ทะเบียนราษฎร
กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง พ.ร.บ. การทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 พ.ร.บ. การทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551
กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง 3. ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วย การจัดทำทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2535 4. ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วย การจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2551
สำนักทะเบียนและนายทะเบียน
ตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร ตำแหน่งนายทะเบียน ตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎร ในส่วนของ สนท.ท้องถิ่น ประกอบด้วย - นายทะเบียนท้องถิ่น - ผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่น - นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนท้องถิ่น - นายทะเบียนผู้รับแจ้ง - นายทะเบียน
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “ท้องถิ่น” หมายความว่า กรุงเทพมหานคร เทศบาล เมืองพัทยา และหน่วยการปกครองท้องถิ่นอื่นที่ ผอ.ทะเบียนกลางโดยอนุมัติ รมว.มท.กำหนดให้เป็นท้องถิ่นตาม พ.ร.บ.นี้
“นายทะเบียนผู้รับแจ้ง” หมายความว่า นายทะเบียนอำเภอ นายทะเบียนท้องถิ่น และผู้ซึ่ง ผอ.ทะเบียนกลางได้กำหนดให้มีหน้าที่เกี่ยวกับการแจ้งการเกิด การตาย การย้ายที่อยู่ การสร้างบ้านใหม่ การรื้อบ้าน และการกำหนดเลขประจำบ้าน โดยได้กำหนดขอบเขตหน้าที่ดังกล่าวไว้
มาตรา 8 ให้มีสำนักทะเบียนเพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ดังนี้ (1) สำนักทะเบียนกลาง (2) สำนักทะเบียนกรุงเทพมหานคร (3) สำนักทะเบียนจังหวัด (4) สำนักทะเบียนอำเภอ (5) สำนักทะเบียนท้องถิ่น
มาตรา 8/1 การจัดตั้งสำนักทะเบียนอำเภอ หรือสำนักทะเบียนท้องถิ่น ให้เป็นไปตามที่ ผอ.ทะเบียนกลางประกาศ โดยคำนึงถึงสภาพความพร้อมและความสะดวกในการบริการประชาชน หรือจะยุบ หรือควบรวมเข้าด้วยกันก็ได้
ม. 8 (1) สำนักทะเบียนกลางมี ผอ ม. 8 (1) สำนักทะเบียนกลางมี ผอ.ทะเบียนกลาง รอง… และ ผู้ช่วย… เป็นนายทะเบียนประจำ สนท. กลาง มีหน้าที่รับผิดชอบ และควบคุมการปฏิบัติงานทะเบียนราษฎรทั่วราชอาณาจักร
ม. 8 (4) สำนักทะเบียนอำเภอ มีนายทะเบียนอำเภอ และผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอ เป็นนายทะเบียนประจำ สนท.อำเภอ มีหน้าที่รับผิดชอบ และควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรในเขตอำเภอ
ม. 8 (5) สำนักทะเบียนท้องถิ่น มี นายทะเบียนท้องถิ่น และผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่น เป็นนายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนท้องถิ่น มีหน้าที่รับผิดชอบและควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรในเขตปกครองท้องถิ่นนั้น ๆ
รวมทั้งกำหนดแบบพิมพ์เพื่อปฏิบัติตาม ม. 8/2 (1) อปค. เป็น ผอ.ทะเบียนกลาง มีอำนาจออกระเบียบหลักเกณฑ์ วิธีปฏิบัติ รวมทั้งกำหนดแบบพิมพ์เพื่อปฏิบัติตาม พ.ร.บ. นี้ และแต่งตั้งรอง ผอ.ทะเบียนกลาง และผู้ช่วย ผอ.ทะเบียนกลาง
ม. 8/2 วรรคสอง ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง จะมอบอำนาจให้รอง. หรือผู้ช่วย ม. 8/2 วรรคสอง ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง จะมอบอำนาจให้รอง... หรือผู้ช่วย... ปฏิบัติราชการแทนผู้อำนวยการทะเบียนกลาง หรือจะมอบหมายให้ข้าราชการสังกัดกรมการปกครองช่วยเหลือ ในการปฏิบัติหน้าที่ตามที่กำหนดด้วยก็ได้
ม. 8/2 (4) นายอำเภอ หรือ ปอ. หน. กิ่ง อ ม. 8/2 (4) นายอำเภอ หรือ ปอ.หน.กิ่ง อ. เป็นนายทะเบียนอำเภอ และให้มีอำนาจแต่งตั้งผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอ
ม. 8/2 วรรคห้า นายทะเบียนอำเภอ จะมอบอำนาจให้ผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอหรือ ปลัดอำเภอ ปฏิบัติราชการแทนนายทะเบียนอำเภอก็ได้
ม. 8/2 (5) ปลัดเทศบาล ผอ.เขต ปลัดเมืองพัทยา หรือ หัวหน้าผู้บริหารของหน่วยงานท้องถิ่น เป็นนายทะเบียนท้องถิ่น และให้มีอำนาจแต่งตั้งผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่น
ม. 8/2 วรรคหก นายทะเบียนท้องถิ่น จะมอบอำนาจให้ผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่น รองปลัดเทศบาล... หรือรอง หรือผู้ช่วยหัวหน้าผู้บริหารของหน่วยการปกครองท้องถิ่นนั้นแล้วแต่กรณี ปฏิบัติราชการแทนนายทะเบียนท้องถิ่นก็ได้
สรุป ตำแหน่งนายทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียน ราษฎร ในส่วนของ สนท.ท้องถิ่น ประกอบด้วย - นายทะเบียนท้องถิ่น - ผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่น - นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนท้องถิ่น - นายทะเบียนผู้รับแจ้ง - นายทะเบียน
สรุปตำแหน่งกับอำนาจหน้าที่ตามกฎระเบียบ -นายทะเบียนท้องถิ่น : ม.๑๙/๒ ม.๓๖ ม.๓๘ ม.๓๙ ม.๕๑ -นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนท้องถิ่น : ม.๘ (๕) -นายทะเบียนผู้รับแจ้ง : ม.๑๘ ม.๑๙ ม,๑๙/๑ ม.๑๙/๓ ม.๒๐ ม.๒๑ ม.๒๔ ม.๒๕ ม.๓๐ ม.๓๑ ม.๓๓ ม.๓๔ ม.๔๑ -นายทะเบียน : ม. ๖ ม.๑๐ ม.๑๔
จบการนำเสนอ