บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ทฤษฎีการผลิต และต้นทุนการผลิต
Advertisements

บทที่ 6 ต้นทุนการผลิต (Cost of Production)
บทที่ 8 การกำหนดราคาและผลผลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Price and Output Determination Under Perfect Competition) ความหมายของตลาด ลักษณะของตลาดแข่งขันสมบูรณ์
ต้นทุนการผลิต (Cost of Production).
โครงสร้างต้นทุน บทที่ 8 การตั้งราคาโดยพิจารณาจากต้นทุน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
ต้นทุนการผลิต.
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
การค้าระหว่างประเทศ.
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
บทที่ 4 งบการเงินรวมหลังวันซื้อหุ้น
บทที่5 การควบคุมการผลิตและต้นทุนการผลิต
บทที่ 8 ราคา หัวข้อเนื้อหา 1. ความหมายของราคา
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
GDP GNP PPP.
เรื่องที่ครอบคลุม การซื้อขายสินค้าในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
การจัดการการ ขนส่ง เป้าหมายของการจัดการ การขนส่ง 1) เพื่อลดต้นทุน 2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการ ทำงาน 3) เพื่อสร้างความพึงพอใจ สูงสุดให้แก่ลูกค้า 4) เพื่อลดระยะเวลา.
ผู้รับประกัน (Insurer) ผู้เอาประกัน (Insured) ผู้รับผลประโยชน์ (Beneficiary)
เงินเฟ้อ Inflation.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
เทคนิคการเพิ่มผลผลิต
การกำหนดราคาและผลผลิต ในตลาดแข่งขันสมบูรณ์
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
The Theory of Comparative Advantage: Overview
ความเค้นและความเครียด
การบริหารโครงการ Project Management
ACCOUNTING FOR INVENTORY
การเงินธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1104
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
Factors Markets of Resource Markets ตลาดปัจจัยการผลิต
1. การสอบกลางภาค วันที่ 6 ตุลาคม เวลา น. เก็บ 40 % 2
วัสดุคงเหลือ.
การวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร
บทที่ 5 การวางแผนทางการเงิน ผศ. อรทัย รัตนานนท์ รศ.อรุณรุ่ง วงศ์กังวาน.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ดีมานด์ ซัพพลาย และราคาตลาด (Demand Supply and Market Price)
บทที่ 3 พฤติกรรมผู้ผลิต.
งบการเงินตามแนวคิดการบริหารและต้นทุนจริง
บทที่ 4 ทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part2) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 5 ทฤษฎีการผลิต การศึกษาด้านอุปทาน ทฤษฏีการผลิต (บทที่ 5)
บทที่ 3 การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ต้นทุน-ปริมาณ-กำไร
Topic 11 เงินเฟ้อ เงินฝืด การว่างงาน
สรุปมาตรฐานการบัญชี เรื่อง สัญญาก่อสร้าง
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
สินค้าคงเหลือ-การวัดมูลค่าวิธีอื่น
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
การเงินทางธุรกิจ (Business Finance) รหัสวิชา FIN1103
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชีต้นทุน
Chapter 7 การพยากรณ์ (Forecasting) Asst.Prof. Juthawut Chantharamalee
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
องค์กรต้นแบบอนามัยไร้พุง ปี 2552
การวางแผนกำลังการผลิต
Supply Chain Management
รายได้ประชาชาติ รายวิชา : week 04.
กลยุทธ์ราคา (Pricing Strategy)
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
บทที่ 2 ความสำคัญและการคำนวณรายได้ประชาชาติ.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต บทที่ 6 ต้นทุนการผลิตและรายรับจากการผลิต

แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับต้นทุน ต้นทุนค่าเสียโอกาส (Opportunity cost) สิ่งที่มีมูลค่าสูงสุดที่ต้องเสียไป หรือผลประโยชน์สูงสุดที่ผู้ผลิตไม่ได้รับจากการเลือกใช้ทรัพยากรการผลิตไปในทางอื่น ต้นทุนชัดแจ้งและต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (Explicit Cost and Implicit Cost) ต้นทุนชัดแจ้ง(Explicit cost) : ต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงและมีการจ่ายออกไปเป็นตัวเงินจริงๆ

ต้นทุนไม่ชัดแจ้ง (Implicit Cost) : ต้นทุนที่เกิดขึ้นจากการผลิตจริงๆ แต่ไม่มีการจ่ายออกไปเป็นตัวเงิน เกิดจากการนำปัจจัยการผลิตที่ตนเองเป็นเจ้าของมาใช้ในการผลิต ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์และต้นทุนทางบัญชี (Economics Cost and Accounting Cost) ต้นทุนทางเศรษฐกิจ (Economics Cost) : ต้นทุนทั้งหมดที่เกิดขึ้นจากการผลิตสินค้านั้น ไม่ว่าจะมีการจ่ายไปจริงหรือไม่ก็ตาม ~ (Explicit Cost + Implicit Cost) ต้นทุนทางบัญชี (Accounting Cost) : ต้นทุนในการผลิตสินค้าที่ผู้ผลิตได้มีการจ่ายจริงและได้ลงบันทึกรายการทางบัญชีไว้ ~ (Explicit Cost)

ต้นทุนทางเอกชนและต้นทุนทางสังคม (Private Cost and Social Cost) ต้นทุนสังคม (Social Cost) : ในการผลิตสินค้าและบริการ อาจมีต้นทุนจากการผลิตบางส่วนเกิดขึ้นกับสังคม เป็นผลให้ต้นทุนสังคมไม่เท่ากับต้นทุนเอกชน ต้นทุนที่ตกแก่บุคคลอื่นในสังคมเรียกว่า ผลกระทบภายนอก (Externalities) Social Cost = Private Cost + Externalities

การวิเคราะห์ต้นทุนการผลิตในระยะสั้น ระยะสั้น คือ ระยะของเวลาการผลิตที่อย่างน้อยจะต้องมีปัจจัยคงที่ อย่างน้อยหนึ่งตัว ทำงานร่วมกับปัจจัยแปรผัน ต้นทุนการผลิตระยะสั้น จะประกอบด้วยต้นทุนคงที่ และต้นทุนแปรผัน ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost : FC) : ต้นทุนในการจัดหาปัจจัยคงที่เพื่อการผลิต เช่น ค่าก่อสร้าง , ค่าที่ดิน , ค่าเครื่องจักร เป็นต้น ต้นทุนแปรผัน (Variable Cost : VC) : ต้นทุนในการจัดหาปัจจัยแปรผัน เช่นค่าจ้างแรงงาน , ค่าวัตถุดิบ เป็นต้น

ต้นทุนทั้งหมดในระยะสั้น (Total Cost : TC) คือ ผลรวมของต้นทุนคงที่และต้นทุนแปรผัน TC = FC + VC ต้นทุนเพิ่ม (Marginal Cost : MC) คือ ต้นทุนการผลิตที่เปลี่ยนแปลงจากการผลิตสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย MCn = TCn – TC n-1 MC = TC / Q ในระยะสั้น MC = VC / Q เพราะ FC จะคงที่ ต้นทุนเฉลี่ย (Average Cost : AC) คือ ต้นทุนการผลิตทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยสินค้า

ต้นทุนเฉลี่ย จะเท่ากับ ผลรวมของต้นทุนคงที่เฉลี่ย และต้นทุนแปรผันเฉลี่ย AC = AFC + AVC หรือ AC = TC / Q ต้นทุนคงที่เฉลี่ย (Average Fixed Cost : AFC) คือ ต้นทุนคงที่ทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยสินค้า, AFC decreases when Q increases ต้นทุนแปรผันเฉลี่ย (Average Variable Cost : AVC) คือ ต้นทุนแปรผันทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยสินค้า AVC = VC / Q

ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนชนิดต่างๆ จำนวนผลผลิต ต้นทุนคงที่ ต้นทุนแปรผัน ต้นทุนทั้งหมด Q FC VC TC=FC+VC 0 4 0 4 1 4 5 9 2 4 8 12 3 4 15 19 4 4 32 36 5 4 65 69

กราฟความสัมพันธ์ระหว่าง TC , FC , VC

ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุนการผลิตชนิดต่างๆ Q TC TFC TVC MC AC=TC/Q AFC= TFC/Q AVC= TVC/Q 4 1 9 5 2 12 8 3 6 19 15 7 19/3=6.33 4/3=1.33 36 32 17 69 65 33 13. 4/5 13

ความสัมพันธ์ระหว่าง AC ,AVC , AFC , MC

ความสัมพันธ์ระหว่าง AC ,AVC , AFC , MC (continued) Q increases, when AFC decreases At min. AC, AC = MC At min. AVC, AVC = MC Gap bt. AC and AVC = AFC MC, AC, AVC : U shape AFC : rectangular

ต้นทุนการผลิตระยะยาว ระยะยาว คือ ระยะเวลาที่ผู้ผลิตสามารถเปลี่ยนปัจจัยการผลิตทุกชนิดได้หมด นั่นคือ สามารถเลือกขนาดของโรงงานได้ ต้นทุนการผลิตระยะยาว (Long Run Total : LTC) จึงมีเฉพาะต้นทุนแปรผันเท่านั้น

ต้นทุนการผลิตเฉลี่ยระยะยาว (Long Run Average Cost) คือ ต้นทุนการผลิตทั้งหมดที่คิดเฉลี่ยต่อหน่วยผลผลิตในระยะยาว LAC = LTC / Q, at point B : LAC=SAC=LMC=SMC : Optimum scale of plant (ขนาดของโรงงานที่เหมาะสมในระยะยาว)

รายรับจากการผลิต (Total Revenue) รายรับจากการผลิต (Total Revenue : TR) รายได้ที่ผู้ขายได้รับจากการขายสินค้าและบริการในราคาตลาด = P x Q รายรับเพิ่ม (Marginal Revenue : MR) รายรับทั้งหมดที่เปลี่ยนแปลงจากการที่ผู้ผลิตขายสินค้าเพิ่มขึ้น 1 หน่วย MR = TR / Q MRn = TRn – TR n-1 รายรับเฉลี่ย (Average Revenue : AR) รายรับทั้งหมดที่ผู้ผลิตได้รับคิดเฉลี่ยต่อหน่วยผลผลิต AR = TR / Q

การวิเคราะห์รายรับจากการผลิต (Total Revenue) กรณีราคาสินค้า (P) คงที่ กรณีราคาสินค้า (P) ไม่คงที่

ตารางความสัมพันธ์ระหว่าง MR , AR ,TR กรณีราคาสินค้าคงที่

เส้นรายรับรวม (TR) กรณีที่ราคาสินค้าคงที่ Q

ความสัมพันธ์ของเส้นรายรับต่างๆ กรณีราคาสินค้าคงที่ เส้นรายรับเฉลี่ย เส้นรายรับเพิ่มจะเป็นเส้นเดียวกัน คือ เป็นเส้นตรงขนานกับแกนนอน เนื่องจากราคาสินค้าที่ผู้ผลิตขายสินค้าทุกหน่วยมีราคาเดียวกันตลอด P P1 MR=AR=D=P Q

ตารางความสัมพันธ์ระหว่าง MR , AR ,TR เมื่อราคาสินค้าลดลง

เส้นรายรับรวม กรณีที่ราคาสินค้าลดลง เส้นรายรับรวม กรณีที่ราคาสินค้าลดลง

กรณีที่ราคาสินค้าที่ขายมีราคาลดลงตามกฎของอุปสงค์ P P1 AR=D=P MR Q

เงื่อนไขการผลิตที่ได้รับกำไรสูงสุด (1) กำไร (Profit) : คือ ผลต่างระหว่างรายรับทั้งหมดกับต้นทุน ทั้งหมด กำไรสูงสุดเมื่อ TR ห่างจาก TC มากที่สุด กำไรรวม = TR – TC, กำไรต่อหน่วย = (TR/Q) –(TC/Q) = AR-AC ที่จุด A และ B TR ห่างจาก TC มากที่สุด Slope TR = Slope TC MR = MC

เงื่อนไขการผลิตที่ได้รับกำไรสูงสุด (2) กำไร (Profit) : คือ ผลต่างระหว่างรายรับทั้งหมดกับต้นทุน ทั้งหมด กำไรสูงสุดเมื่อ TR ห่างจาก TC มากที่สุด กำไรรวม = TR – TC, กำไรต่อหน่วย = (TR/Q) –(TC/Q) = AR-AC ที่จุด A และ B TR ห่างจาก TC มากที่สุด Slope TR = Slope TC MR = MC

เงื่อนไขการผลิตที่ได้รับกำไรสูงสุด คือ MR=MC