การติดต่อฐานข้อมูลและการแสดงผล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โปรแกรมขึ้นทะเบียนเกษตรกร ผู้ปลูกข้าวนาปี ปี 2557/58
Advertisements

System Requirement Collection (2)
การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
การใช้โปรแกรมประเมินตนเอง
การแก้ปัญหาการใช้งาน ADO กับ Database อุทัย เซี่ยงเจ็น สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร วิทยาเขต สารสนเทศพะเยา.
CHAPTER 14 Database Management
ASP.NET Uthai ShiangJan Information and Communication Technology.
การจัดทำระบบฐานข้อมูล นิสิต คณะทรัพยากรธรรมชาติและ อุตสาหกรรมเกษตร.
การพัฒนาระบบทะเบียน ของ โรงเรียนเมโทรเทคโนโลยี จังหวัดเชียงใหม่
JSP ติดต่อฐานข้อมูล.
ระบบฐานข้อมูลตรวจวัดคุณภาพน้ำ
Server Object. 2 z ใช้ในการควบคุม และบริหารเว็บเซิร์ฟเวอร์ ซึ่งทำด้วยการเขียนสคริปต์ใน แอปพลิเคชั่น ASP ( โดยเรียกใช้เมธอด หรือกำหนดค่าพรอพเพอร์ตี้ของ.
สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร พะเยา
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
1. Select query ใช้สำหรับดึงข้อมูลที่ต้องการ
สถานะการส่งข้อมูล OP person, chronic. ข้อมูลที่อยู่ในฐานจังหวัด ในลักษณะการตัดข้อมูลเดิม จะมีการตัดข้อมูลทั้งคนที่สถาณะยังมีชีวิต และไม่มีชีวิตด้วย.
Array in PHP บทเรียนเรื่อง การใช้ Array ในภาษา PHP.
ขั้นตอนการบันทึกประวัติ และลงทะเบียนสำหรับ นักศึกษาใหม่
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
1 การใช้งานระบบจัดการ ฐานข้อมูล Mysql ผ่าน phpmyadmin.
แบบทดสอบ MICROSOFT EXCEL มีข้อมูลในแผ่นงานตั้งแต่แถวที่ 1 ถึงแถว 500 และคอลัมน์ A จนถึงคอลัมน์ M วิธีการเลือกช่วง ข้อมูลวิธีใด อย่างไร ที่อำนวยความสะดวกได้ดีและให้ผลรวดเร็ว.
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
บทที่ 6 การใช้คำสั่ง อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
Chapter 3 การใช้ PHP เบื้องต้น Edit
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การติดต่อฐานข้อมูลและการแสดงผล
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
ลายผ้าของแม่ โดย มัณฑนา สันติคุณากร.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
โครงสร้างภาษา C Arduino
Work Shop 1.
หน่วยการเรียนที่ 4 เรื่อง การควบคุมทิศทางการทำงาน
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
การติดต่อฐานข้อมูลและการแสดงผล
บทที่ 13 การจัดการไฟล์ (File Management)
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
รายวิชา ไมโครโปรเซสเซอร์ในงานอุตสาหกรรม
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
หลักเทคนิคการเขียน SAR
กำหนดการ บันทึกข้อมูล ผ่านเว็บไซต์
โปรแกรมระบบจัดเก็บข้อมูลสถิติคดีของศาลยุติธรรม
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
SMS News Distribute Service
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
ตัวอย่างการจัดทำรายงานการผลิต และงบการเงิน
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทสรุป ความหมายของ Query ความหมายของ Query
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การเติบโตของฟังก์ชัน (Growth of Functions)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
ระบบการส่งต่อข้อมูลอาการไม่พึงประสงค์จากการแพ้ยา
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
การวิเคราะห์สถานะคงตัวของ วงจรที่ใช้คลื่นรูปไซน์
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การติดต่อฐานข้อมูลและการแสดงผล ประกอบด้วยขั้นตอนย่อๆ 7 ขั้นตอน เริ่มติดต่อฐานข้อมูล เลือกฐานข้อมูลที่ต้องการ กำหนดคำสั่ง SQL และส่งให้ทำงาน เก็บข้อมูลลงแปร Array นับจำนวน Record แสดงผลบราวเซอร์ ปิดฐานข้อมูล MySQL

1. เริ่มติดต่อฐานข้อมูล ในการติดต่อฐานข้อมูล MySQL เรสมารถใช้ฟังชัน Mysql_connect() ซึ่งมีรูปแบบคำสั่งดังนี้ mysql_connect($hostname,$user,$password) or die (“message”);

mysql_connect($hostname,$user,$password) or die (“message”); โดยที่ $hostname คือ ชื่อข้อความที่เป็น Host $user คือ ชื่อ Log in $password คือ รหัสผ่านสำหรับเข้าใช้ฐานข้อมูล MySQL or die(“message”) คือ ข้อความเพื่อแจงว่าติดต่อ Host ไม่ได้

ตัวอย่างการกำหนดตัวแปรและเริ่มต้นติดต่อฐานข้อมูล $hostname=“localhost”;//ชื่อโฮสต์ $user=“ODBC”;//ชื่อผู้ใช้ $password=“”;//รหัสผ่าน //เริ่มติดต่อฐานข้อมูล mysql_connect($hostname,$user,$password) or die(“ติดต่อฐานข้อมูลไม่ได้”);

2. เลือกฐานข้อมูลที่ต้องการ เมื่อติดต่อกับ MySQL ได้แล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการเลือกฐานข้อมูลที่ต้องการใช้ โดยใช้ฟังก์ชัน mysql_select_db() ซึ่งมีรูปแบบดังนี้ mysql_select_db($dbname) or die(“เลือกฐานข้อมูลไม่ได้”);

ตัวอย่างการเลือกฐานข้อมูล bookshop $dbname=“bookshop”; mysql_select_db($dbname) or die(“เลือกฐานข้อมูลไม่ได้”);

3. กำหนดคำสั่ง SQL และสั่งให้ทำงาน เมื่อเลือกฐานข้อมูลได้แล้ว ขั้นตอนต่อไป เป็นการเขียนคำสั่ง SQL แล้วสั่งทำงาน โดยฟังก์ชัน mysql_query($sql) mysql_db_query($sql) โดยที่ $sql คือคำสั่ง SQL ที่ต้องการ

ตัวอย่างการใช้คำสั่ง SQL เพื่อแสดงข้อมูลทุกฟิลด์จากตาราง book $tblname=“book”; $sql=“select * from $tblname”; Mysql_db_query($sql);

จาก 2 คำสั่งที่ผ่านมา คือ $sql=“select * from $tblname”; Mysql_db_query($sql); เราสามารถกำหนดคำสั่งได้ด้วยบรรทัดเดียว คือ Mysql_db_query($dbname,” select * from $tblname”);

4.เก็บข้อมูลลงตัวแปร Araay หลังจากคำสั่ง SQL ทำงานแล้ว ก็จะได้ผลลัพธ์ออกมา ซึ่งเราจะต้องนำผลลัพธ์ ที่ว่านี้เก็บลงใน Array ด้วยฟังก์ชัน Mysql_fetch_array ซึ่งมีรูปแบบของคำสั่งดังนี้ $dbquery=mysql_db_query($dbname,”select * from $tblname”);

5.นับจำนวน Record เนื่องขั้นตอนที่ 4 เป็นการเก็บ Record ที่เป็นผลลัพธ์จากการ query ลงในตัวแปร ดังนั้น การนำผลลัพธ์ทั้งหมด ออกมาแสดงผล จึงต้องใช้วิธีการวนลูป(Loop)แสดงผล แต่ก่อนที่จะไปถึงการวนลูป ต้องทราบจำนวน Record ทั้งหมดก่อน ด้วยฟังก์ชัน mysql_num_row() $num_rows=mysql_num_rows($dbquery);

6. แสดงผลทางบราวเซอร์ การนำข้อมูลมาแสดงบน Browser นั้น นิยมแสดงให้อยู่ในรูปตารางข้อมูล คำสั่งที่ใช้ดึงแต่ละ Record ออกจาก($dbquery) คือ $result=mysql_fecth_array($dbquery); เมื่อผลลัพธ์ของแต่ละ Record ถูกบรรจุลงใน $result แล้วต่อไปคือการดึงแต่ละ field ออกมาแสดงผลการดึงแต่ละ field นี้ทำได้โดยการอ้างอิงตัวแปร เช่น

6. แสดงผลทางบราวเซอร์ (ต่อ) $result[0] คือการอ้างอิงข้อมูลใน field แรกของ Record $result[“barcode”] คือการอ้างอิงข้อมูลของ field ชื่อ barcode นำการอ้างอิงแต่ละ field มาเขียนร่วมกับ Tag <td> เช่นecho “<tr><td>$barcode</td></tr>”

$i=0; while($i<$num_rows){ $result=mysql_fecth_array($dbquery) $barcode=$result[barcode]; $title=$result[title]; $author=$result[author]; $price=$result[prince]; Echo”<tr><td>$barcode</td><td>$title</td><td>$author</td><td>$price</td></tr>”; $i++; }

7. การปิดการติดต่อกับฐานข้อมูล หลังจากแสดงผลเสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ควรปิดการติดต่อฐานข้อมูล mysql ด้วยฟังก์ชัน mysql_close();