ครั้งที่ 2 การบวกลบเลขฐานสอง (Binary Addition-Subtraction)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตารางค่าความจริง คือ อะไร
Advertisements

พีชคณิตบูลีน Boolean Algebra.
Combination Logic Circuit
Boolean algebra George Boole ( ) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษผู้คิดค้น
Number Representations
PARITY GENERATOR & CHECKER
NUMBER SYSTEM Decimal number system (10) Noval number system (9)
Arithmetic circuits Binary addition Binary Subtraction
เอ้า....มองย้อนดูกัน ไร้สาระลามกจกเปรต  ทั้งอุบาทว์น่าสมเพชทั้งหลาย สั่งรุ่นน้องเหมือนเป็นวัวเป็นควาย เป็นรุ่นพี่สมองคิดได้เท่านั้นหรือ  รุ่นน้องๆปีหนึ่งต้องปรับตัว.
เกท (Gate) AND Gate OR Gate NOT Gate NAND Gate NOR Gate XNOR Gate
การวิเคราะห์และสังเคราะห์เกต
พีชคณิตบูลีน และการออกแบบวงจรลอจิก (Boolean Algebra and Design of Logic Circuit)
Operators & Expression ธนวัฒน์ แซ่ เอียบ. Arithmetic Operators OperationOperatorExample Value of Sum before Value of sum after Multiply *sum = sum * 2;
Introduction to Computer Organization and Architecture Physical Representation บทที่ 2 การแทนเชิง กายภาพ.
ค32214 คณิตศาสตร์สำหรับ คอมพิวเตอร์ 4
อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ Input&Output เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นาย ภคินนัย ชมภูนุช ม.4/1 เลขที่ 8 นางสาว ฟ้ารุ่ง วะสาร ม.4/1 เลขที่ 27 นางสาว รัฐภัทร บุญทัน.
Z80 & Assembly Language. การจัดขาของ CPU Z-80 Memory Design.
ว่าที่ ร.ต.หญิงวรรณธิดา วรสุทธิพงษ์ ครูแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
สัญญา หลักประกันและ การบริหารสัญญา
การเขียนจดหมายธุรกิจ
หน่วยที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
เครื่องมือวัดดิจิตอล
Chapter 1 Mathematics and Computer Science
หลักการลดรูปฟังก์ชันตรรกให้ง่าย
ครั้งที่ 3 การวิเคราะห์ และ ออกแบบวงจรเกต
Number system (Review)
ครั้งที่ 1 ระบบตัวเลข & ลอจิกเกต (Number Systems & Logic Gates)
เครื่องมือวัดอิเล็กทรอนิกส์
Two-Variable K-Map K-Map = Karnaugh map ตัวอย่างฟังก์ชัน input input.
บทที่ 5 แบบจำลองกระบวนการ
Half Adder Full Adder Carry Propagation P คือ Carry Propagate G คือ Carry Generate.
ครั้งที่ 4 การลดรูปสมการบูลลีน Quine McCluskey Method
Chapter 9 โปรแกรมสำเร็จรูปกับการวิเคราะห์ข้อมูล
Flip-Flop บทที่ 8.
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
การประยุกต์เข้ากับวงจรทางคณิตศาสตร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
การลดรูป Logic Gates.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การประเมินผลงานวิชาการ และการขอรับเงิน พ.ต.ก.
Flip-Flop บทที่ 8.
Flip-Flop บทที่ 8.
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
การจัดการศูนย์สารสนเทศ
Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology
Problem Solving ขั้นตอนวิธีและการแก้ปัญหาสำหรับวิทยาการคอมพิวเตอร์
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
5 แบบจำลองกระบวนการ Process Modeling
Binary Numbers Hexadecimal Numbers
หมวด 6.2 กระบวนการสนับสนุน
Controlled Phase Shift Gate
บทที่ 10 การค้นหาข้อมูล (Searching)
หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
ระบบตัวเลข, Machine code, และ Register
Timing diagram ปรับปรุง 19 มีนาคม
(เครื่องมือทางการบริหาร)
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
บทที่ 15 พัลส์เทคนิค
อุทธรณ์,ฎีกา.
ขั้นตอนการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
การควบคุมการผลิตสินค้าและบริการ
CPE 332 Computer Engineering Mathematics II
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
ประเด็นการขับเคลื่อนองค์การไปสู่ระบบราชการ 4.0
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
Basic Combinational Circuits
การวิเคราะห์โจทย์ปัญหา (Problem Analysis)
การพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นองค์กรหลัก ระดับอำเภอ ปี
การจำลองความล้นเกินของงาน
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ครั้งที่ 2 การบวกลบเลขฐานสอง (Binary Addition-Subtraction) Binary Subtraction Adder สมการ วงจร ตารางความจริง

การบวกเลขฐานสอง (Binary Addition) [1] การบวกเลขฐานสองนั้นใช้หลักการเดียวกับการบวกเลขฐานสิบที่เราคุ้นเคยกัน โดยพิจารณาจากเลขที่จะบวกกันในแต่ละหลัก หากเป็นการบวกเลขหลักเดียวก็ทำการบวกได้เลย แต่หากเป็นการบวกเลขที่มีขนาดหลายหลัก การบวกให้เริ่มจากการบวกระหว่างหลักขวาสุดก่อน ในการบวกหากมีตัวทดเกิดขึ้นก็ให้นำไปบวกเพิ่มในการบวกระหว่างเลขหลักถัดไปทางซ้าย และทำเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนหมด ตัวทดที่เกิดจากกาบวกของหลักสุดท้าย (หากมี) จะนำไปเขียนเป็นหลักซ้ายสุดของผลลัพธ์

การบวกเลขฐานสอง (Binary Addition) [2] การบวกเลขฐานสองแต่ละหลักมีกฎการบวกดังนี้ ตัวตั้ง ตัวบวก ผลบวก ตัวทด 0 + 0 0 0 0 + 1 1 0 1 + 0 1 0 1 + 1 0 1

การบวกเลขฐานสอง (Binary Addition) [3] ตัวอย่าง จงบวก 111102 และ 11002 ตัวทด 1 1 1 ตัวตั้ง 1 1 1 1 0 ตัวบวก 1 1 0 0 ผลรวม 1 0 1 0 1 0 ตรวจสอบ 1 1 1 3010 + + 1210 1 1 1 4210

การบวกเลขฐานสอง (Binary Addition) [4] จากตัวอย่างการบวกจะพบว่า การบวกเลขฐานสองนั้นมี 2 ลักษณะคือ 1. การบวกที่มีตัวตั้งกับตัวบวก ใช้ในการบวกหลักขวาสุด เรา เรียกการบวกลักษณะนี้ว่า Half Addition 2. การบวกที่มีตัวตั้งกับตัวบวกและตัวทดจากหลักต่ำกว่า ใช้ ในการบวกหลักที่สองนับจากทางขวา ไปจนถึงหลักที่ อยู่ซ้ายสุด เราเรียกการบวกในลักษณะนี้ว่า Full Addition

การบวกเลขฐานสอง แบบ Half - Addition Input Output A (ตัวตั้ง) B (ตัวบวก) CO (ตัวทดออก) Sum (ผลรวม) 1 1 1 1

การบวกเลขฐานสอง แบบ Full - Addition Input Output Cin A B Co Sum 1

การลบเลขฐานสอง (Binary Subtraction) [1] การลบเลขฐานสองนั้นก็ใช้หลักการเดียวกับการลบเลขฐานสิบเช่นเดโดยเริ่มจากการลบหลักขวาสุดก่อน หากเป็นการลบเลขหลักเดียวก็ทำการลบได้เลย หากเป็นการลบระหว่างเลขหลายหลักนั้น หากตัวลบมากกว่าตัวตั้ง ต้องมีการยืมจากหลักที่สูงกว่าถัดไปมาใช้ และเมื่อมีการยืมเกิดขึ้นต้องนำตัวยืมไปลบกับตัวตั้งของหลักถัดไปก่อนที่จะนำตัวลบมาลบออก ทำเช่นนี้ไปเรื่อยๆ จนหมด

การลบเลขฐานสอง (Binary Subtraction) [2] การลบเลขฐานสองแต่ละหลักมีกฎการลบดังนี้ ตัวตั้ง ตัวลบ ผลต่าง ตัวยืม 0 - 0 0 0 0 - 1 1 1 1 - 0 1 0 1 - 1 0 0

การลบเลขฐานสอง (Binary Subtraction) [3] ตัวอย่าง จงลบ 10012 จาก 100112 ตัวยืม 10 ตัวตั้ง 1 0 0 1 1 ตัวลบ 1 0 0 1 ผลต่าง 0 1 0 1 0 ตรวจสอบ 10 / 1910 - - 910 1 1 1010

การลบเลขฐานสอง (Binary Addition) [4] จากตัวอย่างการลบจะพบว่า การลบเลขฐานสองนั้นมี 2 ลักษณะคือ 1. การลบที่มีตัวตั้งกับตัวลบ ใช้ในการลบหลักขวาสุด เรา เรียกการลบนี้ว่า Half Subtraction 2. การบวกที่มีตัวตั้งกับตัวลบและตัวยืมที่หลักต่ำกว่าถัดไปมา ยืมไปใช้ ใช้ในการลบหลักที่สองนับจากทางขวา ไป จนถึงหลักที่อยู่ซ้ายสุด เราเรียกการลบนี้ว่าว่า Full Subtraction

การลบเลขฐานสอง แบบ Half - Subtraction Input Output A (ตัวตั้ง) B (ตัวลบ) BO (ตัวยืมออก) Sum (ผลต่าง) 1 1 1 1

การลบเลขฐานสองแบบ Full Subtraction Input Output Bori A B Boro Diff 1

การลบเลขฐานสองโดยใช้วิธี Complement การลบเลขฐานสองนั้นนอกจากการนำเอาตัวลบไปลบออกจากตัวตั้งโดยตรงตามวิธีการที่กล่าวมาแล้ว เรายังสามารถลบเลขฐานสองได้โดยใช้วิธีการของการหาคอมพลีเมนท์ของตวเลขมาประกอบกับการบวกเพื่อหาผลลบได้

1’s Complement ของเลขฐานสอง คอมพลีเมนท์ของเลขฐานสองมี ชนิด คือ 1’s complement และ 2’s complement 1’s complement ของเลขฐานสอง เป็นการนำเลขฐานสองนั้นมาทำการกลับค่าของแต่ละบิตให้มีค่าตรงกันข้าม ( 0 เป็น 1 และ 1 เป็น 0) บิตต่อบิต เช่น 1’s complement ของ 1011101 คือ 0100010

2’s Complement ของเลขฐานสอง 2’s complement ของเลขฐานสอง เป็นการนำเลขฐานสองนั้นมาทำ 1’s complement แล้วบวกผลที่ได้จากการทำ 1’s complement ด้วย 1 2’s complement ของ 1011101 คือ 1’s complement ของ 1011101 = 0100010 บวกด้วย 1 ซึ่งเท่ากับ 0100011

การลบเลขฐานสองโดยใช้วิธี 1’s Complement 2.1 ถ้าเกิดตัวทดจากการบวกหลักซ้ายสุดแสดงว่าคำตอบมีค่าเป็นบวก เราหาคำตอบได้โดยนำบิตตัวทดที่เกิดขึ้นไปบวกกับผลที่ได้จาก การบวกในตอนแรก (End-around carry / EAC) 2.2 ถ้าไม่มีตัวทดเกิดขึ้นจากการบวกหลักซ้ายสุดแสดงว่าคำตอบมีค่า เป็นลบ (ติดลบ) เราหาคำตอบได้โดยนำผลที่ได้ไปแปลงเป็น 1’s complement อีกครั้ง

ตัวอย่างที่ 1 การลบเลขฐานสองโดยใช้วิธี 1’s Complement ตรวจคำตอบ 25 – 17 = 8 - 1 1 0 0 1 1 0 0 0 1 + 1 1 0 0 1 0 1 1 1 0 1 0 0 1 1 1 EAC Overflow + 0 0 1 1 1 1 + 1 0 0 0

ตัวอย่างที่ 2 การลบเลขฐานสองโดยใช้วิธี 1’s Complement ตรวจคำตอบ 11 – 5 = 6 - 1 0 1 1 1 0 1 + 1 0 1 1 1 0 1 0 1 0 1 0 1 EAC Overflow + 0 1 0 1 1 + 1 1 0

ตัวอย่างที่ 3 การลบเลขฐานสองโดยใช้วิธี 1’s Complement ตรวจคำตอบ 5 – 24 = -19 - 1 0 1 1 1 0 0 0 + 1 0 1 0 0 1 1 1 0 1 1 0 0 1’s complement No Overflow -1 0 0 1 1

ตัวอย่างที่ 4 การลบเลขฐานสองโดยใช้วิธี 1’s Complement ตรวจคำตอบ 16 – 29 = -13 - 1 0 0 0 0 1 1 1 0 1 + 1 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 0 1 0 1’s complement No Overflow -0 1 1 0 1

การลบเลขฐานสองโดยใช้วิธี 2’s Complement พิจารณาผลลัพธ์ที่ได้ I I I. ถ้าเกิดตัวทดจากการบวกแสดงว่าคำตอบมีค่าเป็นบวก เราหาคำตอบได้โดยนำผลบวกที่ได้มาเป็นคำตอบ บิตตัวทดที่เกิดขึ้นให้ทิ้งไป IV. ถ้าผลที่ได้ไม่มีตัวทดแสดงว่าคำตอบมีค่าเป็นลบเป็นลบ (ติดลบ) หาคำตอบได้โดยนำผลบวกที่ได้ไปแปลงเป็น 2’s complement อีกครั้ง

ตัวอย่างที่ 1 การลบเลขฐานสองโดยใช้วิธี 2’s Complement ตรวจคำตอบ 11 – 4 = 7 - 1 0 1 1 1 0 0 + 1 0 1 1 1 1 0 0 1 0 1 1 1 Overflow Ignore the Overflow + 0 1 1 1

ตัวอย่างที่ 2 การลบเลขฐานสองโดยใช้วิธี 2’s Complement ตรวจคำตอบ 18 – 24 = -6 - 1 0 0 1 0 1 1 0 0 0 + 1 0 0 1 0 0 1 0 0 0 2’s complement 1 1 0 1 0 No Overflow + 0 0 1 0 1 1 - 1 1 0

ตัวอย่างที่ 3 การลบเลขฐานสองโดยใช้วิธี 2’s Complement ตรวจคำตอบ 9 – 21 = -12 - 1 0 0 1 1 0 1 0 1 + 1 0 0 1 0 1 0 1 1 2’s complement 1 0 1 0 0 No Overflow + 0 1 0 1 1 1 - 1 1 0 0

วงจรดิจิตอล การวิเคราะห์วงจร (Analysis) และ การออกแบบวงจร (Design) ในการศึกษาเกี่ยวกับวงจรทางไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์นั้น เราศึกษาใน 2 ลักษณะ คือ การวิเคราะห์วงจร (Analysis) และ การออกแบบวงจร (Design)

การวิเคราะห์วงจร ในการวิเคราะห์วงจรนั้น มักเป็นการศึกษาวงจรที่มีอยู่แล้วว่าวงจรทำงานอะไร ซึ่งมักจะเป็นการหาสมการ หรือ ตารางความจริงของวงจรนั้น ๆ นั่นเอง เราได้เรียนมาแล้วถึงการทำงานของเกตพื้นฐานที่เราสามารถเขียนแทนได้ด้วยสมการหรือตารางความจริงได้ วงจรตรรกนั้นประกอบขึ้นจากเกตจำนวนหลายตัวที่เราสามารถเขียนแสดงการทำงานได้โดยพิจารณาค่าที่ output ของเกตแต่ละตัวไปเรื่อย ๆ จากตัวแรกไปจนกระทั่งตัวสุดท้ายที่สามารถเขียนออกมาเป็นตารางความจริงได้

การออกแบบวงจร ในการออกแบบวงจรนั้น เป็นการหาวงจรตรรกตามการทำงานที่ต้องการ ซึ่งส่วนใหญ่แล้วก็จะใช้วิธีการเขียนตารางความจริงของการทำงานที่ต้องการขึ้นก่อน แล้วจึงสร้างวงจรจากตารางความจริงที่เขียนขึ้น สำหรับวิธีการในการออกแบบจะกล่าวต่อไป

ความสัมพันธ์ระหว่างสมการกับวงจร ทั้งในการวิเคราะห์หรือออกแบบวงจรนั้น เราใช้สมการมาช่วย เราจึงต้องศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างสมการกับวงจรก่อน การเขียนสมการจากวงจร การเขียนวงจรจากสมการ

ความสัมพันธ์ระหว่างสมการกับวงจร วงจรเกตพื้นฐานต่าง ๆ สามารถเขียนอธิบายการทำงานออกมาเป็นสมการได้ ดังนั้น ถ้ามีวงจรใด ๆ ที่ประกอบขึ้นจากเกตหลาย ๆ ตัว เราก็สามารถเขียนเป็นสมการได้เช่นเดียวกันดังนี้

ความสัมพันธ์ระหว่างสมการกับวงจร ในทางตรงกันข้าม หากเรามีสมการก็สามารถที่จะเขียนวงจรได้เช่น สมการ สามารถเขียนเป็นวงจรได้ดังนี้

ตารางความจริง (Truth table) นอกจากสมการที่ใช้แสดงการทำงานของวงจรในรูปของพีชคณิตแล้ว เรายังสามารถใช้ตารางความจริงแสดงการทำงานของวงจรได้ โดยตารางความจริงจะแสดงค่า output (0 หรือ 1) ในทุกค่าที่เป็นไปได้ของ input เช่น output มีค่า 1 เมื่อ input ทั้งสามมีค่าเป็น 1 เป็นต้น แต่ค่าเหล่านี้จะแสดงออกมาในรูปตาราง

ตารางความจริงและสมการตรรก ตารางความจริงและสมการตรรกหรือสมการบูลลีนสามารถใช้แสดงถึงการทำงานของวงจรตรรกได้ ในการใช้งานนั้นบางครั้งเราอาจมีตารางความจริงที่ต้องเปลี่ยนเป็นสมการก่อน หรือบางครั้งเราอาจจะมีสมการที่ต้องเปลี่ยนเป็นตารางความจริงเสียก่อนจึงจะเหมาะสมกับการใช้งานเราจึงต้องเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างตารางความจริงกับสมการ หากมีตารางความจริงเราต้องสามารถเขียนเป็นสมการได้ หรือในทางกลับกัน หากมีสมการเราก็สามารถเขียนตารางความจริงได้

การเขียนสมการตรรกจากตารางความจริง เรามีวิธีการเขียนสมการจากตารางความจริงได้โดยใช้วิธีพื้นฐาน 2 วิธีได้แก่ - Sum of Product (SOP) การ OR กันของเทอมที่ AND กัน - Product of Sum (POS) การ AND กันของเทอมที่ OR กัน

Sum of Product Sum of Product เป็นวิธีการหาสมการจากตารางความจริง โดยสมการที่ได้จะอยู่ในรูปของการ OR (Sum)กันของเทอมที่ AND (Product) กันมาแล้ว ในการเขียนสมการนั้น ให้ดูจาก Output ตัวที่มีค่าเป็น 1 ในตารางความจริง (Truth Table) ว่าเกิดจากค่า Input แต่ละตัวเป็นอย่างไร แล้ว เขียนนิพจน์ในรูปของค่าของ Input ออกมา จากนั้นนำเอานิพจน์ที่ได้ของแต่ละ Output มา OR กัน ก็จะได้ค่าของสมการของ Output

Sum of Product วิธีการเขียนนิพจน์นั้น ให้ดูว่า Output ที่กำลังพิจารณาว่าเกิดจากค่า Input ที่มีค่า 0 หรือ 1 หาก Input มีค่า 0 ก็นำค่า Invert ของ Input นั้นมาใช้ หาก Input มีค่า 1 ก็นำค่า Input นั้นมาใช้ โดยนำค่าของ Input ที่ได้ทั้งหมดมา AND กันเป็นค่าของนิพจน์แต่ละตัว ในการเขียนสมการนั้น หากตารางความจริงเป็นตารางความจริงที่มีหลาย Output เราต้องแยกเขียนเป็นสมการสำหรับแต่ละ Output โดยพิจารณาจาก Input ชุดเดียวกัน

Sum of Product [3] ตัวอย่างที่ 1 จงเขียนสมการบูลลีนจากตารางค่าความจริงต่อไปนี้ I/P O/P A B Y 1

Sum of Product [4] ตัวอย่างที่ 2 จงเขียนสมการบูลลีนจากตารางค่าความจริงต่อไปนี้ Input Output C B A Y 1

Sum of Product [5] ตัวอย่างที่ 3 จงเขียนสมการบูลลีนจากตารางค่าความจริงต่อไปนี้ Input Output C B A X Y 1

Product of Sum Product of Sum เป็นวิธีการหาสมการจากตารางความจริง โดยสมการที่ได้จะอยู่ในรูปของการ AND (Product) กันของเทอมที่ OR (Sum) กันมาแล้ว ในการศึกษาของเรา เราจะกล่าวถึงเฉพาะวิธีการ Product of Sum เพราะเป็นวิธีการที่ได้รับความนิยมใช้งานกันแพร่หลาย

การเขียนตารางความจริงจากสมการตรรก การเขียนตารางความจริงจากสมการตรรกนั้น วิธีการจะตรงกันข้ามกับการเขียนสมการจากตารางความจริง โดยเริ่มจากการดูว่าสมการนั้นอยู่ในรูปแบบใดระหว่าง SOP และ POS หากสมการเป็น POS เทอมแต่ละเทอมจะเมีค่า Output ในตารางความจริงเป็น 1 Output ในบรรทัดอื่นที่ไม่มีเทอมในสมการจะมีค่า 0 หากสมการเป็น SOP เทอมแต่ละเทอมจะเมีค่า Output ในตารางความจริงเป็น 0 Output ในบรรทัดอื่นที่ไม่มีเทอมในสมการจะมีค่า 1

การสร้างวงจรจากตารางความจริง การสร้างวงจรจากตารางความจริงนั้น เราสามารถสร้างได้โดยดูจากตารางความจริงว่าตรงกับเกตชนิดใด เราก็เขียนเป็นวงจรของเกตชนิดนั้นได้เลย วิธีการนี้หากวงจรเป็นการประกอบขึ้นจากเกตหลายตัว เราอาจไม่สามารถพิจารณาได้ว่าเป็นเกตอะไรบ้างมาประกอบกัน ต้องอาศัยวิธีการเขียนสมการบูลลีนช่วย แล้วจึงเขียนวงจรจากสมการ

การสร้างวงจร Half-Adder [1] B Sum Co (Carry Out) Input Output A B Sum Co 1

การสร้างวงจร Half-Adder [1] จากตัวอย่างจะพบว่าเราสามารถพิจารณาจากค่า Output ของตารางความจริงได้ว่า ค่า Sum นั้นมีการทำงานเหมือนการทำงานของ EX-OR gate และ ค่า Carry นั้นมีการทำงานเหมือนการทำงานของ AND gate ฉะนั้นเราจึงเขียนวงจรได้ดังรูป โดย gate ทั้งสองมี Input ชุดเดียวกัน วิธีการนี้เป็นการสร้างวงจรจากการพิจารณาดูค่า Output ในตารางความจริง ซึ่งทำได้ในกรณีที่เป็นวงจรง่าย ๆ ในกรณีนี้ เราสามารถใช้วิธีการทางสมการในการสร้างวงจรได้ดังตัวอย่าง

การสร้างวงจร Half-Adder [1] B Sum Co (Carry Out) Input Output A B CO Sum 1

การสร้างวงจร Full-Adder [1] B Sum Co Cin Input Output Cin A B Co Sum 1

การสร้างวงจร Full-Adder [2]

การสร้างวงจร Full-Adder [3]

วงจรบวกขนาด 4 บิต การบวกเลขฐานสองขนาด 4 บิต เราสามารถสร้างวงจรบวกเลข 4 บิต โดยการใช้ Half-Adder 1 ตัวและ Full Adder 3 ตัวมาต่อกันตามลักษณะการบวกที่เกิดขึ้น หรือเราอาจใช้ Full Adder 4 ตัวมาต่อกันก็ได้โดยกำหนดค่าตัวทดเข้าของ Full Adder ตัวแรกที่ทำการบวกบิตขวาสุดให้เป็น 0 ทำให้ Full Adder ตัวแรกทำงานเป็น Half Adder

Block Diagram ของแอดเดอร์ขนาด 4 บิต Half Adder Full Adder Full Adder Full Adder

Block Diagram ของแอดเดอร์ขนาด 4 บิต Full Adder Full Adder Full Adder Full Adder

ไอซีวงจรบวกเลขขนาด 4 บิต DEVICE NO. FAMILY DESCRIPTION 7483 74C83 4008 TTL CMOS 4-bit binary adder with fast carry 4-bit full adder with fast carry

แผนผังการต่อขาของ IC เบอร์ 7483

สัญลักษณ์ของไอซี 7483 7483