที่ [Ag+] << 6.67  10-2 =

ดังนั้น [Ag+] << 6.67  10-2 จริง ตามสมมุติ pAg = -log 2.73  10-9 = 8.57 pCl = -log 6.67  10-2 = 1.17 ในระบบที่มี Ag+ และ Cl- อยู่ในสารละลายและอยู่ในสมดุลกับตะกอน AgCl เราจะได้ [Ag+][Cl-] = Ksp pAg + pCl = pKsp = -log 1.82  10-10 = 9.74 จากผลการคำนวณ เราจะได้ pAg + pCl = 8.57 + 1.17 = 9.74

ที่จุดเมื่อเติม 49.95 cm3 เติม 0.100 M AgNO3 ลงไป [Cl-]รวม = [Cl- ](ที่เหลือ) + [Cl-] (ที่มาจากการแตกตัวของ AgCl) = [Cl-] (ที่เหลือ) + [Ag+] n(Cl-ทั้งหมด) – n(Cl-ที่เกิดตะกอน)  1000 V(รวม) = + [Ag+] = + [Ag+] = 5.00  10-5 + [Ag+] ถ้าสมมุติให้ [Ag+] << 5.00  10-5 เราจะได้ [Cl-] = 5.00  10-5 แทนค่าลงในสมการ (1) [Ag+] = 1.82  10-10 [Cl-] 1.82  10-10 5.00  10-5 [Ag+] = 3.64  10-6 = + [Ag+] [Ag+] มีค่าประมาณ 7% ของ 5.00  10-5 =

เราอาจคิดว่า [Ag+] << 5.00  10-5 จะให้ผลไม่ถูกต้องมากนัก ถ้าต้องการผลที่ถูกต้องมากกว่านี้ เราต้องหา [Cl-] จากสมการ จากสมการที่ (1)

- ที่จุดเมื่อเติม 50. 00 cm3 เติม 0 - ที่จุดเมื่อเติม 50.00 cm3 เติม 0.100 M AgNO3 ลงไป (จุดที่ทำปฏิกิริยาพอดี) [Ag+] [Cl-] = Ksp [Ag+] = [Cl-] = (Ksp)1/2 - log [Ag+] = -log [Cl-] = -log (Ksp)1/2 pAg = pCl = (½) pKsp = (1/2)(-log 1.82  10-10) = 4.87

ที่จุดเมื่อเติม 52.50 cm3 เติม 0.100 M AgNO3 ลงไป (จุดที่ Ag+ เหลือ) [Ag+]รวม = [Ag+ ](ที่เหลือ) + [Ag+] (ที่มาจากการแตกตัวของ AgCl) = + [Cl-] = 2.44  10-3 + [Cl-] ถ้าสมมุติให้ [Cl-] << 2.44  10-3 เราจะได้ [Ag+] = 2.44  10-3 แทนค่าลงในสมการ (1) [Cl-] = 1.82  10-10 2.44  10-3 [Cl-] = 7.46  10-8 ดังนั้น [Cl-] << 2.44  10-3 จริง การตั้งสมมุติดังกล่าวใช้ได้ pAg = - log 2.44  10-3 = 2.62 pCl = - log 7.46  10-8 = 7.12 =

ตารางผลการคำนวณจากการไทเทรตสารละลาย 0. 1 M NaCl ปริมาตร 50 ตารางผลการคำนวณจากการไทเทรตสารละลาย 0.1 M NaCl ปริมาตร 50.00 cm3 ด้วยสารละลาย 0.1 M AgNO3 (Ksp ของ AgCl = 1.82  10-10) ปริมาตรของ 0.1 M AgNO3 (cm3) [Ag+] [Cl-] pAg pCl 0.00 0.1 - 1.00 10.00 2.73  10-9 6.67  10-2 8.57 1.17 49.50 3.62  10-7 5.03  10-4 6.44 3.30 50.00 1.35  10-5 4.87 52.50 2.44  10-3 7.46  10-8 2.62 7.12

2Ag+(aq) + CrO42-(aq) Ag2CrO4(s) ตัวอย่าง สารละลาย 0.0600 M K2CrO4 ปริมาตร 50.0 cm3 ไทเทรตกับสารละลาย 0.1 M AgNO3 จงคำนวณหา pAg ของสารละลายที่ (Ksp ของ Ag2CrO4 = 1.1  10-12) ก. ที่จุดสมมูล ข. ณ จุดที่เหลืออีก 1.0 cm3 ก่อนถึงจุดสมมูล ค. ณ จุดที่เลยจุดสมมูลไปแล้ว 1.0 cm3 ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น 2Ag+(aq) + CrO42-(aq) Ag2CrO4(s) Ksp = [Ag+]2 [CrO42-] = 1.1  10-12 ---(2) ก. ที่จุดสมมูล จน.โมลของ Ag+ 2 V[Ag+] = 2 M[CrO42-]V[CrO42-] จน.โมลของ CrO42- 1 M[Ag+] จน.โมลของ Ag+ = 2 จน.โมลของ CrO42- V[Ag+] = 2 (0.06 50) MV 2 MV 0.1 1000 1000 V[Ag+] = 60 cm3 = [Ag+] [CrO42-]

[CrO42-] = (½)[Ag+] แทนค่าในสมการ (2) [Ag+]2  (1/2) [Ag+] = 1.1  10-12 [Ag+]3 = 2.2  10-12 [Ag+] = 1.3  10-4 pAg = -log [Ag+] = 3.9

ข. จุดที่เมื่อเติม 1.0 cm3 ของสารละลาย AgNO3 แล้วถึงจุดยุติ (คือจุดที่ใช้สารละลาย AgNO3 ไป 59.0 cm3 [CrO42-] รวม = [CrO42-] (ที่เหลือ) + [CrO42-] (ที่มาจากการแตกตัวของ Ag2CrO4) = [CrO42-] (ที่เหลือ) + (1/2)[Ag+] n(CrO42-ทั้งหมด) – n(CrO42-ที่เกิดตะกอน)  1000 V(รวม) = + (1/2)[Ag+] = + (1/2)[Ag+] = 4.60  10-4 + (½)[Ag+] = (½)n(Ag+ ที่เติม) = + (1/2)[ Ag+]

ถ้าสมมุติให้ (1/2)[Ag+] << 4. 6  10-4 เราจะได้ [CrO42-] = 4 4.6  10-4 [Ag+] = 4.9  10-5 (1/2)[Ag+] = 2.5  10-5 มีค่าประมาณ 5% ของ 4.6  10-4 ดังนั้น สมมติให้ (1/2)[Ag+] << 4.6  10-4 ใช้ได้ pAg = -log 4.9  10-5 = 4.3

= [Ag+](ที่เหลือ) + 2 [CrO42-] = + 2 [CrO42-] ค. ณ จุดที่เลยจุดสมมูลไปแล้ว 1.0 cm3 (คือจุดที่ใช้สารละลาย AgNO3 ไป 61.0 cm3 และ Ag+) [Ag+] รวม = [Ag+](ที่เหลือ) + [Ag+](ที่มาจากการแตกตัวของ Ag2CrO4) = [Ag+](ที่เหลือ) + 2 [CrO42-] = + 2 [CrO42-] = 9.0  10-4 + 2 [CrO42-]

ถ้าสมมุติให้ 2 [CrO42-] << 9. 0  10-4 เราจะได้ [Ag+] = 9 pAg = -log 9.0  10-4 = 3.1

ปัจจัยที่มีผลต่อกราฟไทเทรชัน 1. ความเข้มข้นของสารที่ทำปฏิกิริยากัน การเปลี่ยนแปลงค่า pAg อย่างฉับพลันเห็นได้ชัดในบริเวณใกล้จุดสมดุล การเปลี่ยนแปลงแบบนี้จะยิ่งเห็นได้ชัดขึ้นถ้าความเข้มข้นของสารที่ทำปฏิกิริยากันสูงขึ้น ซึ่งจะมีผลทำให้การหาจุดยุติได้ง่ายขึ้น Titration curve for A, 50.00 mL of 0.050 M NaCl with 0.100 M AgN03 B, 50.00 mL of 0.005 M NaCl with 0.010 M AgN03

2. การละลายของตะกอนซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการไทเทรตนั้น จะส่งผลถึงการทำปฏิกิริยาของตัวทำปฏิกิริยาว่าเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์มากน้อยแค่ไหน ถ้าการละลายของตะกอนที่เกิดขึ้นมีค่าน้อย การทำปฏิกิริยาของตัวทำปฏิกิริยาก็จะสมบูรณ์ขึ้น Effect of reaction completeness on precipitation titration curves. For each curve. 50.00 mL of a 0.0500 M solution of the anion was titrated with 0.1000 M AgN03 , Note that smaller values of Ksp give much sharper breaks at the end point.

3. การดูดซับ (Adsorption) ไอออนในสารละลายบนตะกอน จากกราฟที่ผ่านมาเราคำนวณจากค่า Ksp ของตะกอนไม่คำนึงการดูดซับไอออนบนตะกอน ในความเป็นจริงแล้ว ถ้าเกิดการดูดซับไอออนบนตะกอน จะทำให้กราฟไทเทรชันผิดแปลกไปจากที่ได้แสดงไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกราฟบริเวณใกล้จุดยุติ การเปลี่ยนแปลงค่าโดยฉับพลันของกราฟบริเวณนั้นแสดงให้เห็นชัดเจนน้อยกว่าที่ควรจะเป็น

4. ชนิดของตะกอน กราฟไทเทรชันจะมีรูปร่างสมมาตรกันในกราฟที่ผ่านมา การไทเทรตที่เกิดตะกอนแบบ AgCl หรือ BaSO4 แต่การไทเทรตที่เกิดตะกอนอย่างเช่น Ag2CrO4 กราฟไทเทรชันจะไม่สมมาตร และส่วนที่เปลี่ยนแปลงค่าโดยฉับพลันของกราฟก็จะไม่ทับจุดสมมูล แต่อย่างไรก็ดี ถ้าเป็นการไทเทรตที่เกิดตะกอนค่อนข้างละลายได้ยาก ส่วนเปลี่ยนแปลงค่าฉับพลันของกราฟกับจุดสมมูลจะใกล้เคียงกันมาก

เคอร์ฟของการไทเทรตสารละลายผสม ตัวอย่างการไทเทรต 50.00 cm3 ของสารละลายผสมระหว่าง 0.08 M ไอโอไดด์ไอออน (I-) กับ 0.10 M คลอไรด์ไอออน (Cl-) ด้วย 0.20 M AgNO3 เนื่องจากค่าการละลาย AgI มีค่าน้อยกว่าการละลายของ AgCl มาก ดังนั้นในการเติมสารละลาย AgNO3 จะส่งผลให้เกิดตะกอนของ AgI อย่างเดียวก่อน เมื่อคลอไรด์เริ่มตกตะกอนในระบบจะมีตะกอน 2 ชนิดคือ AgI และAgCl อยู่ในสมดุลกับสารลายที่ประกอบด้วย Ag+, I- และ Cl- Ksp=8.3  10-17 Ksp=1.82  10-10

จากความสัมพันธ์ระหว่างค่าผลคูณของการละลายของตะกอนทั้งสอง ---(3) ที่จุดสมมูลของ [I-] โดยประมาณ จน.โมลของ Ag+ 1 V[Ag+] = M[I-]V[I-] จน.โมลของ I- 1 M[Ag+] จน.โมลของ Ag+ = จน.โมลของ I - V[Ag+] = (0.08 50) MV MV 0.2 1000 1000 V[Ag+] = 20 cm3 = [Ag+] [I-]

การเริ่มตกตะกอนของคลอไรด์จะเกิดขึ้นบริเวณที่ใกล้จุดสมมูลของไอโอดด์มากที่สุด นั้นก็คือ ณ จุดที่เติมสารละลาย AgNO3 ลงไป 20.0 cm3 และความเข้มข้นของคลอไรด์จะเปลี่ยนไปเป็น [I-] ที่เหลืออยู่แทนค่าใน (3) [I-]ที่เหลือ = 4.56  10-7  0.0714 = 3.26  10-8 M % I- ที่ไม่ตกตะกอนสามารถคำนวณได้ ดังนี้ จน.โมลของ I- เริ่มต้น = 50.00  0.08 = 4.00 โมล จน.โมลของ I- ที่เหลือ = 70.00  (3.26  10-8) = 2.28  10-6 โมล %I- ที่ไม่ตกตะกอน = (2.28  10-6)  100 = 5.7 10-5 % 4.00

เมื่อคลอไรด์เริ่มถูกไทเทรต [Cl-] = 0.0714 [Ag+] = (1.82  10-10)/0.0714 = 2.55  10-9 pAg = - log 2.55  10-9 = 8.59 เมื่อเติม AgNO3 ไปเป็นจำนวน 25.00 cm3 [Cl-] = [(50.0  0.10) + (50.0  0.08)] – (25.00  0.20) 75.0 [Cl-] = 0.0533 M [Ag+] = (1.82  10-10)/0.0533 =3.41  10-9 pAg = 8.47

การไทเทรต 50.00 cm3 ของสารผลม I- + Cl- และ Br- + Cl- ด้วย AgNO3 ปริมาตรของ 0.20 M AgNO3 (cm3) การไทเทรต 50.00 cm3 ของสารผลม I- + Cl- และ Br- + Cl- ด้วย AgNO3

อินดิเคเตอร์สำหรับการไทเทรตแบบตกตะกอน สารเคมีที่ใช้เป็นอินดิเคเตอร์จะต้องเป็นสารที่มีสี หรือเกิดสารที่มีสีกับสารที่เป็นตัวทำปฏิกิริยาหรือผลิตภัณฑ์ที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาไทเทรต ถ้าเราสมมติให้ x เป็นสารที่ทำปฏิกิริยากับสาร Y แล้วเกิดตะกอน XY X(aq) + Y(aq) XY(s) และให้ In เป็นอินดิเคเตอร์สามารถทำปฏิกิริยากับสาร X จะได้ X(aq) + In(aq) InX

อินดิเคเตอร์ที่ดีนั้นควรมีสมบัติดังนี้ 1. In และ InX จะต้องมีรูปร่างแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดเจน เช่นมีสีแตกต่างกัน 2. ความเข้มข้นของอินดิเคเตอร์ที่ใช้ในสารละลาย จะต้องค่าน้อยมากเมื่อเทียบกับความเข้มข้นของ X และ Y 3. ค่าคงที่ของสมดุลของปฏิกิริยาระหว่างอินดิเคเตอร์กับสาร หรือ อัตราส่วนของ [In]/[InX] จะต้องเปลี่ยนจากมากไปหาน้อย ในขณะที่มีการเปลี่ยนแปลง [X] หรือ pX ในบริเวณใกล้จุดสมมูล

อินดิเคเตอร์ที่เกิตะกอนที่มีสีโดยวิธีของโมฮร์ ใช้หาปริมาณของคลอไรด์ไอออนและโบรไมด์ไอออนในสารละลาย ด้วยการไทเทรตกับสารละลาย AgNO3 ใช้โครเมตไอออนเป็นอินดิเคเตอร์ จุดยุติจะเกิดขึ้นเมื่อเริ่มได้ตะกอนสีแดงอิฐของซิลเวอร์โครเมต, Ag2CrO4 สารตัวอย่าง สารละลายมาตรฐาน ตะกอนขาว ที่มากเกินพอ อินดิเคเตอร์ ตะกอนสีแดงอิฐ

ตามทฤษฎีถ้าคลอไรด์ตกตะกอนอย่างสมบูรณ์ Cl- จะถูกเปลี่ยนเป็น AgCl หมด ดังนั้นที่จุดสมมูลในสารละลายจะประกอบด้วย [Ag+] = [Cl-] = (Ksp ของ AgCl)1/2 [Ag] = (1.82  10-10)1/2 = 1.35  10-5 ณ จุดนี้โครเมตไอออนในสารละลายจะต้องตกตะกอนเป็น Ag2CrO4 ทันที เราจะมาหาความเข้มข้นของโครเมตไอออนในสารละลายในขณะนั้นมีค่าเท่าไร จึงจะเริ่มตกตะกอนดังกล่าว จากสมการที่ (2) Ksp = [Ag+]2 [CrO42-] = 1.1  10-12 ---(2) [CrO42-] = 1.1  10-12 = 6.0  10-3 (1.35  10-5)2

ความเข้มข้นของโครเมตไอออนต้องใช้ 6 ความเข้มข้นของโครเมตไอออนต้องใช้ 6.0  10-3M สำหรับการทำให้เกิดตะกอน Ag2CrO4 นับได้ว่าเป็นความเข้มข้นที่สูงมาก ทำให้การดูสีของตะกอน Ag2CrO4 ที่ปนกับ AgCl ที่จุดยุติได้ลำบากมาก ในทางปฏิบัติใช้ความเข้มข้นของโครเมตไอออนประมาณ 2.5  10-3M ซึ่งการใช้ความเข้มข้นน้อยไปจากทฤษฎีส่งผลให้ [Ag+] ในสารละลายที่จุดยุติมีค่ามากกว่า 1.35  10-5M ทำให้ต้องใช้ปริมาตรของสารละลาย AgNO3 จากบิวเรตมากกว่าความเป็นจริง ปัญหาดังกล่าวจะมีผลต่อความเข้มข้นของตัวอย่างน้อยๆ ข้อแก้ไขสามารถทำได้โดยทำอินดิเคเตอร์แบลงก์ (Indicator Blank)

อินดิเคเตอร์แบลงก์ (Indicator Blank) ทำได้ 2 วิธี วิธีที่ 1 - ทำการไทเทรตสารละลายตัวอย่างในขวดรูปกรวย โดยใช้สารละลายโพแทสเซียมโครเมตเป็นอินดิเคเตอร์ จนตะกอนสีขาวที่ได้เริ่มมีตะกอนสีแดงปน จดปริมาตรของสารละลาย AgNO3 ที่ใช้ได้ (Vsample) - นำขวดรูปกรวยขนาดเดียวกันใส่ CaCO3 ที่ปราศจากคลอไรด์ลงไปให้มีปริมาณใกล้เคียงกับตะกอนในตัวอย่าง เติมน้ำกลั่นลงไปให้มีปริมาตรเท่ากับขวดตัวอย่าง เติมสารละลายโพแทสเซียมโครเมตเป็นอินดิเคเตอร์เท่ากับในขวดตัวอย่าง นำไปไทเทรตด้วยสารละลาย AgNO3 จนได้ตะกอนสีใกล้เคียงกับในขวดตัวอย่าง (Vblank) - ปริมาตรของสารละลาย AgNO3 ที่ทำปฏิกิริยาพอดีกับเฮไลด์ = Vsample- Vblank

อินดิเคเตอร์แบลงก์ (Indicator Blank) ทำได้ 2 วิธี วิธีที่ 2 - ไทเทรตหาความเข้มข้นของสารตัวอย่างโดยนำสารละลายมาตรฐานคลอไรด์ที่มีความเข้มข้นใกล้เคียงกับความเข้มข้นคลอไรด์ตัวอย่างละลาย AgNO3 จนได้สีของตะกอนใกล้เคียงกัน การหาปริมาณคลอไรด์โดยวิธีโมฮร์ สารละลายควรจะเป็นกลางหรือเบสอ่อนๆ (pH อยู่ในช่วง 7-10) โดยควบคุม pH ของสารละลายด้วยโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนต หรือบอแรกซ์

อินดิเคเตอร์ที่เกิดสารเชิงซ้อนที่มีสี โดยวิธีของโวลฮาร์ด ใช้สารละลายมาตรฐานไทโอไซยาเนตไอออนเป็นตัวไทแทรนต์เพื่อหาปริมาณของซิลเวอร์ไอออนในสารละลาย โดยใช้สารละลายไอร์ออน (III) (Fe3+)เป็นอินดิเคเตอร์ สารตัวอย่าง สารละลายมาตรฐาน ตะกอนขาว ที่มากเกินพอ อินดิเคเตอร์ สารละลายสีแดง ในสารละลายที่เป็นกลางหรือเป็นเบส Fe3+ จะตกตะกอนเป็นไฮดรอกไซด์ได้ ดังนั้นสารละลายที่นำมาไทเทรตต้องมีฤทธิ์เป็นกรด

ข้อดีสำหรับวิธีของโวลฮาร์ดคือ ใช้ในการหาปริมาณของเฮไลด์ในสารละลายโดยเติมสารละลาย AgNO3 ลงไปจนมีปริมาณมากเกินพอ แล้วนำสารละลายที่ได้ไปทำแบคไทเทรชัน (Black Titration) กับสารละลายมาตรฐานของ KSCN การไทเทรตสารละลายต้องมีฤทธิ์เป็นกรดแก่ จึงทำให้หาปริมาณของเฮไลด์ไอออนได้โดยปราศจากการรบกวนของไอออนอื่น เช่น คาร์บอเนต ออกซาเลต และอาร์ซีเนต ซึ่งไอออนเหล่านี้จะเกิดตะกอนกับซิลเวอร์ไอออนในสารละลายที่เป็นกลาง

วิธีแก้ข้อผิดพลาดจากไทเทรตไทโอไซยาเนตไอออนที่มากเกินความเป็นจริง วิธีที่ 1 ใช้อินดิเคเตอร์จำนวนมากที่สุดที่สามารถทำได้คือ 0.2 M ของ Fe3+ ที่จุดยุติ แทนที่จะใช้ 0.01 M ซึ่งจะทำให้ [SCN-] ที่จุดยุติมีค่าน้อยลงจนไม่แตกต่างกับความเป็นจริงเท่าไรนัก วิธีที่ 2 กรองเอาตะกอน AgCl ออกก่อนการทำแบคไทเทรชันกับสารละลายมาตรฐาน KSCN ข้อเสียการทำแบบนี้คือ เสียเวลาในการกรอง และเกิดการสูญเสีย Ag+ ในระหว่างกรองบางส่วน แคดเวลและโมเยอร์ ใช้วิธีเคลือบตะกอนซิลเวอร์คลอไรด์ในสารละลายไนโทรเบนซีนโดยการเติมไนโทรเบนซีนลงไปในสารละลายก่อนทำแบคไทเทรชัน ไม่ต้องกรองเอาตะกอน AgCl ออกจากสารละลายซึ่งให้ผลดี

แอดซอร์ปชันอินดิเคเตอร์ K. Fajan เป็นผู้ริเริ่มเอาอินดิเคเตอร์แบบนี้มาใช้ในการไทเทรตแบบตกตะกอน อินดิเคเตอร์เหล่านี้ส่วนใหญ่จะเป็นพวกกรดทางอินทรีย์ที่มีสี เช่น สารฟลูออเรสซีน (Fluorescein) และพวกเบสทางอินทรีย์เช่น สารโรดามีน (Rhodamine) Dichlorofluorescein, C19H9O3Cl2COOH เขียนย่อป็น HDf สารนี้เป็นกรดอ่อนแตกตัวได้ดังนี้

ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น ปฏิกิริยาของการไทเทรต การไทเทรตก่อนถึงจุดสมมูล ปฏิกิริยาที่จุดยุติ เขียว-เหลือง ชมพู เมื่อถึงจุดสมมูลของการไทเทรต และเติม Ag+ เกินอีกเล็กน้อย จะทำให้ตะกอนมีประจุบวก สามารถดูดซับอินดิเคเตอร์ได้ การไทเทรตย้อนกลับ

ตะกอนที่เกิดขึ้นและอินดิเคเตอร์ที่ใช้ต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ ตะกอนจะต้องไม่จับตัวกันเป็นก้อนใหญ่ ต้องกระจายอยู่เป็นคอลลอยด์ เพื่อให้มีพื้นที่ผิวในการดูดซับมากขึ้น เนื่องจากตะกอนจะจับตัวเป็นก้อนใหญ่ เมื่อการไทเทรตถึงจุดสมมูล ในการทดลองมีวิธีการแก้ไขปัญหานี้ได้โดยการเติม 5% สารละลายเดกซ์ทริน (Dextrin solution) ตะกอนต้องดูดซับคอมมอนไอออน ของมันได้ดีกว่าอินดิเคเตอร์ เพื่อป้องกันไม่ให้อินดิเคเตอร์ถูกดูดซับด้วยตะกอนก่อนถึงจุดสมมูล อินดิเคเตอร์ จะต้องมีคุณสมบัติที่ชอบอยู่ในชั้นเคาน์เตอร์ไอออน และเมื่อการไทเทรตถึงจุดสมมูล ก็จะเกิดเป็นสารประกอบที่มีการละลายต่ำกับคอมมอนไอออนของตะกอน อินดิเคเตอร์ที่ใช้คือไอออนลบของสีย้อมของสารอินทรีย์ที่มีฤทธิ์เป็นกรดอ่อน ดังนั้นความเข้มข้นของไอออนลบที่เป็นอินดิเคเตอร์จะขึ้นอยู่กับ pH ถ้าสารละลายเป็นกรดมากเกินไป จะทำให้กรดอ่อนแตกตัวได้น้อยก็จะเกิดไอออนลบที่จะนำมาใช้เป็นอินดิเคเตอร์ได้น้อย ดังนั้นการไทเทรตควรทำในสารละลายที่เป็นกลาง

อินดิเคเตอร์ที่สามารถถูกดูดซับบางตัว อินดิเคเตอร์ ion ที่ถูก ไทแทรนต์ เงื่อนไข ไทเทรต Dichlorofluoreacein Cl- Ag+ pH4 Fluorescein Cl- Ag+ pH7-8 Eosin Br-, I-, SCN- Ag+ pH2 Thorin SO42- Ba2+ pH1.5-3.5 Bromersol green SCN- Ag+ pH4-5 Methyl violet Ag+ Cl- Acid solution Rhodamin 6G Ag+ Br- Sharp in presence of HNO3 up to 0.3 M

การไทเทรตแบบตกตะกอนในงานด้านเคมีวิเคราะห์ การหาปริมาณโดยการไทเทรตแบบตกตะกอนกับสารละลายซิลเวอร์ไนเตรต สารที่ต้องการวิเคราะห์ วิธีวิเคราะห์ หมายเหตุ AsO43-, Br-, I-, CNO-, SCN-, โวลฮาร์ด ไม่ต้องแยกหรือคลุมตะกอน CO32-, CrO42-, CN-, Cl- C2O42-, PO43-, S2- โวลฮาร์ด ต้องแยกหรือคลุมตะกอน Br-, Cl- โมฮร์ Br-, Cl-, I-, SeO32- แอดซอร์ปชันอินดิเคเตอร์

การไทเทรตแบบตกตะกอนชนิดอื่นๆ นอกเหนือจากการใช้ AgNO3 สารที่ต้องการวิเคราะห์ สารที่ทำปฏิกิริยา ผลิตภัณฑ์ อินดิเคเตอร์ที่ใช้ Zn2+ K4Fe(CN)6 K2Zn3[Fe(CN)6]2 Diphenylamine SO42- Ph(NO3)2 PbSO4 Erythrosin B MoO42- Ph(NO3)2 PbMoO4 Eosin A PO43- Pb(AcO)2 Pb3(PO4)2 Dibromofluorescein C2O42- Pb(AcO)2 PbC2O4 Fluorescein F- Th(NO3)4 ThF4 Alizarin Red Cl-, Br- Hg2(NO3)2 Hg2Cl2, Hg2Br2 Bromphenol Blue