ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
Advertisements

CS Assembly Language Programming
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
Introduction to Computer organization & Assembly Language
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
Chapter 5 Elementary C++ Programming Dept of Computer Engineering Khon Kaen University.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม
PowerPoint Introduction to Computer Information Science KANOKWATT SHIANGJEN.
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
การใช้งาน Microsoft Excel
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
หลักการแก้ปัญหา อย่างมีขั้นตอน การแก้ปัญหาด้วย กระบวนการทาง เทคโนโลยี สารสนเทศ หลักการ แก้ปัญหา การใช้หลักการใน การแก้ปัญหา.
MTH 261 File Management. File Management File Management จะอธิบายเกี่ยวกับการเขียน ส่วนจัดการแฟ้มข้อมูล เราสามารถที่จะเขียน โปรแกรมเพื่อเรียกใช้แฟ้มข้อมูลที่เรามี
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
เนื่องจากในปัจจุบันโลกของเรา พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มี หลากหลายชนิดหลากหลายแบบและมีการทำมาเพาะปลูกทั้ง การเพาะปลูกเพื่อบริโภค การเพาะปลูกเพื่อความสวยงาม.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
เรื่อง ภาษาซีเบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
copyright All Rights Reserved
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
รายวิชา อัลกอริทึมและการเขียนโปรแกรม (Algorithm and Programming)
ภาษาคอมพิวเตอร์ อาจารย์สมเกียรติ ช่อเหมือน
บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และ การโปรแกรม
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
หลักการโปรแกรม อ.ธนากร อุยพานิชย์.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Introduction to VB2010 EXPRESS
ภาษาวิชวลเบสิก (Visual Basic language).
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
โครงสร้างโปรแกรมภาษา C
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
สื่อการสอนรายวิชา ง30204 โปรแกรมภาษาชี ภาษาคอมพิวเตอร์และโปรแกรม
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
+ Software บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ระบบสารสนเทศ Hardware
ภาษาคอมพิวเตอร์ (Computer Language)
ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ Electronic Book System
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
introduction to Computer Programming
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
บทที่ 1 ภาษาคอมพิวเตอร์และ การโปรแกรม
ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรม
Lecture no. 1: Introduction to Computer and Programming
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
ภัยคุกคาม ที่เกิดขึ้นในระบบสารสนเทศ
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
การเขียนโปรแกรม ด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบภาษาเชิงวัตถุ
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
Computer Game Programming
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม November 30, 2018 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม Kitsana Waiyamai 204111: Introduction to programming

การเขียนโปรแกรม / ซอฟต์แวร์ คือ? การสร้างชุดคำสั่งซึ่งบอกการทำงานเป็นขั้นตอนเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงาน และให้ผลลัพธ์ตามคำสั่งนั้น โดยคำสั่งนี้เขียนอยู่ในรูปแบบของภาษาคอมพิวเตอร์

Computer Languages ยุคของภาษาคอมพิวเตอร์ มีทั้งหมด 5 ยุค คือ November 30, 2018 Computer Languages ยุคของภาษาคอมพิวเตอร์ มีทั้งหมด 5 ยุค คือ ภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลี ภาษาระดับสูง ภาษาระดับสูงมาก ภาษาธรรมชาติ Kitsana Waiyamai 204111: Introduction to programming

ยุคที่ 1 ภาษาเครื่อง กำเนิดมาพร้อมกับคอมพิวเตอร์ November 30, 2018 ยุคที่ 1 ภาษาเครื่อง กำเนิดมาพร้อมกับคอมพิวเตอร์ เป็นภาษาที่เครื่องเข้าใจได้ โดยตรง เป็นที่มาของคำว่า code ซึ่งปัจจุบันหมายถึง ข้อความที่ประกอบขึ้นเป็นโปรแกรมในภาษาใด ๆ (program text) เป็นภาษาระดับต่ำ มนุษย์ทำความเข้าใจได้ยาก ทำงานเร็ว ตัวอย่างบางส่วนของโค้ด 00000010101111001010 00000010111111001000 00000011001110101000 บวกเลขในตำแหน่งที่ 10 กับเลขในตำแหน่งที่ 11 แล้วเก็บผลลัพธ์ไว้ในตำแหน่งที่ 12 Kitsana Waiyamai 204111: Introduction to programming

ยุคที่ 2 ภาษาสัญลักษณ์ Program November 30, 2018 ยุคที่ 2 ภาษาสัญลักษณ์ Program 1: M[0] := 0; 2: read(M[1]) 3: if M[1] > 0 then goto 5 4: goto 7 5: M[3] := M[0] - M[1]; 6: if M[3] > then goto 16 7: writeln(M[1]) 8: read(M[2]) 9: M[3] := M[2] - M[1]; 10: if M[3] > then goto 12 …. 16: halt เนื่องจากภาษาเครื่องเข้าใจยาก และภาษาอังกฤษใช้คำมากเกินกว่าที่จะใช้ในการแสดงความหมาย (verbose) สร้างภาษา Assembly โดยใช้สัญลักษณ์และชื่อแทนโค้ดจริง เป็นภาษาระดับต่ำที่อ่านเข้าใจได้ง่ายขึ้น เป็นภาษาที่ขึ้นอยู่กับเครื่อง Machine address A program = sequence of instructions - assignment - input/output - control flow input file = sequence of value by read instructions output file = sequence of value by write instructions Execution begin with first instruction flows from one to the next except goto, if Kitsana Waiyamai 204111: Introduction to programming

1:1 Assembly code Assembler Object code November 30, 2018 Kitsana Waiyamai 204111: Introduction to programming

ยุคที่ 3 ภาษาระดับสูง ใช้สัญลักษณ์ที่คุ้นเคยและอ่านเข้าใจง่าย November 30, 2018 ยุคที่ 3 ภาษาระดับสูง ใช้สัญลักษณ์ที่คุ้นเคยและอ่านเข้าใจง่าย สามารถนำโปรแกรมไปรันบนเครื่องที่ต่างกันโดยทำการ แก้ไขโค้ดเล็กน้อยหรือไม่ต้องแก้ไขเลย (portability / machine independence) มีชุดคำสั่งโปรแกรมให้ใช้ (program libraries) มีการตรวจสอบข้อผิดพลาด (error) ในช่วงที่ทำการเขียน (implementation) Fortran is the first high level language. Unix orginally written in assembly was rewrite in C in 1973. - new users and programs - readability - portabiliy Kitsana Waiyamai 204111: Introduction to programming

November 30, 2018 ภาษายุคที่ 3 เป็นภาษาแรกที่มีใช้คำสั่งคล้ายกับประโยคในภาษาอังกฤษ ทำให้ใช้งานง่ายกว่าภาษาในยุคก่อน มีคุณสมบัติ portable ทำให้สามารถนำ object code ที่สร้าง (compile) จากระบบหนึ่งไปใช้ระบบที่ต่างกันได้ ภาษาที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ Basic, Cobol, Pascal, C Kitsana Waiyamai 204111: Introduction to programming

ภาษายุคที่ 4 ภาษาระดับสูงมาก November 30, 2018 ภาษายุคที่ 4 ภาษาระดับสูงมาก เป็นภาษาเหมาะกับงานเฉพาะด้านและใช้งานง่ายกว่า 3GL ใช้ลักษณะ text-based environment (คล้าย 3GL) โปรแกรมเมอร์สามารถใช้ visual environment ได้โดยใช้เครื่องมือทางด้านกราฟิก ทำให้สร้าง Prototype หรือ GUIของโปรแกรมได้รวดเร็ว ส่วนใหญ่เป็นโปรแกรมที่รวบรวมการจัดการฐานข้อมูลด้วย ภาษาที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ Visual C++, Delphi, Visual Basic, JAVA, C# Kitsana Waiyamai 204111: Introduction to programming

ภาษายุคที่ 5 ภาษาธรรมชาติ November 30, 2018 ภาษายุคที่ 5 ภาษาธรรมชาติ เป็นภาษาที่รวมเอาปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) และระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert Systems) มาใช้ในการสร้างโปรแกรม? ระบบคิดและมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของผู้ใช้? เป็นการหาคำตอบ, คำแนะนำที่เหมาะสำหรับคำถามที่ผู้ใช้ป้อน? ภาษาที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ Lisp, Prolog Kitsana Waiyamai 204111: Introduction to programming

Language translator Hello World! _ …… Machine language Interpreter / Compiler …… main: pushl %ebp movl %esp, %ebp subl $8, %esp andl $-16, %esp movl $0, %eax subl %eax, %esp pushl $.LC0 …….. …. 00011000110001110 00110001110101111 00011111111110001 11011100001011011 …… Assembler class MainClass { public static void Main(string[] args) Console.WriteLine("Hello World!"); } Machine Machine language High-level language Assembly language Hello World! _

The translation Process Compiler Executable Program Source Program

Compiler อ่านทั้งโปรแกรมในครั้งเดียว แปลงให้เป็นไฟล์ที่สามารถใช้งานได้ (machine language) library Compiler Linker …. writeln(‘a’); writeln(‘b’); writeln(‘c’); object file Source a b c …. 0100100 0100101 0100101 ..... Exe file

Interpretation Method Process Source Program Interpreter (on computer) Output

Interpreter อ่านภาษาระดับสูง แปลคำสั่ง แล้วทำงานตามคำสั่งนั้นๆ ทำตามด้านบนทีละคำสั่ง Inter- preter a b c …. writeln(‘a’); writeln(‘b’); writeln(‘c’); 0100100 0100101 0100110 Source

กระบวนการพัฒนาโปรแกรม November 30, 2018 กระบวนการพัฒนาโปรแกรม การวิเคราะห์ความต้องการ / นิยามปัญหา (Needs analysis) การออกแบบระบบ (System Design) การดำเนินการ / พัฒนา (Development) การนำไปใช้ (Implementation) การบำรุงรักษา (Maintenance) Kitsana Waiyamai 204111: Introduction to programming