Assoc. Prof. Dr. Boonlom Cheva-Isarakul

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ข้อเท็จจริงที่ควรรู้
Advertisements

Doctor’s Orders. Take up to start doing a particular job or activity. Take up เริ่มต้นดำเนินการ.
การดูแลผู้ป่วยเด็กในชุมชนและ การบริหารยาในเด็ก สำหรับพยาบาลเวชปฏิบัติ
Risk Analysis 1 Risk Assessment 2 Risk Management 3 Risk Communication
Dairy digestive system
Bypass protein in Dairy cows
อิทธิพลของระดับโปรตีน คาร์โบไฮเดรตที่ไม่ใช่เยื่อใย และสัดส่วน MP/NELในอาหารสูตรรวมที่มีการใช้เปลือก-ซังข้าวโพดหมัก เป็นแหล่งอาหารหยาบหลัก ต่อการให้ผลผลิตในโคนม.
การใช้ไขมันในอาหารโคนม
การจัดการข้อมูลเพื่อทดสอบพันธุ์
METABOLIC RELATED OBESITY
ความสมบูรณ์พันธุ์ของโคนม Fertility in Dairy Cattle
Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi. การระบุมูลค่าความเสี่ยง กรณีการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution) ความเสี่ยงที่ Pr (r
Diabetes mellitus By kraisorn inphiban.
Model development of TB active case finding in people with diabetes.
Assoc. Prof. Dr. Boonlom Cheva- Isarakul Dept. of Animal & Aquatic Science, Fac. of Agriculture, CMU/ 2013 by.
Cold Energy Integration between GSP #3 and DPCU
Facilitator: Pawin Puapornpong
Service Plan สาขาสูติกรรม
Dr. Wongsakorn Boonkarn Medicine
Facilitator: Pawin Puapornpong
คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
Facilitator: Pawin Puapornpong
Dr. Wongsakorn Boonkarn Medicine
งบการเงิน (FINANCIAL STATEMENTS )
Facilitator: Pawin Puapornpong
Septic shock เป็นภาวะช็อกที่เกิดจาก systemic inflammatory response ของร่างกาย อันเป็นผลมาจากการติดเชื้อรุนแรง.
โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis).
Nursing Care of patients with arthritis
วงรอบ การให้ผลผลิต ของโคนม Lifecycle Production Phases
วงรอบ การให้ผลผลิต ของโคนม Lifecycle Production Phases
โรคกระดูกพรุน.
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
Essential nutrition in ICU
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การเลี้ยงโคนมในประเทศไทย Dairy Production in Thailand
บรรยายวิชาการบริหารการคลังภาครัฐ หลักสูตรการเสริมสร้างสมรรถนะด้านการเงินการคลังภาครัฐ ระดับชำนาญการรุ่นที่ 10 วันที่ 2 มิถุนายน 2558 โดย สุดา ดุลยประพันธ์
นมแม่ในทารกป่วย Breastfeeding Sick Babies
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
Facilitator: Pawin Puapornpong
การจัดการแปลงหญ้า Forage Management
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
The Balanced Scorecard & KPI
วิชาการเลี้ยงสุกร ระดับปวช.
“ระบบการจัดเก็บข้อมูลบริการ เพื่อเชื่อมโยงกับระบบบัญชี”
The Child with Renal Dysfunction
การใช้สารช่วยยืดอายุสับปะรดพันธุ์ห้วยมุ่นตัดแต่งพร้อมบริโภค
Obesity พญ. หทัยทิพย์ ต่างงาม โรงพยาบาลนครพิงค์.
ทิศทางการดำเนินงาน ของกรมการข้าว ปี 2561
(ร่าง) แผนที่ยุทธศาสตร์กรมกิจการเด็กและเยาวชน
“การรักษาภาวะฉุกเฉินจากโรคมะเร็งเต้านมระยะแพร่กระจาย”
เกณฑ์การประเมินประสิทธิภาพการสืบพันธุ์
ปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
LIPID METABOLISM อ. ชัยวัฒน์ วามวรรัตน์ - KETOGENESIS
การขับเคลื่อนงานอนามัยการเจริญพันธุ์ ในมารดา อายุ 35 ปีขึ้นไป
วิชาการเลี้ยงสุกร ระดับปวช.
1. ต่อมใต้สมอง (Pituitary gland) :-
พญ.มยุรี ไกรศรินท์ สูตินรีแพทย์ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
การขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตร ใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ปี 2561
วิชาการผลิตสุกร บทที่ 6 การจัดการเลี้ยงดูแม่สุกรหลังคลอด
พญ. พิชญานันท์ คู่วัจนกุล กุมารแพทย์ สาขาโลหิตวิทยาและมะเร็ง
วิชาการผลิตสุกรพันธุ์ระดับปวช.
ระบบหล่อลื่นของเครื่องยนต์
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2562
กิจกรรมทดสอบความชำนาญ ประจำปี 2560
บทที่ 4 อาหารโคเนื้อ.
วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 7 การจัดการสุกร.
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
Presentation By : Timsaeng2000 CO.,LTD
สรุปผลการตรวจสอบ รายงานการจัดการพลังงาน ประจำปี 2554มี ความครบถ้วนและถูกต้องตามที่กฎกระทรวงฯ และประกาศกระทรวงฯ กำหนดทุกประการ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Assoc. Prof. Dr. Boonlom Cheva-Isarakul Feeding Management, Stage of Lactation & Metabolic Disorder ANS 443 November 2013 Assoc. Prof. Dr. Boonlom Cheva-Isarakul

ผสมติด (c…………) ท้องว่าง (D…………) คลอด (.............) 80 คลอด (.............) อุ้มท้อง (pr……………)

คลอด ผสมติด Gestation Peak (นมสูงสุด) นมแห้ง 42 วัน 60 วัน Lactation curve Peak (นมสูงสุด) 42 วัน นมแห้ง 60 วัน คลอด Gestation ผสมติด

กราฟการให้นมของโค (Lactation curve) 1 Standard lactation = 305 วัน โคบางตัวให้น้อยกว่านี้  พันธุกรรม อาหาร การจัดการ โคบางตัวให้นมนานกว่านี้ เพราะผสมไม่ติด ยิ่งโคให้นมสูง ยิ่งผสมติดยาก

100 วันที่ 2 & 3 ไม่ค่อยมีปัญหา ถ้าแบ่ง lactation curve เป็น 3 ระยะ ๆ ละ 100 วัน 100 วันแรก – สำคัญ & มีปัญหามากโดยเฉพาะโคที่ให้นมสูง 100 วันที่ 2 & 3 ไม่ค่อยมีปัญหา ระยะนมแห้ง – สำคัญ !! โดยเฉพาะ 2-3 w ก่อนคลอด – ไม่ให้นม ไม่มีรายได้ - เกษตรกรส่วนใหญ่จึงละเลยโค # ซึ่งอาจทำให้เกิดโรคได้ง่าย  กระทบต่อผลผลิตและการสืบพันธุ์

Dry period (60 days) Non reproductive State 21 days 10 days Drying (BCS 3.5) 21 days 10 days Drying off Regeneration Far off (40 days) Mainly roughages (low Na & K) Close up (21 days)

อาจงดให้น้ำ 24 ชั่วโมงเพื่อให้นมลด Drying off period (4-10 days) Stop milk production จำกัดปริมาณ grain, corn silage & good quality legume forage Feed low energy forage, e.g. grass hay อาจงดให้น้ำ 24 ชั่วโมงเพื่อให้นมลด

Transition period – very important (...................................) Close up period Early fresh period (3 weeks) + (2 weeks) Low maintenance High Phase performance phase Feed intake  Feed intake

Close up feed (2-3 W prepartum) Feed intake decrease to 1.6-1.8 %BW Fed good quality roughage ค่อยๆ เพิ่มอาหารข้น – 16% CP (3-4 kg) to stimulate DMI & adjust rumen fermentation แม่โคต้องการโภชนะเพื่อ fetus & mammary gland

ระยะก่อนคลอด 2-3 สัปดาห์ โคเครียดเพราะ เปลี่ยนอาหาร ย้ายกลุ่ม (ต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่) * ลูกในท้องโตเร็วมาก * ต้องให้โภชนะเพียงพอกับลูกในท้อง & การพัฒนาเต้านม (เพื่อลดการขาดพลังงาน & การดึงไขมันมาใช้) stress corticosteroid abortion เครียด ฮอร์โมนมาร (adrenaline) แท้ง ฮอร์โมนเทพ (ความสุข) = En.........

283 Fetus growth (kg) Uterus Fetus conc (kg) (g/kg wet weight) 80 260 80 260 25 180 283

โคอ้วนเกินไป (คะแนน > 3.75) โคผอมไป (คะแนนสภาพร่างกาย <3.0) ดึงไขมันในร่างกายมาใช้ ให้นมช่วง peak น้อย (peak ต่ำ) ไม่เป็นสัด (เป็นช้า) โคอ้วนเกินไป (คะแนน > 3.75) คลอดยาก กินอาหารหลังคลอดได้น้อย เสียน้ำหนักตัวมากในระยะต้นของการให้นม ผสมไม่ติด เกิดโรค/ติดเชื้อง่าย ( เช่น Ketosis รกค้าง มดลูกอักเสบ) นมลดหลังคลอด

Body condition score ในระบบ 1-5 (ผอมมาก – อ้วนมาก) BCS = 1

BCS = 2

BSC = 3 BCS = 3

BCS = 4

คะแนนสภาพร่างกายที่เหมาะสม Optimum body condition score (BCS) ระยะ คะแนน 1-5 นมแห้ง - คลอด 3.5 – 3.75 1 เดือน หลังคลอด 2.5 – 3.0 ช่วงกลางของการให้นม 3.0 ช่วงหลังของการให้นม 3.0 – 3.75 แม่โคสาวท้องแรกใกล้คลอด 3.5 มีหลายระบบ เช่น 1-5, 1-10 และ 1-8 ระบบนี้เป็นแบบ 1-5

Main metabolic disorder of the fresh cows (peripartum) โคที่ให้นมสูงมักเกิดโรค: Milk fever Udder edema Ketosis Fat cow syndrome Retain placenta Displace abomasum Rumen acidosis Laminitis

Milk fever or calving paralysis มักเกิดกับแม่โคนางที่ให้นมสูง rarely occurs in first calf heifers 75% เกิดภายใน 24 ชั่วโมงหลังคลอด โคที่เคยเป็นแล้ว มักจะเป็นอีก Symptom: No fever Loss of appetite Inactive digestive tract Cold ear and dry muzzle เดินขาปัด โซเซ Lay down, unable to rise

Cause (................) เพราะ colostrum มี Ca สูงกว่านมปกติ 8-10 เท่า แม่โคจึงต้องดึงแคลเซียมไปใช้ในการสร้างนมน้ำเหลืองมาก และถ้าอาหารมีสัดส่วนของ Ca: P ไม่เหมาะสมจะยิ่งทำให้การดูดซึม Ca ลดลง เกิด hypocalcemia ทำให้กล้ามเนื้อชักกระตุก นอกจากนี้ยังอาจเกิด Dystocia Retain placenta, metritis Prolapsed uterus Delay utrine involution

การป้องกัน ควรให้อาหารที่มี Ca ต่ำในระยะใกล้คลอด เพื่อฝึกให้ร่างกายหลั่ง Parathormone ที่ช่วยในการ mobilized Ca ออกจากกระดูกมายังเลือด ส่วน Hormone ที่นำ Ca จากเลือดไปสะสมไว้ในกระดูกคือ ...............................ผลิตจากต่อม.......................

ปัญหา 2 เดือนแรก หลังคลอด โคให้นมสูง กินอาหารได้ไม่พอกับการสร้างนม สมดุลพลังงานเป็นลบ ดึงไขมันในร่างกายมาใช้มาก เกิด ketosis (1-6 w post partum) ผอมมาก เกิดโรคตับใหญ่ (ไขมันในตับสูง) ไม่เป็นสัด/ผสมไม่ติด

สมดุลของพลังงานในโคนมระยะต่างๆ หลังคลอด ปริมาณนมเพิ่มอย่างรวดเร็ว แต่ปริมาณอาหารที่กินได้เพิ่มช้ากว่า ทำให้โคต้องดึงโภชนะที่สะสมในร่างกายมาใช้ น้ำหนักตัวจึงลดในระยะ 3 เดือนแรก

โคที่ให้นมสูงอาจจะเป็นโรค ketosis ในช่วงหลังคลอดใหม่ ซึ่งเกิดจากร่างกายต้องดึงไขมันมาใช้มาก แต่ได้รับคาร์โบไฮเดรตไม่เพียงพอ ทำให้ metabolism ของไขมันผิดปกติ เกิดสารคีโตน (ketone bodies) ซึ่งได้แก่ acetone, acetoacetate, beta-hydroxybutyrate เกิด acetonemia, acetonuria (…………………………..) Symptom: มักเป็นแบบ subclinical or primary ketosis loss of appetite (especially to grain) Rumen inactive Weight loss, lower milk yield แก้ไขโดยการฉีดกลูโคส และปรับสูตรอาหารให้มีพลังงาน + เยื่อใยสูง อาจใช้ bypass fat

การสูญเสียสภาพร่างกายใน 5 สัปดาห์แรกหลังคลอด คะแนนสภาพร่างกายที่ลดลง <0.5 0.5-1.0 >1.0 จำนวนโค (ตัว) 17 64 12 กลับสัดหลังคลอด (วัน) 27a 31a 42b ผสมครั้งแรก (วัน) 48ab 41a 62b อัตราผสมติดครั้งแรก % 65a 53a 17b จำนวนครั้งที่ผสมติด 1.8 2.3 2.3 ถ้าน้ำหนักลดมาก จะมีอัตราการผสมติดต่ำ

แต่การให้อาหารข้นมากจะทำให้เกิด rumen acidosis Negative energy balance & body condition loss ในช่วงแรกของการให้นม เกิดกับโคทุกตัว แต่ต้องพยายามให้เกิดน้อยที่สุด โคที่ให้นมสูงจะเกิดปัญหามาก Increase energy consumption increase increase energy feed intake concentration of diet (โดยเฉพาะ concentrate) (by pass fat) แต่การให้อาหารข้นมากจะทำให้เกิด rumen acidosis ซึ่งก่อให้เกิดโรคต่างๆ มากมาย จึงต้องป้องกันด้วยการให้ TMR

คลอดยาก & รกค้าง (Dystocia & Retained placenta) โรคความเป็นกรด ในกระเพาะสูง (acidosis) pH กินอาหารข้น (Concentrate) มดลูกอักเสบ (Metritis) เต้านมอักเสบ (Mastitis) กระเพาะพลิก (Displace abomasums) กีบอักเสบ (Laminitis)