สถานการณ์ และแนวโน้มของการท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพ
สถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพในประเทศไทย 1. ภาพรวมของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในประเทศไทย 2. สถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพของ ประเทศไทย 3. สถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพในภูมิภาคอาเซียน
ภาพรวมของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในประเทศไทย จากความนิยมของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในประเทศไทย ทำให้คณะรัฐมนตรีได้ส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็น “ศูนย์กลางการดูแลรักษาสุขภาพของเอเชีย (Thailand : Center of Excellent Health Care of Asia)” เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2546 จากมติดังกล่าว ทำให้กระทรวงสาธารณสุขได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์และร่วมปฏิบัติงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพของเอเชีย
ภาพรวมของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในประเทศไทย จากนโยบายการส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางสุขภาพของเอเชีย ส่งผลให้การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของไทยขยายตัวอย่างต่อเนื่อง โดยแหล่งท่องเที่ยวและสถานบริการสุขภาพมักกระจุกตัวอยู่ในกรุงเทพฯ และเมืองท่องเที่ยวสำคัญ ประเทศไทยกลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับความนิยมสูงสุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รองลงมา คือ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย และเวียดนาม
ภาพรวมของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในประเทศไทย ด้านการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ ประเทศไทยมีโรงพยาบาลเอกชนที่มีศักยภาพรองรับชาวต่างชาติได้ 40 แห่งทั่วประเทศ และยังมีคลินิกเฉพาะทางอีก 17,396 แห่ง ซึ่งประมาณ 20% ได้ให้บริการแก่ชาวต่างชาติ ด้านธุรกิจสปาเพื่อสุขภาพและเสริมสวย และธุรกิจนวดแผนไทย ที่ขึ้นทะเบียนและผ่านการรับรองมาตรฐานมีจำนวน 1,076 แห่ง เป็นสปาที่ได้มาตรฐานระดับสากล 590 แห่ง ผู้ใช้บริการร้อยละ 80 เป็นชาวต่างชาติ นทท.ใช้บริการสปาประเภท Day Spa ร้อยละ 69 ประเภทโรงแรมและรีสอร์ท ร้อยละ 28 ประเภท Medical Spa ร้อยละ 2
ภาพรวมของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในประเทศไทย จากงานวิจัยของประเทศสิงคโปร์ พบว่า สปาของไทยมีการเติบโตสูงถึง 15.7% ซึ่งเป็นธุรกิจที่มีการเติบโตสูงที่สุด จากการประเมินรายได้การท่องเที่ยวของ ททท. คาดว่ารายได้จากบริการสปาไทย มีสัดส่วนประมาณ 3-4% ของรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งหมด จากความสำเร็จของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของไทย ส่งผลให้ ประเทศไทยได้รับการจัดอันดับในการครองอันดับ 1 ตลาดท่องเที่ยวเชิงสุขภาพทั่วโลกประจำปี 2556 ซึ่งจัดโดยนิตยสาร Patients Beyond Borders
สถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพของไทย ที่มา: กระทรวงพาณิชย์, 2555 ผ่าตัดหัวใจ ศัลยกรรม กระดูก ทันตกรรม ศัลยกรรมความงาม บริการที่ชาวต่างชาตินิยมในโรงพยาบาลเอกชนไทย
สถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพของไทย จากกระแสความใส่ใจในสุขภาพที่มีมากขึ้น ทำให้โรงพยาบาลเอกชนหันมาพัฒนาบริการด้านส่งเสริมสุขภาพ และด้านเสริมความงาม ศูนย์วิจัยกสิกรไทยได้สำรวจขนาดตลาดการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ของไทย สรุปว่า ร้อยละ 60 เป็นผู้ป่วยชาวต่างชาติ และมีการใช้จ่ายคิดเป็นมูลค่า 70,000 ล้านบาท นอกจากค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในโรงพยาบาลเอกชนแล้ว ยังมีการใช้จ่ายด้านการท่องเที่ยวของผู้ป่วยและผู้ติดตามด้วย
สถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพของไทย 45% ** ผู้ป่วยจะมีผู้ติดตามประมาณ 6.7 แสนคน**
สถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพของไทย 17,500 ล้านบาท
ตลาดเป้าหมายสำคัญของการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ของไทย ญี่ปุ่น ชาวญี่ปุ่นเข้ามาทำงานในประเทศไทยและประเทศใกล้เคียงจำนวนมาก รัฐบาลญี่ปุ่นอนุญาตให้ประชาชนเบิกค่ารักษาพยาบาลในโรงพยาบาลต่างประเทศได้
ตลาดเป้าหมายสำคัญของการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ ของไทย ตะวันออกกลาง มีกำลังซื้อสูงแต่ประสบปัญหาการขอวีซ่าเข้าอเมริกา และหลายประเทศในยุโรป คู่แข่งสำคัญของไทยสำหรับลูกค้ากลุ่มนี้คือ ประเทศมาเลเซีย
ตลาดเป้าหมายสำคัญของการท่องเที่ยวเชิงการแพทย์ ของไทย กลุ่มสแกนดิเนเวีย และประเทศต่างๆ รอบประเทศไทย กลุ่มเป้าหมายกลุ่มนี้ให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพ ประกอบกับในอนาคตจะมีการร่วมมือกันในการเปิดเสรีภาคบริการ ทำให้นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้ต้องการใช้บริการสุขภาพที่มีศักยภาพนอกประเทศของตนมากขึ้น
ปัจจัยที่ทำให้ไทยเป็นเป้าหมายของการท่องเที่ยว เชิงการแพทย์ ไทยมีโรงพยาบาลที่มีคุณภาพมาตรฐาน และเป็นที่ยอมรับจากนานาชาติ 2. การให้บริการผู้ป่วยเหมือนกับการให้บริการในโรงแรมห้าดาว
ปัจจัยที่ทำให้ไทยเป็นเป้าหมายของการท่องเที่ยว เชิงการแพทย์ 3. ไทยให้บริการที่มีราคาต่ำกว่าหลายประเทศ ในบริการระดับเดียวกัน 4. ไทยมีเทคโนโลยี กระบวนการรักษาที่หลากหลาย และมีผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์
ปัจจัยที่ทำให้ไทยเป็นเป้าหมายของการท่องเที่ยว เชิงการแพทย์ 5. ไทยเป็นประเทศที่ดีและมีเสน่ห์ รวมทั้งได้รับการผ่อนคลายจากการท่องเที่ยว จนได้รับการกล่าวขานจากชาวต่างชาติว่า “Thailand is a best place of Amazing for Relaxation”
สถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพในภูมิภาคอาเซียน สถานการณ์ด้านรายได้ของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพตลาดอาเซียน ในปี 2555 มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เข้ามาใช้บริการสุขภาพในประเทศไทย ประมาณ 1.48 ล้านคน ในจำนวน 1.48 ล้านคนนั้น เป็นผู้ป่วยชาวอาเซียนประมาณ 8.14 หมื่นคน และมีค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพในโรงพยาบาลเอกชนของไทยคิดเป็น 2,500 ล้านบาท
สถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพในภูมิภาคอาเซียน สถานการณ์ด้านรายได้สำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของตลาดอาเซียน 2.44หมื่นคน
สถานการณ์การท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพในภูมิภาคอาเซียน สถานการณ์ด้านรายได้สำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของตลาดอาเซียน 800 ล้านบาท 1530 ล้านบาท
ความท้าทายของตลาดอาเซียนสำหรับการท่องเที่ยว เชิงบำบัดรักษาสุขภาพ ขยายตลาดนักท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพในภูมิภาคเดียวกันของไทย โดยเฉพาะตลาดนักท่องเที่ยวที่มีกำลังซื้อสูงในกลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน เช่น พม่า ลาว กัมพูชา จุดเด่นในด้านการให้บริการที่มีคุณภาพได้มาตรฐานระดับสากลของธุรกิจที่ให้บริการด้านการแพทย์ของไทย สร้างโอกาสการเข้าไปลงทุนหรือเข้าไปรับบริหารโรงพยาบาลในกลุ่มประเทศ CLMV
แนวโน้มของการท่องเที่ยว เชิงบำบัดรักษาสุขภาพ 1. แนวโน้มของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 2. แนวโน้มของการท่องเที่ยวเชิงบำบัดรักษาสุขภาพ
แนวโน้มของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 1. นักท่องเที่ยวกลุ่มใหม่ กลุ่มผู้ใช้บริการสุขภาพและความงามจะมีอายุน้อยลง ผู้ชายจะกลายเป็นกลุ่มตลาดใหม่ที่สำคัญของธุรกิจสุขภาพและความงาม จีนเป็นตลาดใหม่ที่ใหญ่และกำลังเติบโตอย่างสุดขีด โดยสาวชาวจีนยุคใหม่มองว่าการลงทุนด้านรูปร่างหน้าตาและผิวพรรณเป็นเครื่องบ่งบอกคุณค่าและคุณภาพชีวิต
แนวโน้มของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 2. การฟื้นตัวของภาคธุรกิจท่องเที่ยวของไทย ส่งผลให้จำนวนนักท่องเที่ยวด้านการแพทย์เพิ่มจำนวนมากขึ้น เกิดการสร้างรายได้เพิ่มขึ้น
แนวโน้มของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 3. รูปแบบใหม่ของสินค้าและบริการด้านสุขภาพและความงามที่มีหลากหลายรูปแบบมากขึ้น Earthing Spa-Genomics
แนวโน้มของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 4. การเพิ่มขึ้นของผู้ประกอบการด้านสุขภาพและความงาม The Spa Association เผยว่า เทรนด์การทำสปาที่นักท่องเที่ยวนิยม ได้แก่ การทำสปาสูตรโบราณ การทำสปาแบบเร่งด่วนในห้างสรรพสินค้าและสนามบิน และการทำสปาแบบหรูหรา จากเทรนด์ดังกล่าวทำให้เกิดผู้ประกอบการด้านสปาเพิ่มมากขึ้นเพื่อรองรับความต้องการดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งสถานประกอบการสุขภาพและความงามด้านการทำสปาสูตรโบราณ
Salt Cave
แนวโน้มของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 5. กระแสความต้องการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพได้รับความนิยมมากขึ้น จึงทำให้โรงพยาบาลเอกชนปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการจากเพียงแค่การบริการรักษาพยาบาลอาการเจ็บป่วย ไปสู่การดูแลสุขภาพมากขึ้น
แนวโน้มของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ 6. ความพยายามในการปรับตัวของโรงแรมขนาดใหญ่ในการเป็นโรงแรมเพื่อสุขภาพ (Health Hotel) โดยพยายามเพิ่มการบริการด้านสุขภาพในโรงแรมให้มากขึ้น เช่น อุปกรณ์ออกกำลังกายภายในห้องพัก โปรแกรมการนอน (Sleep Programs) เป็นต้น
แนวโน้มของการท่องเที่ยวบำบัดรักษาเชิงสุขภาพ 1. แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของโรงพยาบาลเอกชนเพื่อรองรับการท่องเที่ยวด้านการแพทย์ ธุรกิจโรงพยาบาลเอกชนมีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงไปสู่การสร้างเครือข่าย / การรวมกลุ่มมากขึ้น
แนวโน้มของการท่องเที่ยวบำบัดรักษาเชิงสุขภาพ โรงพยาบาลเอกชนปรับเปลี่ยนรูปแบบการให้บริการ จากเพียงแค่การบริการรักษาพยาบาลอาการเจ็บป่วย ไปสู่การดูแลสุขภาพและความงามมากขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการของกลุ่มตลาด secondary healthcare
แนวโน้มของการท่องเที่ยวบำบัดรักษาเชิงสุขภาพ โรงพยาบาลเอกชนที่ดำเนินการแบบบริษัทเดี่ยว มีแนวโน้มที่จะต้องหาพันธมิตรเพื่อเพิ่มอำนาจในการต่อรอง
แนวโน้มของการท่องเที่ยวบำบัดรักษาเชิงสุขภาพ การเชื่อมโยงระหว่างธุรกิจต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจะมีความสำคัญมากขึ้น โดยเฉพาะเพื่อจับตลาด secondary healthcare
แนวโน้มของการท่องเที่ยวบำบัดรักษาเชิงสุขภาพ 2. แนวโน้มการท่องเที่ยวด้านการแพทย์จะมีการเผชิญการแข่งขันที่รุนแรงมากขึ้น การแข่งขันในประเทศ โดยโรงพยาบาลเอกชนด้วยกันเอง และโรงพยาบาลรัฐที่หันมาพัฒนาตนเองเพื่อแข่งกับโรงพยาบาลเอกชน การแข่งขันระหว่างประเทศ คู่แข่งสำคัญของไทย คือ สิงคโปร์ ฮ่องกง มาเลเซีย อินเดีย ซึ่งมีลูกค้าเป้าหมายกลุ่มเดียวกัน คือ ชาวยุโรป และเอเชีย (ญี่ปุ่น จีน อาเซียน ตะวันออกกลาง)