การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แบบฟอร์มการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ขององค์กร
Advertisements

การสร้างวิสัยทัศน์(Vision) ประเด็นยุทธศาสตร์
1 แบบฟอร์มการจัดทำ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี กลุ่มจังหวัดและจังหวัด.
การบริหารเชิงกลยุทธ์
สรุปที่เรียนมา วิเคราะห์การบ้านงานกลุ่ม
กระบวนการบริหารและการคิดเชิงกลยุทธ์
ทบทวนที่เรียนมาทั้งหมดครั้งที่ 1
Strategic management MBA Rajaphat Chiangmai University
Strategic management Business Concept Business Model
วิชาการบริหารเชิงกลยุทธ์
Lesson learned 3 มีนาคม 2556.
การประเมินผลการปฏิบัติราชการแนวใหม่
How do we get there: Mission (Action) Strategy (Action) Strategy Tactic Tactic Activity Activity Where will we want to be: Visio (Purpose) Goal Objective.
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1 ทบทวน แผนกลยุทธ์สำนักงาน เขต พื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 9.
( ประเด็น ) ยุทธศาสตร์ และ ตัวชี้วัด และ ตัวชี้วัด.
บทที่ 4 กลยุทธ์ระบบสารสนเทศ
กำหนดทิศทางของสถานศึกษา
การประเมินผลการปฏิบัติงานระดับบุคคล
ความรู้เกี่ยวกับการจัดทำแผนยุทธศาสตร์
การประชุมผู้บริหารกรมอนามัย เพื่อทบทวน วิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ค่านิยม
พิทยา ไพบูลย์ศิริ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
โครงการชลประทานยโสธร สำนักงานชลประทานที่ 7
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์องค์กร สู่การปฏิบัติ
ผศ.ดร.กมลพร สอนศรี คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
การพัฒนา ระบบบริหารกองทัพเรือ ภายใต้กรอบการจัดการภาครัฐแนวใหม่
การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
การจัดการเชิงกลยุทธ์
Individual Scorecard การถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมาย ระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล และเทคนิคการจัดทำตัวชี้วัดรายบุคคล.
บทที่ 3 การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมและระบบสารสนเทศทางการตลาด
The Balanced Scorecard & KPI
การบริหารเชิงกลยุทธ์
วิทยากร : ธรรศ ทองเจริญ
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
หมวด ๒ กลยุทธ์.
หมวด ๒ กลยุทธ์.
โรงพยาบาลพระมงกุฏเกล้า
โดย นายศุมล ศรีสุขวัฒนา หัวหน้ากลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
บทที่ 11 กิจกรรมพัฒนาตนเองและทีมงานคุณภาพเพื่อประสิทธิภาพในการทำงาน
การขับเคลื่อน บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล : Governance Excellence
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
การนำผลการประเมิน ไปพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ของธุรกิจ (Business Strategic Planning)
การวางแผน (Planning) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต
Click to edit Master title style
ในการพัฒนาการจัดการเชิงกลยุทธ์
การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
PMQA ปี 53 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ SP ส่วนราชการ SP 5 ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน(สำนัก/กอง)
ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีไทย-ไต้หวัน (BDI)
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร. DMS.
แนวทางการถ่ายทอด แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 3 สู่แผนพัฒนาจังหวัด และ แผนของหน่วยงาน โดย สวรรยา หาญวงษา.
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
โครงการพัฒนานักบริหารรุ่นใหม่ กรมอนามัย ประจำปีงบประมาณ 2558 ณ โรงแรมซัมมิท ไพน์เฮิร์สท กอล์ฟคลับ จ.ปทุมธานี
การจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์
คำถามที่ 1 ๒.๔ การวิเคราะห์ศักยภาพของอำเภอ ๑) ด้านเศรษฐกิจ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รุจิภาส โพธิ์ทองแสงอรุณ
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management)
โครงการชลประทานมุกดาหาร สำนักงานชลประทานที่ 7
ธุรกิจขนาดกลางและธุรกิจขนาดย่อม
- การกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ วัตถุประสงค์และเป้าหมาย
การสวัสดิการกองทัพเรือ
โรงพยาบาลนนทเวช.
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
ฝึกปฏิบัติบูรณาการ แผนชุมชนระดับตำบล
สภาพแวดล้อมทางการตลาด
แผนงาน ……………………………………… Key Activity กิจกรรมหลัก
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ ตามแนวทางของสำนักงาน ก.พ.ร. กลุ่มพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี.

นิยามศัพท์ใน Template ของก.พ.ร. Vision วิสัยทัศน์ สิ่งที่อยากจะให้หน่วยงานเป็นในอีก 3 – 5 ปีข้างหน้า Mission พันธกิจ กรอบ ขอบเขต การดำเนินงานของหน่วยงาน Strategic Issues ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นหลักต้องคำนึงถึง ต้องพัฒนา ต้องมุ่งเน้น Goal เป้าประสงค์ อะไรคือสิ่งที่หน่วยงานอยากจะบรรลุ Key Performance Indicators ตัวชี้วัด สิ่งที่จะเป็นตัวบอกว่าหน่วยงานสามารถบรรลุเป้าประสงค์หรือไม่ Target เป้าหมาย ตัวเลข หรือ ค่า ของตัวชี้วัดที่จะต้องไปให้ถึง Strategy กลยุทธ์ สิ่งที่หน่วยงานจะทำเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์

วิสัยทัศน์และพันธกิจ ความเชื่อมโยงของกลยุทธ์ งานประจำ งบประมาณ วิสัยทัศน์และพันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร์ งานที่ต้องดำเนิน การเป็นปกติ เป้าประสงค์ เป้าหมาย กลยุทธ์ แผนงานประจำ โครงการ กิจกรรม งบประมาณ

กระบวนการในการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ การวิเคราะห์ปัจจัยทางยุทธศาสตร์ จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ภัยคุกคาม (SWOT) การกำหนดทิศทางของหน่วยงาน วิสัยทัศน์ (Vision) และพันธกิจ (Mission) การวิเคราะห์ถึงประเด็นสำคัญที่จะต้องมุ่งเน้น / ให้ความสำคัญเพื่อที่จะบรรลุวิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) การกำหนดเป้าประสงค์สำหรับแต่ละประเด็น เป้าประสงค์ (Goals) การกำหนดตัวชี้วัดและเป้าหมายของแต่ละเป้าประสงค์ ตัวชี้วัด (Key Performance Indicators) และ เป้าหมาย (Target) การกำหนดกลยุทธ์หรือสิ่งที่จะทำเพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ กลยุทธ์ (Strategies)

การวิเคราะห์ทางยุทธศาสตร์........ SWOT - เป็นเครื่องมือพื้นฐานสุดในการวิเคราะห์กลยุทธ์ ใช้กันอย่างแพร่หลาย มักจะพบในทุกแผน แต่มักจะเป็นการวิเคราะห์ไว้เฉยๆ โดยไม่ได้นำมาใช้ หรือเป็นการจัดทำในลักษณะ “ขอไปที” ข้อคิดเล็กๆ น้อยๆ ในกระบวนการวิเคราะห์ มองแบบ Outside – In ไม่ใช่ Inside – Out แต่เพียงอย่างเดียว (คิดโดยนั่งสมมติเอาเอง และคิดว่าหน่วยงานตนเองเป็นอย่างไร โดยขาดข้อมูลสนับสนุน) อย่าคิดแต่เฉพาะในปัจจุบัน จะต้องคิดถึงโอกาสและภัยคุกคามที่มีโอกาสเป็นไปได้ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต (สาม ถึง ห้าปี) SWOT แต่ละข้ออาจจะมีน้ำหนักหรือความสำคัญที่แตกต่าง วิเคราะห์เสร็จแล้ว ควรจะสรุปให้เห็นภาพได้ด้วยว่าสถานการณ์ของหน่วยงานเป็นอย่างไร

Suppliers of Key Inputs นอกเหนือจาก SWOT แล้วยังสามารถใช้เครื่องมืออื่นในการวิเคราะห์ทางยุทธศาสตร์..... Customer Analysis Stakeholder Analysis Key Success Factors Competitors Analysis Potential New Entrants Suppliers of Key Inputs Buyers Substitute Products (of firms in other industries) Rivalry Among Competing Sellers

ข้อควรระวังเกี่ยวกับการกำหนดวิสัยทัศน์ อย่าลืมว่าวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน จะต้องสอดคล้องและสัมพันธ์กับวิสัยทัศน์ของหน่วยงานบังคับบัญชา กระทรวง สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล กลุ่มภารกิจ สอดคล้องกับกระทรวง สสจ. สอดคล้องกับกระทรวง คปสอ. สอดคล้องกับ สสจ. อย่าลืมในเรื่องของการสื่อสาร และถ่ายทอดวิสัยทัศน์

Missions vs. Visions พันธกิจ (Mission) บอกให้รู้ถึงขอบเขตการดำเนินงานของหน่วยงาน บอกให้รู้ถึงสาเหตุของการดำรงอยู่ และมุ่งเน้นที่บทบาท หน้าที่ ที่จะต้องทำ วิสัยทัศน์ บอกให้รู้ถึงสิ่งที่หน่วยงานอยากจะหรือต้องการจะเป็นในอนาคต บอกให้รู้ถึงเส้นทางเดินของหน่วยงานในอนาคต

กำหนดพันธกิจ (Mission) ซึ่งมีลักษณะดังนี้ 1) บ่งบอกว่าหน่วยงานจะทำอะไร ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน คือ พันธกิจตามกฎหมาย และพันธกิจตามวิสัยทัศน์ 2) สิ่งที่จะทำมีอะไรต้องแสดงให้ชัดเจน ไม่ต้องระบุวัตถุประสงค์ 3) ต้องเป็นกรอบในการกำหนดพันธกิจของหน่วยงานย่อย

การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ (Strategic Issues) ประเด็นยุทธศาสตร์ คือ สิ่งที่ต้องได้รับการพัฒนา สิ่งที่ต้องคำนึงถึง ประเด็นหลัก ประเด็นที่สำคัญที่จำเป็นต้องดำเนินการพัฒนา เพื่อนำไปสู่วิสัยทัศน์

การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ ความคาดหวังจาก Stakeholders ที่สำคัญ นโยบายหรือความจำเป็นเร่งด่วนจากภายนอก วิสัยทัศน์ของหน่วยงาน Strategic Issues หรือ ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่สำคัญสำหรับหน่วยงาน ศักยภาพและความเป็นไปได้ของหน่วยงาน

ประเด็นยุทธศาสตร์ ประการที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ ประการที่ 2 การกำหนดเป้าประสงค์ ประเด็นยุทธศาสตร์ ประการที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ ประการที่ 2 เป้าประสงค์ ข้อที่ 1 เป้าประสงค์ ข้อที่ 1 เป้าประสงค์ ข้อที่ 2 เป้าประสงค์ ข้อที่ 2 เป้าประสงค์ ข้อที่ ...... เป้าประสงค์ ข้อที่ ......

การกำหนดเป้าประสงค์ จะต้องมีความเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ และประเด็นยุทธศาสตร์ ที่กำหนดไว้ ในการที่จะไปให้ถึงประเด็นยุทธศาสตร์ที่ต้องการ สามารถที่จะแตกประเด็นยุทธศาสตร์ ออกเป็นเป้าประสงค์ที่จะบรรลุ ได้อย่างไรบ้าง เป้าประสงค์ ขอให้เขียนในลักษณะสิ่งที่ต้องการที่จะบรรลุ ในการกำหนดเป้าประสงค์นั้น ขอให้พยายามกำหนดเป้าประสงค์ โดยการมองกรอบการประเมินผลทั้งสี่มิติ มิติด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ (Run the Business) มิติด้านคุณภาพการให้บริการ (Serve the Customer) มิติด้านประสิทธิภาพการจัดการ (Manage Resources) มิติด้านพัฒนาองค์กร (Capacity Building)

ปัจจัยหลักแห่งความสำเร็จ (Critical Success Factor - CSF)

การวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จ (Critical Success Factors) ผลกระทบ (สำเร็จ) เป้าประสงค์ CSF ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ เป้าประสงค์

การวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จ (Critical Success Factors) ผลกระทบ (สำเร็จ) กลยุทธ์ 1 CSF กลยุทธ์ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ 3 กลยุทธ์ 4

การวิเคราะห์ปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อความสำเร็จ (Critical Success Factors) ผลกระทบ (สำเร็จ) กิจกรรม 1 CSF กิจกรรม 2 กลยุทธ์ กิจกรรม 3 กิจกรรม 4

การสร้างความเชื่อมโยงของเป้าประสงค์ นำเป้าประสงค์ในแต่ละมิติมาจัดเรียง และเชื่อมโยงความสัมพันธ์ในลักษณะเหตุและผล เป็นการสร้าง Strategy Map หรือแผนที่กลยุทธ์ เป็นเครื่องมือในการสื่อสารและถ่ายทอดเป้าประสงค์และทิศทางของหน่วยงานให้ชัดเจนขึ้น เพื่อเป็นการทำให้แต่ละหน่วยงานมั่นใจว่าเป้าประสงค์มีความเชื่อมโยงกันในลักษณะของเหตุและผล อีกทั้งมีเป้าประสงค์ที่ครอบคลุมในทุกๆ มิติ อันจะนำไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ของหน่วยงาน

วิสัยทัศน์ “..........................................................................................................................” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประแด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 XXXXXXXX XXXXXXXX XXXXXXXX XXXXXXXX ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร

การเชื่อมโยงกลยุทธ์องค์กรโดยใช้แผนที่ทางกลยุทธ์ในรูปแบบของ Balanced Scorecard

การกำหนดตัวชี้วัด (Key Performance Indicators) เป้าประสงค์ --- สิ่งที่จะวัด / จะวัดอะไร / What to measure? ตัวชี้วัด --- จะวัดอย่างไร / How to measure? ภายใต้เป้าประสงค์แต่ละประการ อะไรคือตัวชี้วัดที่จะบอกได้ว่าสามารถบรรลุเป้าประสงค์ดังกล่าว ตัวชี้วัด สามารถพิจารณาได้ ในแง่ ปริมาณ / คุณภาพ / ต้นทุน / เวลา

ข้อมูลพื้นฐาน (Baseline) และเป้าหมาย (Target) ข้อมูลพื้นฐาน แสดงให้เห็นถึงค่าของตัวชี้วัดที่เกิดขึ้นในปีอดีต หรือ ในปีปัจจุบัน กำหนดข้อมูลพื้นฐาน เพื่อเป็นเครื่องมือในการตั้งเป้าหมาย ในตัวชี้วัดบางตัว อาจจะไม่มีข้อมูลพื้นฐาน เนื่องจากไม่เคยมีการวัดหรือเก็บข้อมูลมาก่อน เป้าหมาย เป็นค่าของตัวชี้วัดที่ต้องการที่จะบรรลุ

การตั้งค่าเป้าหมาย เสกออกมาจากอากาศ (หรือมาจากที่อื่น โดยไม่เหตุผลที่ชัดเจน) esstimate เพิ่มขึ้นเปรียบเทียบกับปีที่ผ่านมา เปรียบเทียบว่าคนอื่นเขาทำอย่างไรกันบ้าง (Benchmarking) สิ่งที่ลูกค้า หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับองค์กร (Stakeholders) คาดหวัง เช่น ระดับของการบริการที่ลูกค้าคาดหวัง ผลการดำเนินงานที่เป็นไปได้จากกระบวนการ ความสามารถ และทรัพยากรที่องค์กรมีอยู่ในปัจจุบัน สิ่งที่ต้องทำหรือพัฒนา เพื่อให้บรรลุต่อเป้าหมายในระดับที่สูงกว่า เช่น ส่วนแบ่งตลาดที่จะต้องได้ เพื่อให้ได้รายได้ที่บริษัทต้องการ

เป้าหมายแบบใด จึงจะเป็นเป้าที่ดี? Stretch Target เพื่อกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงอย่างมหาศาล Small Step Target เพื่อก่อให้เกิดการพัฒนาและปรับปรุงอย่างค่อยเป็นค่อยไป Baseline Target เพื่อรักษาและป้องกันผลการดำเนินงานไม่ให้ต่ำกว่าที่ปัจจุบัน (หรือเพื่อรักษาตนเองให้ปลอดภัย)

การกำหนดกลยุทธ์ กลยุทธ์ เป็นสิ่งที่หน่วยงานจะทำ หรือ ดำเนินการ เพื่อให้บรรลุเป้าประสงค์ที่ตั้งไว้ เป้าประสงค์แต่ละประการ จะต้องมีกลยุทธ์มาสอดรับ โดยกลยุทธ์เป็นภาพใหญ่ที่มองถึงสิ่งที่จะทำให้บรรลุเป้าประสงค์ แต่ยังไม่ลงไปในรายละเอียดถึงขั้นของโครงการ กลยุทธ์แต่ละข้อจะต้องมีการกำหนดหน่วยงานเจ้าภาพ

การกำหนดกลยุทธ์คือการตอบ 3 คำถามสำคัญ Where are we now? ปัจจุบันเราอยู่ ณ จุดไหน? SWOT Analysis Where do we want to go? เราต้องการไปสู่ จุดไหน? Vision and Goals How do we get there? เราจะไปสู่จุดนั้นได้อย่างไร? Strategies

เป้าประสงค์ / ตัวชี้วัด / เป้าหมาย สถานะ / สิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน การกำหนดกลยุทธ์ เป้าประสงค์ / ตัวชี้วัด / เป้าหมาย กลยุทธ์ คือ สิ่งที่องค์กรจะต้องทำเพื่อ ให้บรรลุเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ สถานะ / สิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน

ลักษณะงานในองค์กร กลยุทธ์ งานที่เป็นการพัฒนางานประจำ งานใหม่ๆ ที่จะมุ่งเน้น กลยุทธ์ งานที่เป็นการพัฒนางานประจำ งานที่ต้องดำเนินการเป็นปกติ

แนวทางในการกำหนดกลยุทธ์ Top - Down แปลงจากนโยบายของรัฐบาล หรือ ของหน่วยงานในระดับที่อยู่เหนือขึ้นไป จากสิ่งที่ Stakeholders หรือผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับองค์กร (เฉพาะกลุ่มที่สำคัญ) คาดหวังจากองค์กร จากผลการวิเคราะห์ SWOT จากสิ่งที่ผู้บริหารคิด หรือ อยากจะทำ Bottom – Up เปิดโอกาสให้บุคลากรได้มีส่วนร่วมในการเสนอแนะความคิดเห็น

การกำหนดกลยุทธ์จาก SWOT Opportunities - Threats Strengths ---- Weaknesses

กระบวนการในการแปลงแผนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ การกำหนดกลยุทธ์ กลยุทธ์ (Strategies) หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานที่รับผิดชอบกลยุทธ์แต่ละข้อ โครงการและสิ่งที่จะดำเนินการเพื่อให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ โครงการ (Project) หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานที่รับผิดชอบของแต่ละโครงการ งบประมาณที่จะต้องใช้สำหรับแต่ละโครงการ งบประมาณที่จะเสนอขอ

องค์กรสุขภาพจังหวัดอุดรธานี สำนักงานสสจ.เป็นผู้ประสานงาน มีวิสัยทัศน์ร่วมกัน “ชั้นนำบนฐานปรัชญาฯ” ประเด็นยุทธศาสตร์ ๓ ประเด็น มีกลยุทธ์ ๑๒ กลยุทธ์ เป้าประสงค์สำคัญ คือ บรรลุ KPI ทุกภารกิจ และ บรรลุ KPI ตามวิสัยทัศน์ “ชั้นนำฯ” กวป รพศ คปสอ รพช สสอ สอ จัดทำแผนโดยยึดวิสัยทัศน์ องค์กรสุขภาพฯร่วมกับ วิสัยทัศน์องค์กรตนเอง สสจ. รับแผนยุทธศาสตร์องค์กรสุขภาพไป จัดทำแผนประสาน สนับสนุน และ ผลักดัน บรรลุเป้าหมายองค์กรสุขภาพ และเป้าหมายตนเอง

กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2551-2554 วิสัยทัศน์ กระทรวงสาธารณสุขเป็นองค์กรหลัก ในการพัฒนาระบบสุขภาพที่มีคุณภาพ ประสิทธิภาพ และเสมอภาค โดยการมีส่วนร่วมของประชาชน ชุมชนและสังคมที่มีจิตสำนึกด้านสุขภาพ เพื่อคนไทยทุกคนมีสุขภาพดี ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่เป้าหมายสังคมอยู่เย็นเป็นสุข พันธกิจ กำหนดนโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของประเทศ และระหว่างประเทศให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในทุกระดับ พัฒฒนาระบบบริการสุขภาพแบบองค์รวมที่มีประสิทธิภาพ เสมอภาคทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน โดยเน้นชุดสิทธิประโยชน์ขั้นพื้นฐาน บริการเฉพาะทางและระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน การสร้างระบบการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยทางสุขภาพ ส่งเสริมทุกภาคส่วนของสังคม ในการมีส่วนร่วมสร้างจิตสำนึกทางสุขภาพ สร้างเสริมสุขภาพ และพัฒนาศักยภาพด้านพฤติกรรมสุขภาพ พัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการด้านสุขภาพ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กำหนดนโยบายทิศทางการวิจัย และการบริหารจัดการองค์ความรู้

สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2551-2554 วิสัยทัศน์ เป็นหน่วยงานหลักในการพัฒนาระบบ กลไก ในการบริหารงานให้เอื้อต่อการพัฒนาวิชาการและการจัดบริการของหน่วยงานในส่วนภูมิภาค เพื่อคนไทยทุกคนมีสุขภาพดี นำสู่เป้าหมายสังคมอยู่เย็นเป็นสุข พันธกิจ 1. จัดบริการและสนับสนุนการให้บริการสุขภาพแบบองค์รวมและการสร้างเสริมพฤติกรรมในการสร้างวัฒนธรรมสุขภาพขั้นพื้นฐานที่ดี 2. พัฒนาระบบการบริหารยุทธศาสตร์ให้เอื้อต่อสุขภาพอนามัย ป้องกัน ควบคุม รักษาโรคภัยและฟื้นฟูสภาพให้มีคุณภาพมาตรฐานอย่างทั่วถึง และเป็นธรรม รวมทั้งการผลิตกำลังคนและพัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านสุขภาพ 3. เสริมสร้างการมีส่วนร่วมและสนับสนุนการปฏิบัติงานร่วมกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

พัฒนาให้เป็นองค์กรชั้นนำในการ บริหารจัดการระบบสุขภาพแบบองค์รวม วิสัยทัศน์องค์กรสุขภาพอุดรธานี เป็นองค์กรชั้นนำในการบริหารจัดการระบบสุขภาพแบบองค์รวม โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคีทุกภาคส่วนเพื่อบรรลุเป้าหมาย“สังคมอยู่เย็นเป็นสุขด้านสุขภาพภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” พัฒนาให้เป็นองค์กรชั้นนำในการ บริหารจัดการระบบสุขภาพแบบองค์รวม พัฒนาระบบให้เอื้อต่อการมีส่วนร่วมของ ประชาชนและพหุภาคีทุกภาคส่วน บริหารจัดการบนฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง กลยุทธ์ในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์พิจารณาจาก ปัจจัยแห่งความสำเร็จที่จะใช้ในการดำเนินการให้บรรลุผลในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ ปัจจัยภายนอกที่เอื้อ/คุกคามการดำเนินงานให้บรรลุผลในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาให้เป็นองค์กรชั้นนำในการบริหารจัดการระบบสุขภาพแบบองค์รวม เป้าประสงค์ 1. ระบบข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ มีคุภาพและมาตรฐาน 1 S, 4A, 4 KPI 2. หน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับบริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล 2 S, 12 A, 9 KPI 3. บุคลากรมีจำนวนเพียงพอเหมาะสมต่อการจัดบริการสุขภาพ และมีสมรรถนะตามภารกิจ 1 S, 3A, 5 KPI 4. หน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับมีผลการดำเนินงานบรรลุตามภารกิจ 1 S, 1A, 1 KPI 5. หน่วยงานสาธารณสุขมีการวิจัยและการพัฒนานวตกรรมด้านสุขภาพ 1 S, 3A, 4 KPI 6. ประชาชนได้รับบริการสุขภาพที่มีคุณภาพและมาตรฐานอย่างทั่วถึง ต่อเนื่อง และเป็นธรรม 1 S, 6A, 5 KPI

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบการดำเนินงานให้เอื้อต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคีทุกภาคส่วน เป้าประสงค์ 7. ประชาชนและพหุภาคีทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม ในการจัดการสุขภาพ 2 S, 5A, 3 KPI 8. ประชาชนได้รับการถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพสู่ชุมชนอย่างครอบคลุมและทั่วถึงทุกพื้นที่ 2 S, 7A, 5 KPI

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 บริหารจัดการบนฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป้าประสงค์ 9. หน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการปฏิบัติงาน 1 S, 5A, 3 KPI กลยุทธ์ 39 KPI

วิสัยทัศน์องค์กรสุขภาพจังหวัดอุดรธานี เป็นองค์กรชั้นนำในการบริหารจัดการระบบสุขภาพแบบองค์รวม โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคีทุกภาคส่วน เพื่อบรรลุเป้าหมาย “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขด้านสุขภาพภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.พัฒนาให้เป็นองค์กรชั้นนำในการบริหารจัดการระบบสุขภาพแบบองค์รวม 1 พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1 บริหารจัดการระบบฐานข้อมูลด้านสุขภาพให้มีคุณภาพ 1.2 พัฒนาระบบรายงาน และสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการระบบสุขภาพ 1.3 จัดหา/พัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันสมัยและเพียงพอ 1.4 พัฒนาสมรรถนะบุคลากรในการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 การนำระบบบริหารจัดการตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี(Good Governance) ในหน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับ 2.1 พัฒนาระบบควบคุมภายใน (หลักนิติธรรม) 2.2 ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม (หลักคุณธรรม) 2.3 ส่งเสริมมาตรการประหยัด 2.4 ลดขั้นตอนในการปฏิบัติงาน 2.5 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของหประชาชนในน่วยงานสาธารณสุขทุกระดับ 2.6 นำต้นทุนต่อหน่วยมาใช้ในการบริหารจัดการ (คุ้มค่า)

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.พัฒนาให้เป็นองค์กรชั้นนำในการบริหารจัดการระบบสุขภาพแบบองค์รวม(ต่อ) 3 พัฒนากระบวนการบริหารทรัพยากรบุคคล 3.1 หน่วยงานมีการจัดทำแผนการบริหารทรัพยากรบุคคลโดยใช้ HR Score Card 3.2 พัฒนาองค์กรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ 3.3 พัฒนาบุคลากรให้มีสมรรถนะตามภารกิจ 4 พัฒนาหน่วยงานให้มีการบริหารจัดการเพื่อบรรลุตามภารกิจด้านสุขภาพ 4.1 บริหารเชิงกลยุทธ์ โดยใช้แผนยุทธศาสตร์ แผนปฏิบัติการ การควบคุมกำกับและ ประเมินผล ที่ครอบคลุมทุกมิติ 4.2 สร้างกลยุทธ์ในการพัฒนากระบวนการดำเนินงานตามภารกิจ 5 ส่งเสริมการวิจัยและการพัฒนานวตกรรมด้านสุขภาพ 5.1 พัฒนาศักยภาพและความสามารถบุคลากรด้านการวิจัยและนวตกรรม 5.2 ส่งเสริมการสร้างนวตกรรมและองค์ความรู้ใหม่ 5.3 พัฒนาระบบข้อมูลด้านการวิจัย

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1.พัฒนาให้เป็นองค์กรชั้นนำในการบริหารจัดการระบบสุขภาพแบบองค์รวม(ต่อ) 6 พัฒนาระบบบริการสุขภาพ 6.1 พัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลให้ได้คุณภาพ 6.2 พัฒนาคุณภาพคุณภาพของห้องชันสูตร 6.3 พัฒนาการประกันคุณภาพการพยาบาล 6.4 พัฒนาคุณภาพของศูนย์สุขภาพชุมชน 6.5 พัฒนาคุณภาพการบริการแพทย์แผนไทย 6.6 พัฒนาการบังคับใช้กฎหมายด้านสุขภาพให้มีประสิทธิภาพ 7. พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 7.1 พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจ ระบบการบริหารจัดการ PMQA 7.2 กำหนดให้หน่วยงานใช้กระบวนการบริหารตามเกณฑ์ PMQA 7.3 เสริมสร้างแรงจูงใจในการพัฒนา PMQA

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบการดำเนินงานให้เอื้อต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคีทุกภาคส่วน 1 พัฒนาศักยภาพของบุคลากรสาธารณสุข พหุภาคี ประชาคมสุขภาพ ในการจัดการสุขภาพ 1.1 พัฒนาหลักสูตรที่เหมาะสมต่อการเรียนรู้ของบุคลากรที่เกี่ยวข้อง 1.2 พัฒนาบุคลากรให้สามารถบูรณาการการดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานและองค์กรที่ เกี่ยวข้อง 1.3 ส่งเสริมบุคลากรสาธารณสุข พหุพาคี ประชาคมสุขภาพ ให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดการด้านสุขภาพ 2 บูรณาการแผนชุมชนด้านการจัดการสุขภาพ 2.1 พัฒนากระบวนการจัดทำแผนชุมชนโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 2.2 ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้แผนชุมชนด้านสุขภาพ 3 พัฒนาการจัดการ และการถ่ายทอด ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพสู่ชุมชนอย่างครอบคลุมและทั่วถึงทุกพื้นที่ 3.1 พัฒนาศูนย์การเรียนรู้ชุมชนในระดับจังหวัด อำเภอ ตำบลและ หมู่บ้าน 3.2 ส่งเสริม พัฒนา และสนับสนุนให้มีการถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพในชุมชนอย่าง ครอบคลุม 3.3. ส่งเสริมเครือข่ายสื่อสาธารณะให้มีส่วนร่วมในการถ่ายทอดความรู้ด้านสุขภาพที่ถูกต้อง 3.4 สนับสนุนสื่อด้านสุขภาพให้เพียงพอ ครอบคลุม ทั่วถึงทุกพื้นที่

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาระบบการดำเนินงานให้เอื้อต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคีทุกภาคส่วน กลยุทธ์ที่ 4 ส่งเสริมการพัฒนานโยบายสาธารณะ 4.1 พัฒนาความรู้ของประชาชนในการสมัชชาสุขภาพและการกำหนดนโยบายสาธารณะด้าน สุขภาพ 4.2 พัฒนากระบวนการสมัชชาสุขภาพในการกำหนดนโยบายสาธารณะ 4.3 พัฒนาและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 บริหารจัดการบนฐานปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 1 ส่งเสริมการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการปฏิบัติงาน 1.1 พัฒนาบุคลากรให้มีความรู้เรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม 1.2 ส่งเสริมการใช้ภูมิปัญญา ทุนสังคมมาใช้ในการปฏิบัติงาน 1.3 ส่งเสริมการดำเนินงานโรงพยาบาลพอเพียง 1.4 ส่งเสริมกิจกรรมจิตอาสาในโรงพยาบาลและสถานีอนามัย

วิสัยทัศน์องค์กรสุขภาพจังหวัดอุดรธานี เป็นองค์กรชั้นนำในการบริหารจัดการระบบสุขภาพแบบองค์รวม โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและพหุภาคีทุกภาคส่วน เพื่อบรรลุเป้าหมาย “สังคมอยู่เย็นเป็นสุขด้านสุขภาพภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ พัฒนาให้เป็นองค์กรชั้นนำในการบริหารจัดการฯ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒ พัฒนาระบบให้เอื้อต่อการมีส่วนร่วมฯ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๓ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มิติประสิทธิผล F1บรรลุประสิทธิผลตามแผนยุทธศาสตร์ที่เชื่อมโยงกับจังหวัด กระทรวง สปสช และ องค์กรอื่นผู้สนับสนุนปัจจัยนำเข้า องค์กรบรรลุผลสำเร็จในการปรับภารกิจให้ สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลง มิติคุณภาพ ประชาชนได้รับบริการที่มีคุณภาพ สถาบันผู้รับรองมาตรฐานยอมรับผลผลิต/บริการ มิติประสิทธิภาพ กระบวนงานขององค์กรมีความเป็นธรรมาภิบาล I2มีการบูรณาการแผนชุมชนด้านสุขภาพอย่างทั่วถึง พัฒนาระบบสนับสนุนการวิจัยและ นวัตกรรมที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้เกิดการบังคับใช้กฎหมาย และนโยบายสาธารณะด้านสุขภาพ ประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในการดำเนินงานขององค์กร ระบบข้อมูลข่าวสาร ICT มีคุณภาพมาตรฐาน พัฒนาองค์กรตามกรอบ PMQA มิติการพัฒนาองค์กร L3บุคลกรขององค์กรและเครือข่ายมีขีดความสามารถเป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด

แบบฟอร์มเอกสารแผนยุทธศาสตร์

1. บทนำ

ความเป็นมา

ประกอบด้วย: โครงสร้าง คปสอ… 1. กลุ่ม.. 1.1 1.2 2. กลุ่ม.. 2.1 2.2 ภาพโครงสร้าง

วิสัยทัศน์ (Vision) พันธกิจ (Mission) ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 … 2 … 3 … ประเด็นยุทธศาสตร์ 1 … 2 … 3 … เป้าประสงค์ (Goal) 1 … 2 … 3 …

หน่วยงานที่รับผิดชอบ แผนยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพของ........................................................ ปี 2552-2555 ประเด็นยุทธศาสตร์ ที่.1............................................................................................... เป้าประสงค์ ตัวชี้วัด ข้อมูลฐาน เป้าหมาย กลยุทธ์ หน่วยงานที่รับผิดชอบ 2552 2553 2554 2555 1. ........   2. ........

วิสัยทัศน์ “..........................................................................................................................” ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 ประแด็นยุทธศาสตร์ที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 4 XXXXXXXX XXXXXXXX XXXXXXXX XXXXXXXX ประสิทธิผล คุณภาพ ประสิทธิภาพ พัฒนาองค์กร

4. ภาคผนวก

ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ศักยภาพ ของ คปสอ. (SWOT Analysis) จุดแข็ง ( Strength) จุดอ่อน (Weakness) โอกาส (Opportunity) ภัยคุกคาม (Threat)