ทักษะที่จำเป็นสำหรับ การสร้างงานที่มีประสิทธิผล ทักษะที่จำเป็นสำหรับ การสร้างงานที่มีประสิทธิผล บทที่ 5. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
มิติในการพัฒนาทีมงาน ในการพัฒนาทีมงานให'มีประสิทธิผลนั้น สต๊อทและวอล์คเคอร์ Stott และ Walker 1995 ได้เสนอแนะรูปแบบในการพัฒนาทีมงานมี 4 มิติ ดังนี้ มิติด้านบุคคล (Individual) การพัฒนาทีมงานในระดับบุคคลมี การศึกษาเกี่ยวกับแรงจูงใจ ความผูกพันที่มีต่องาน ทัศนคติ ความสามารถและการมีส่วนร่วมของสมาชิกในทีมงาน
มิติในการพัฒนาทีมงาน ในการพัฒนาทีมงานให'มีประสิทธิผลนั้น สต๊อทและวอล์คเคอร์ Stott และ Walker 1995 ได้เสนอแนะรูปแบบในการพัฒนาทีมงานไว้ 4 มิติ ดังนี้ มิติด้านงาน (Task) รายละเอียดของงานที่ส่งผลต่อการพัฒนาทีมงาน เช่น วัตถุประสงค์ การกําหนดเป้าหมาย และกระบวนการทํางานที่เป็นระบบ
มิติในการพัฒนาทีมงาน ในการพัฒนาทีมงานให'มีประสิทธิผลนั้น สต๊อทและวอล์คเคอร์ Stott และ Walker 1995 ได้เสนอแนะรูปแบบในการพัฒนาทีมงานไว้ 4 มิติ ดังนี้ มิติด้านทีมงาน (Team) ทักษะส่วนบุคคลและทักษะของกลุ่ม เช่น ภาวะผู้นํา บทบาทด้านการสื่อสาร ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล ทักษะการจูงใจ ความขัดแย้ง การวิเคราะห์ ปัญหา การตัดสินใจ การประชุมของทีมงาน การประสานงาน ความร่วมมือ ค่านิยม และการปฏิบัติตามข้อตกลง
มิติในการพัฒนาทีมงาน ในการพัฒนาทีมงานให'มีประสิทธิผลนั้น สต๊อทและวอล์คเคอร์ Stott และ Walker 1995 ได้เสนอแนะรูปแบบในการพัฒนาทีมงานไว้ 4 มิติ ดังนี้ มิติด้านองค์การ (Organization) บรรยากาศในการทํางานการให้รางวัลตอบแทน วัฒนธรรมขององค์การ โดยทําการสนับสนุนให้มีการพัฒนาในด้านต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ
ความผูกพันที่มีต่องาน วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน กระบวนการที่เป็นระบบ มิติในการพัฒนาทีมงาน 4 มิติ แรงจูงใจ ความผูกพันที่มีต่องาน ทัศนคติ ความสามารถ การมีส่วนร่วม บุคคล กลยุทธ์ การพัฒนา ผลการปฏิบัติงาน วัตถุประสงค์ที่ชัดเจน การกําหนดเป้าหมาย กระบวนการที่เป็นระบบ งาน
ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ความเป็นปึกแผ่นของทีม การปฏิบัติตามข้อตกลง ภาวะผู้นํา บทบาท การสื"อสาร ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ทักษะการจูงใจ ความขัดแย้ง การวิเคราะห์ปัญหา การตัดสินใจ การประชุมของทีมงาน การประสานงาน ความร่วมมือ ความเป็นปึกแผ่นของทีม ปทัสถาน และค่านิยม การปฏิบัติตามข้อตกลง มิติในการพัฒนาทีมงาน 4 มิติ ทีมงาน ผลการปฏิบัติงาน กลยุทธ์ การพัฒนา โครงสร้าง บรรยากาศ การสนับสนุน การตอบแทนให้รางวัล วัฒนธรรมองค์การ องค์การ
ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาทีมงาน สมาชิกในทีมงานมีความเข้าใจชัดเจนว่า ทีมงานแต่ละคนจะมีการพึ่งพาอาศัยทีมงานคนอื่น ๆ อย่างไร ทีมงานสามารถปรับปรุงความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมได้ดีขึ้น ทีมงานมีเป้าหมายชัดเจน ไม่มีความขัดแย้ง ทีมงานมีความชัดเจนในเรื่องบทบาทและหน้าที่ ทีมงานมีการปรับปรุงวิธีการทํางาน เพื่อให้งานบรรลุความสําเร็จ ทีมงานมีข'อเสนอในการแก้ไขป?ญหาที่ดีกว่าข้อเสนอของผู้บริหาร
ทักษะในการสร้างทีมงาน ทักษะส่วนบุคคล การติดต่อสื่อสาร การปฏิสัมพันธ์ การเป็นผู้นำ การบริหารความขัดแย้ง
ทักษะในการสร้างทีมงาน ทักษะของกลุ่ม การสร้างความร่วมมือ การแก้ปันหาโดยทีมงาน การสร้างความขัดแย้งต้องกัน
แนวคิดและวิธีการพัฒนาทักษะสำหรับการสร้างทีมงาน ทักษะในการติดต่อสื่อสาร ทักษะในการปฏิสัมพันธ์ ทักษะในการเป็นผู้นำทีมงาน
แนวคิดและวิธีการพัฒนาทักษะสำหรับการสร้างทีมงาน ทักษะในการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ ทักษะในการประชุมของทีมงาน ทักษะในการขจัดปัญหาข้อขัดแย้ง
ปัญหาการสื่อสารที่เกิดจาก สาเหตุของความเครียด 1. เกิดจากตัวเอง------การตีความ การรับรู้ (Perception) ประสบการณ์ในอดีต (Past Experience) สังคมสนับสนุน (Social Support) บุคคลที่แตกต่างกัน (Individual differences)
2. ความเครียดจากงาน (Work Stressor) ขาดการสื่อสาร จากการศึกษาของ “The National Institute Of Occupational Safety and Health” ข้อมูลเบื้องต้นที่เป็นที่มาของความเครียด ภารกิจที่หนักเกินไป (Excessive Load work) ขาดการวางแผนตารางการทำงาน (Undesirables work schedules)สื่อสารไม่ชัดเจน
บทบาทผู้สร้างความเครียด ความขัดแย้งและความคุมเครือ (Role stressors, conflict And ambiguity) ขาดการติดต่อสื่อสาร ความปลอดภัยในสายงานอาชีพ (Career security) ป้องกันตัวเองไม่กล้าสื่อสาร ขาดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับงาน (Poor Interpersonal relationships at work) ขาดสายการบังคับบัญชาเพื่อมีการติดต่อสื่อสาร ไม่มีความสุขกับเงื่อนไขของงาน (Unpleasant job condition)
3. ความเครียดเกิดจากครอบครัวต่อการสื่อสาร คุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ การเงิน สุขภาพ
ปัญหาขาดการสื่อสารเกิดจากความขัดแย้ง ความขัดแย้งเกิดขึ้นได้ เมื่อมีความคิดเห็นที่ไม่ลงรอยกัน ด้วยเรื่องในเชิงเนื้อหาสาระหรือเชิงอารมณ์ ซึ่งก่อให้เกิดการกระทบกระทั่งกันได้ระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม
ความขัดแย้งกับการสื่อสาร ความขัดแย้งเกิดขึ้นได้ เมื่อมีความคิดเห็นที่ไม่ลงรอยกัน ด้วยเรื่องในเชิงเนื้อหาสาระหรือเชิงอารมณ์ ซึ่งก่อให้เกิดการกระทบกระทั่งกันได้ระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม
การติดต่อสื่อสารกับพนักงานให้มีประสิทธิภาพ ผู้บริหารระดับสูงต้องให้ความสำคัญกับการติดต่อสื่อสาร (The CEO must committed to the importance of communication) ผู้บริหารต้องมีการกระทำและคำพูดที่สอดคล้องกัน (Managers match actions and words) เงื่อนไขการติดต่อสื่อสารแบบสองทาง (Commitment to two way communication) การติดต่อสื่อสารแบบเผชิญหน้า (Emphasis on face-to-face communication)
การติดต่อสื่อสารกับพนักงานให้มีประสิทธิภาพ การแบ่งปันความรับผิดชอบสำหรับการติดต่อสื่อสารกับพนักงาน (Shared responsibility for employee communications) ความเกี่ยวข้องกับข่าวที่ไม่ดี (Dealing with bad news) การวางรูปแบบข่าวสารสำหรับผู้ฟังให้เหมาะสม (The message is shaped for its intended audience)
การมีปฏิสัมพันธ์ที่ส่งเสริมกันระหว่างสมาชิกภายในกลุ่ม (Face to Face Promotive Interdependence) การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนช่วยเหลือกัน มีการติดต่อสัมพันธ์กัน การอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด การอธิบายให้สมาชิกในกลุ่มได้เกิดการเรียนรู้ การรับฟังเหตุผลของสมาชิกในกลุ่ม การรับฟังเหตุผลของสมาชิกภายในกลุ่ม จะก่อให้เกิดการพัฒนากระบวนการคิดของผู้เรียน เป็นการเปิดโอกาสให้ ผู้เรียนได้รู้จักการทำงานร่วมกันทางสังคม จากการช่วยเหลือสนับสนุนกัน การเรียนรู้เหตุผลของกันและกัน
การใช้ทักษะการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและทักษะการทำงานแบบทีมงาน การมีทักษะทางสังคม (Social Skill) เพื่อให้สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข คือ มีความเป็นผู้นำ รู้จักตัดสินใจ สามารถสร้างความไว้วางใจ รู้จักติดต่อสื่อสาร และสามารถแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งในการทำงานร่วมกัน ซึ่งเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับการทำงานร่วมกันที่จะช่วยให้การทำงานกลุ่มประสบความสำเร็จ
เทคนิคเพื่อจัดการความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในกลุ่ม * การทำให้มั่นใจในการจำแนกคำถาม * การลดปัญหา ข้อขัดแย้งในกลุ่มเล็กทันทีที่เขาทั้งหลายได้พบ * การสร้างข้อควรปฏิบัติที่การเริ่มต้นของการมอบหมาย และใช้การชี้นำกระบวนการเรียนรู้ และเพื่อการประเมินงานเมื่อสิ้นสุดการทำงาน (Final Work) * การช่วยเหลือการสะท้อนกลับของนักเรียนในความก้าวหน้าของเขาทั้งหลายบนพื้นฐานโดยปกติ * การคาดหวังความเป็นเลิศ
ทักษะการเป็นผู้นำ Leadership Skill เพื่อให้หัวหน้างานเข้าใจบทบาทที่ตนได้รับการยอมรับจากลูกน้อง เพื่อให้หัวหน้างานพัฒนาความรู้และทักษะในการบริหารคน เพื่อให้หัวหน้างานปรับสไตล์การจัดการให้เหมาะสมกับพนักงาน
ทักษะการสอนงาน Coaching Skill เพื่อให้รู้ถึงวิธีและแนวทางในการพัฒนาและสอนงานให้ถูกต้องตรงตามลักษณะงาน และสอดคล้องกับการทำงาน เพื่อให้ตระหนักถึงบทบาทและหน้าที่ของตน และความจำเป็นในการสอนงานแบบ OJT เพื่อให้เรียนรู้หลักการและขั้นตอนการสอนงานและสามารถนำมาประยุกต์กับงานที่ตนปฏิบัติอยู่
การบริหารเวลา Time Management เพื่อให้หัวหน้างานได้ตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารเวลา เพื่อให้หัวหน้างานสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เวลาต่อกิจกรรมในงานต่างๆ ที่ประสบอยู่ เพื่อให้หัวหน้างานจัดการกับเวลาการทำงานที่มีอยู่อย่างเหมาะสมเพื่อเกิดประโยชน์สูงสุด
จิตวิทยาการบริหาร Psychology Management เพื่อให้หัวหน้างานเข้าใจจิตวิทยาการบริหาร ทั้งในภาคทฤษฎี และแนวทางการปฏิบัติ เพื่อให้หัวหน้างานได้เรียนรู้หลักการบริหารงานบริหารคน บทบาท และภาวะผู้นำ เพื่อให้หัวหน้างานรู้วิธีการสร้างแรงจูงใจในการทำงานและสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีในการทำงาน
หัวหน้างานยุคใหม่ควรมีกรอบความคิดในการทำงานอย่างไร การทำทุกสิ่งโดย “ให้ลูกค้าเป็นโจทย์” มีการวัดผลสำเร็จที่ลูกค้า และให้คุณภาพที่ดีกว่าคู่แข่งขัน มีการวัดผลและปรับปรุงการปฏิบัติงานตลอดเวลา ทำการวางแผนก่อนปฏิบัติงานจริง มีความรู้สึกเป็นเจ้าของร่วมกับองค์กร มีการทำงานโดยเริ่มจากการเปลี่ยนแปลงตนเองมากกว่าที่จะรอให้ตัวแปรรอบข้างเปลี่ยนแปลงแก้ไข
7 อย่า ที่ควรหลีกเลี่ยง ถ้าต้องการโน้มน้าว จูงใจลูกน้อง 7 อย่า ที่ควรหลีกเลี่ยง ถ้าต้องการโน้มน้าว จูงใจลูกน้อง 1.อย่า ดูถูกลูกน้อง หรือวิจารณ์ นินทาลูกน้องต่อหน้าบุคคลอื่น 2.อย่า ลืมให้ความสนใจลูกน้องอย่างสม่ำเสมอ 3.อย่า ลำเอียง 4.อย่า เห็นแต่ประโยชน์ส่วนตัว 5.อย่า ชิงดี ชิงเด่นกับลูกน้อง 6.อย่า ขาดความเชื่อมั่นในตนเอง 7.อย่า ละเลยคุณภาพ /มาตรฐานของงาน
ข้อเสนอแนะในการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สุภาพอ่อนโยน ให้เกียรติและมีความเคารพต่อบุคคลอื่น จดจำชื่อ-นามสกุล และรายละเอียดบางอย่างเกี่ยวกับบุคคลอื่นๆที่สำคัญให้แม่นยำ มีความจริงใจ มีความรับผิดชอบ
ความเป็น “ผู้นำ” หมายถึง ศิลปะ ในการใช้ ความสามารถ ที่จะทำให้บุคคลอื่น คล้อยตามเรา และทำตามเราอย่างเต็มใจ ในสิ่งที่เราต้องการจะให้เขาทำ คือ ผู้ที่สามารถทำให้บุคคลอื่นคล้อยตาม และทำตามอย่างเต็มใจ ในสิ่งที่ต้องการจะให้ทำ
ทักษะความเป็น “ผู้นำ” (Leadership Skill) การสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การมอบหมายงาน การควบคุม ติดตามงาน เทคนิคการแก้ปัญหา และตัดสินใจ
แบบของการเป็นผู้นำ 3 แบบ แบบเผด็จการ (อัตตาธิปไตย) จะเอาความคิดของตนเองเป็นใหญ่ ไม่ยอมฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ชอบออกคำสั่ง ไม่ชอบให้คนโต้แย้ง
แบบอิสระเสรี ไม่ค่อยจะยุ่งเกี่ยวกับลูกน้อง ไม่ชอบบังคับขู่เข็ญ ขอให้ทุกอย่างเป็นไปโดยปกติธรรมดาเป็นใช้ได้
แบบประชาธิปไตย ถือความเห็นส่วนใหญ่เป็นหลักไว้ก่อนเสมอ ชอบปรึกษาหารือ ชอบขอความเห็นลูกน้อง หรือผู้ร่วมงาน ให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นก่อนลงมติ กรณีมีผู้คัดค้าน จะถือเอาเสียงข้างมากเป็นเกณฑ์เสมอ
“ผู้นำ” แบบไหนดีที่สุด มิได้ขึ้นอยู่กับกฎเกณฑ์ หรือข้อกำหนดที่วางไว้ตายตัว แล้วแต่ความเหมาะสม ถูกต้องกับสถานการณ์ สรุป ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ของ สิ่งแวดล้อม กาลเวลา
หลักการพัฒนาตนเองให้เป็น “ผู้นำที่ดี” มี ความรู้ ในงานที่ตนเป็นหัวหน้าอยู่ และความรอบรู้ในเรื่องต่างๆ มี การวางแผนงาน การปฏิบัติในหน่วยงานไว้ให้ชัดเจน รู้จัก รับผิดชอบ ผลงานการปฏิบัติของหน่วยงาน จะต้องให้ผู้ใต้บังคับบัญชา รู้ในสิ่งที่ควรรู้ รอบรู้ / ฝึกในเรื่องมนุษยสัมพันธ์ ฝึก ความคุ้นเคย และดูแล สวัสดิ ภาพของ ผู้ใต้บังคับบัญชา
7. ต้องควบคุมการปฏิบัติให้เป็นไปตามความมุ่งหมายของคำสั่งที่สั่งออกไป 8 7. ต้องควบคุมการปฏิบัติให้เป็นไปตามความมุ่งหมายของคำสั่งที่สั่งออกไป 8. ปลูกผัง / ส่งเสริม ความรับผิดชอบให้เกิดแก่ผู้ใต้บังบัญชา 9. ยอมรับความคิดใหม่ด้วยความไว 10. มีความคิดริเริ่มเสมอ 11. เป็นตัวอย่างที่ดีแก้ผู้ใต้บังคับบัญชา 12. เสริมเทคนิคที่จะให้เกิดความสามัคคี ขึ้นภายในหน่วยงาน
ความแตกต่างระหว่างการเรียก “เจ้านาย”กับ “ผู้นำ” ผลักดัน จี้ ใช้อำนาจ ชอบสั่ง “พวกคุณ” ตัดปัญหา รู้วิธีทำงาน แนะนำ กระตุ้น จูงใจ ปรึกษาหารือ “พวกเรา” แก้ปัญหา ลงมือทำเองได้ด้วย
ลักษณะเด่นของบุคคลผู้เป็น “ผู้นำที่ดี” ต้องมีความสุขใจที่เห็นบุคคลอื่นพัฒนาได้ภายใต้การแนะนำ และอำนวยการของตน แต่มิใช่อยู่ภายใต้การบีบบังคับมากเกินไป การออกคำสั่ง หรือ การอำนวยการกระทำอย่างเปิดเผย และเฉียบขาดในทุกกรณี มีความกล้าในทางที่ถูกต้อง สร้างอารมณ์ขันเป็นคุณสมบัติประจำตัว มีความรู้สึกรับผิดชอบต่องาน (อุทิศกำลังกาย สมอง เวลาอย่างแท้จริง) มีความเข้าใจในธรรมชาติความเป็นมนุษย์ของบุคคลได้อย่างลึกซึ้ง เลือกใช้บุคคลได้ตรงกับความสามารถของแต่ละบุคคล
บทสรุป... คุณสมบัติ และการปฏิบัติตนตามแนวทางที่นำเสนอมาทั้งหมดจะทำให้บุคลากรในองค์การทำงานอย่างมีความสุข และสนุกกับงาน จนสามารถประสบผลสำเร็จในชีวิตส่วนตัว และชีวิตการทำงาน ทำงานที่ไหน อยู่กับคนได้อย่างมีความสุข และสร้างความสุขให้ผู้อื่นแล้วจะเจริญก้าวหน้าทุกท่าน ชีวิตมีสุข สังคมสงบสุขและสันติสุขบังเกิดตลอดไป