Chapter Objectives Chapter Outline

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Internal Force WUTTIKRAI CHAIPANHA
Advertisements

บทที่ 7 แรงภายในโครงสร้าง (internal force)
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
การใช้งานโปรแกรม SPSS
KINETICS OF PARTICLES: Work and Energy
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 5 การเวียนเกิด
หน่วยที่ 4 เครื่องวัดไฟฟ้า ชนิดขดลวดเคลื่อนที่.
Plant layout Design.
การเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งเกร็ง
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
Microsof t Office Word เตรียมความ พร้อม Microsoft Office Word 2007 แดงเขียวน้ำเงิน ม่วงดำเขียว เหลืองส้มน้ำตาล น้ำเงินดำแดง.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
คำสั่งควบคุมการทำงาน
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
โมเมนต์ของแรง คำถาม  ถ้ามีแรงกระทำต่อวัตถุแล้วทำให้วัตถุหมุน
เกม คณิตคิดเร็ว.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
Chapter Objectives Concept of moment of a force in two and three dimensions (หลักการสำหรับโมเมนต์ของแรงใน 2 และ 3 มิติ ) Method for finding the moment.
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
Number system (Review)
การวัด และเลขนัยสำคัญ
Chapter Objectives Chapter Outline
ความเค้นและความเครียด
การบริหารโครงการ Project Management
Chapter Objectives Chapter Outline
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
DC Voltmeter.
โครงสร้างภาษา C Arduino
stack #1 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
SPEI R & R Studio Program User Manual.
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข แบบการกระทำ (Operant Conditioning Theory)
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
การวิเคราะห์ฟอลต์แบบไม่สมมาตร Unsymmetrical Fault Analysis
เครื่องผ่อนแรง Krunarong.
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
บทที่ 4 แรงและกฎของนิวตัน
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ยุคกลาง : Medieval Age The Black Death A.D 1348 อาจารย์สอง Satit UP.
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
สัปดาห์ที่ 9 Designs by SolidWorks
การสเก็ตภาพสามมิติ(Three-Dimensional Pictorials )
การเคลื่อนที่แบบหมุน (Rotational Motion)
Google Scholar คืออะไร
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย (Simple harmornic motion)
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
พื้นฐานการมองแบบภาพ 2D 3D
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Chapter Objectives Chapter Outline Method of sections to find internal forces in a structure Write equations to describe shear forces and moments for an entire member Chapter Outline Internal Forces Developed in Structural Members Shear and Moment Equations and Diagrams Relations between Distributed Load, Shear and Moment

7.1 Internal Forces Developed in Structural Members การออกแบบชิ้นส่วนใด ๆ ของโครงสร้างหรือเครื่องจักร คือการใช้วัสดุที่สามารถต้านทานแรงภายในที่เกิดขึ้นในชิ้นส่วนนั้นได้ แรงภายในเหล่านี้สามารถหาได้จากวิธีภาพตัด แรงตามแกน (Axial force) N กระทำตั้งฉากกับรอยตัดของคาน แรงเฉือน (Shear force) V, กระทำตามแนวรอยตัด (ตั้งฉากกับแกนของคาน) โมเมนต์ M หรือนิยมเรียก โมเมนต์ดัด (Bending moment) Positive sign convention

7.1 Internal Forces Developed in Structural Members Ny คือแรงตั้งฉาก (normal force), Vx และ Vz คือแรงเฉือน (shear force) My คือโมเมนต์บิด (torisonal or twisting moment), Mx และ Mz คือโมเมนต์ดัด (bending moment)

7.1 Internal Forces Developed in Structural Members Procedure for Analysis Support Reactions (แรงปฏิกิริยาที่ฐาน) ก่อนการตัด section ให้คำนวณหาแรงปฏิกิริยาที่ฐานไว้ Free-Body Diagrams เขียนแรงทั้งหมดที่กระทำต่อ FBD ไว้ที่ตำแหน่งของมัน พิจารณาเลือก FBD ที่มีแรงจำนวนน้อย หรือวิเคราะห์ได้ง่ายกว่า แสดงองค์ประกอบ x, y, z ของแรงและโมเมนต์ เขียนแรงภายใน N, V, M ที่รอยตัด โดยสมมุติทิศทางไว้ Equations of Equilibrium คำนวณค่า คำตอบทิศที่ถูกต้องดูจากเครื่องหมาย +-

Example 7.3 Determine the internal force, shear force and the bending moment acting at point B of the two-member frame.

Solution

Solution

7.2 Shear and Moment Equations and Diagrams คาน (Beam) คือชิ้นส่วนโครงสร้างที่ถูกออกแบบเพื่อรองรับแรงหรือน้ำหนักบรรทุกที่กระทำในแนวตั้งฉากกับแกนของชิ้นส่วน คานช่วงเดี่ยว (simply supported beam) มีที่รองรับตรงปลายเป็น pin หนึ่งด้าน และอีกด้านเป็น roller คานยื่น (cantilever beam) มีที่รองรับตรงปลายเป็น fix และอีกด้านเป็นปลายยื่น simply supported beam cantilever beam

7.2 Shear and Moment Equations and Diagrams ในการออกแบบคาน จำเป็นต้องหาค่าแรงเฉือนและโมเมนต์ตลอดทั้งคาน สามารถหาค่าที่ทุก ๆ จุดบนคานได้ด้วยวิธีภาพตัด โดยเขียนให้เป็นฟังก์ชันกับระยะ x ใด ๆ ตลอดคาน V(x) และ M(x) V(x) และ M(x) มักไม่ต่อเนื่องที่จุดที่แรงแบบแผ่เปลี่ยนแปลง หรือมีแรงแบบจุดกระทำ ดังนั้นจึงควรพิจารณาสมการเป็นช่วง ๆ เช่น x1, x2, x3 กราฟของ V(x) และ M(x) เรียกว่า Shear Force Diagram (SFD) และ Bending Moment Diagram (BMD) SFD BMD

7.2 Shear and Moment Equations and Diagrams Procedure for Analysis Support Reactions หาแรงและโมเมนต์ที่กระทำต่อคาน แล้วแตกให้เป็นองค์ประกอบที่ขนานและตั้งฉากกับแกนคาน Shear and Moment Functions กำหนดพิกัด x โดยเฉพาะ โดยมีจุดเริ่มต้นที่ปลายซ้ายของคาน โดยกำหนดเป็นช่วง ๆ แต่ละช่วงถึงจุดที่มีแรงแบบจุดกระทำ หรือแรงแบบแผ่เปลี่ยนแปลง ตัดคานที่ระยะ x ใด ๆ วาด FBD โดยแสดง V และ M ตามระบบเครื่องหมายบวก (sign convention) หา V และ M จากสมดุลของ FBD ชิ้นที่ง่าย sign convention

7.2 Shear and Moment Equations and Diagrams Procedure for Analysis Shear and Moment Diagrams วาดกราฟ SFD ระหว่าง V กับ x และ BMD ระหว่าง M กับ x โดยค่าที่คำนวณได้เป็น + ให้เขียนเหนือแกน x ส่วนค่า - เขียนใต้แกน x มักเขียน SFD & BMD ต่อจาก FBD ของคาน

Example 7.7 Draw the shear and bending moments diagrams for the shaft. The support at A is a thrust bearing and the support at C is a journal bearing.

Solution Support Reactions (หาจากสมดุลของทั้งคาน แสดงค่าไว้ในหน้าต่อไป) FBD of the shaft

Solution Shear diagram Internal shear force is always positive within the shaft AB. Just to the right of B, the shear force changes sign and remains at constant value for segment BC. Moment diagram Starts at zero, increases linearly to B and therefore decreases to zero. Mmax = 5 kN.m

7.3 Relations between Distributed Load, Shear and Moment พิจารณาคาน AD ภายใต้แรงกระทำจากแรงแบบแผ่ w = w(x) และแรงแบบจุด (F1, F2) และโมเมนต์แบบจุด (M1, M2) พิจารณาแรงที่กระทำในแนวดิ่งใด ๆ ให้มีเครื่องหมายบวก ถ้าแรงมีทิศทางขึ้น

7.3 Relations between Distributed Load, Shear and Moment ตัด FBD สำหรับชิ้นส่วนเล็ก ๆ ที่มีความยาว ∆x และอยู่บนตำแหน่ง x ใด ๆ โดยที่ไม่มีแรงแบบจุดหรือโมเมนต์แบบจุดกระทำในส่วนนี้ เขียน V และ M ในทิศทางบวกตามนิยาม แรงลัพท์เขียนได้คือ ∆F = w(x) ∆x และอยู่ที่ตำแหน่ง k (∆x) จากด้านขวา 0<k<1 (k=0.5 สำหรับ uniform load)

7.3 Relations between Distributed Load, Shear and Moment Relations between Distributed Load and Shear and

7.3 Relations between Distributed Load, Shear and Moment Relations between Shear and Moment

7.3 Relations between Distributed Load, Shear and Moment Concentrated Force and Couple Moment (แรงและโมเมนต์แบบจุด) สำหรับแรงแบบจุดที่กระทำทิศขึ้น จะทำให้ค่าแรงเฉือนเพิ่มขึ้น สำหรับโมเมนต์แบบจุดที่กระทำทิศตามเข็ม จะทำให้ค่าโมเมนต์ภายในเพิ่มขึ้น

Example 7.8 Draw the shear and moment diagrams for the cantilever beam.

Solution

Example 7.9 Draw the shear and moment diagrams for the overhang beam.

Solution