ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 และ แผนงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2561
วิสัยทัศน์ วิสัยทัศน์กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ พ.ศ. 2560 - 2564 “ภายในปี 2564 สหกรณ์และเกษตรกร มีระบบบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชี ที่มีคุณภาพ น่าเชื่อถือ” “By the Year 2021, the Accounting and Financial Management Conducts of Cooperatives and Farmers will be of good quality and reliable.” 2
แผนกลยุทธ์กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ พ.ศ. 2560 - 2564 ภายในปี 2564 สหกรณ์และเกษตรกร มีระบบบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชี ที่มีคุณภาพ น่าเชื่อถือ ยุทธศาสตร์ที่ 4 มีระบบบริหารจัดการองค์กรที่มีประสิทธิภาพ ในการรองรับภารกิจที่ “เร่งด่วน ท้าทาย และเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง” และสามารถสร้างความเป็น AUDITOR ให้ “มีความชัดเจนและเป็นจริง” ยุทธศาสตร์ที่ 1 คุณประโยชน์ของการปฏิบัติตาม หลักธรรมาภิบาลจะต้องเป็นที่ประจักษ์ อย่างชัดเจนและนำไปสู่การพัฒนาสหกรณ์ได้อย่างเป็นรูปธรรม ยุทธศาสตร์ที่ 3 คุณประโยชน์ของการทำบัญชี และบริหารการเงินที่มีคุณภาพ จะต้องเป็นที่ประจักษ์ต่อเกษตรกร ได้อย่างกว้างขวางชัดเจนและเข้าถึงได้ ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างผู้บริหารสหกรณ์เพื่อเป็นรากฐานของการพัฒนาสหกรณ์แห่งอนาคต 3
งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ 2560 ลงทุน งบดำเนินงาน งบบุคลากร งบรายจ่าย งบประมาณ งบลงทุน 42,363,700 บาท งบดำเนินงาน 512,987,500 บาท งบบุคลากร 790,025,000 บาท รวม 1,345.376,200 บาท 3 % 38 % 59 % 4
แผนงบประมาณ/ผลผลิต ปีงบประมาณ 2560 แผนงบประมาณ / ผลผลิต / โครงการ (ล้านบาท) 1. แผนงาน : บุคลากรภาครัฐ 813.0260 รายการ : บุคลากรภาครัฐส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 2. แผนงาน : สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ 435.7810 ผลผลิตที่ 1 : สหกรณ์และสถาบันเกษตรกรได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็ง (4 กิจกรรม) 356.9529 ผลผลิตที่ 2 : เกษตรกร เยาวชน และประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านบัญชี(4 กิจกรรม) 78.8281 3. แผนงาน : พัฒนาเกษตรกรรมยั่งยืน และเสริมสร้างความเข้มแข็งของเกษตรกรอย่างเป็นระบบ 62.8766 โครงการ 1 : โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ (1 กิจกรรม) 25.2022 โครงการ 2 : โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (1 กิจกรรม) 37.6744 4. แผนงาน : ส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 18.3965 โครงการ 3 : โครงการสร้างความเชื่อมั่นต่อการทำธุรกรรมทางการเงินของสมาชิกสหกรณ์ (1 กิจกรรม) 8.9000 โครงการ 4 : โครงการเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเศรษฐกิจการเงินขั้นพื้นฐานแก่สมาชิกสหกรณ์ (1 กิจกรรม) 9.4965 5. แผนงาน : ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 15.2961 โครงการ 5 : โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ (1 กิจกรรม) รวมงบประมาณทั้งสิ้น 1,345.3762 5
ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 สร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชีให้กับสหกรณ์ พัฒนาองค์กร (Smart Group) สร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชีให้กับวิสาหกิจชุมชน พัฒนาเกษตรกร (Smart Farmer) สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร 6
ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 พัฒนาองค์กร (Smart Group) 1. สร้างความเข้มแข็ง ด้านการเงินการบัญชี ให้กับสหกรณ์ 2. สร้างความเข้มแข็ง ด้านการเงินการบัญชี ให้กับวิสาหกิจชุมชน 7
ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 1.สร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชีให้กับสหกรณ์ ปริมาณงาน ณ 1 ตุลาคม 2559 สถานะของ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ปริมาณงาน สหกรณ์ 7,117 สหกรณ์การเกษตร สหกรณ์นิคม สหกรณ์ประมง สหกรณ์ร้านค้า สหกรณ์บริการ สหกรณ์ออมทรัพย์ สหกรณ์เครดิตยูเนียน 3,682 90 76 160 1,123 1,413 573 กลุ่มเกษตรกร 4,071 รวมทั้งสิ้น 11,188 แห่ง 2,826 แห่ง (25 %) 7,799 แห่ง (70 %) 563 แห่ง (5 %) 1. กลุ่ม ที่ทำบัญชีและ งบการเงินได้ 3. กลุ่มที่อยู่ในข่ายที่ นทส. อาจสั่งเลิก 2. กลุ่มที่ทำบัญชีและ งบการเงินไม่ได้ 1. สก./ก. ที่ทำบัญชีและงบการเงินไม่ได้ 4,645 แห่ง (42 %) 2. สก./ก. ที่ทำบัญชีได้ แต่ทำงบการเงินไม่ได้ 3,154 แห่ง (28 %) 8
ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 1.สร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชีให้กับสหกรณ์ 1.1 ตรวจสอบบัญชีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 11,188 แห่ง ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพและระเบียบ นายทะเบียนสหกรณ์ เพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบโดยใช้เทคโนโลยีช่วยตรวจสอบ ควบคุมคุณภาพการสอบบัญชีตามมาตรฐานสากล เพื่อ...... สร้างความ “โปร่งใส”และ “น่าเชื่อถือ” ในการดำเนินธุรกิจ ของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ตรวจสอบและแสดงความเห็นต่องบการเงินได้ 9,321 แห่ง (83.3%) แสดงความเห็นแบบไม่มีเงื่อนไข 9,229 แห่ง แสดงความเห็นแบบมีเงื่อนไข 89 แห่ง แสดงความเห็นแบบงบการเงินไม่ถูกต้อง 1 แห่ง แสดงความเห็นแบบไม่แสดงความเห็น 2 แห่ง ผลงาน 9
ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 1.สร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชีให้กับสหกรณ์ 1.2 พัฒนาด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์ 1.2.1 อบรมการจัดทำบัญชีและงบการเงินแก่บุคลากรสหกรณ์ (1) พัฒนาสหกรณ์ที่ยังไม่สามารถจัดทำบัญชีและ งบการเงินได้ 900 แห่ง สามารถยกระดับการจัดทำบัญชีหรืองบการเงินได้ 302 แห่ง (ร้อยละ 33.56) (2) ยกระดับชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน ของสหกรณ์ 606 แห่ง สามารถยกระดับการควบคุมภายในได้ 247 แห่ง (ร้อยละ 40.1) สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ได้ 594 แห่ง (ร้อยละ 99.0) (3) พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการดำเนินการ ของสหกรณ์ 600 แห่ง 1010
ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 1.สร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชีให้กับสหกรณ์ 1.2 พัฒนาด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์ 1.2.2 การใช้เทคโนโลยีแก้ปัญหาการทำบัญชีในสหกรณ์ สมาชิกมีความเชื่อมั่นและศรัทธาต่อระบบสหกรณ์ สหกรณ์มีระบบควบคุมภายในที่ดี ได้มาตรฐาน สมาชิกสามารถตรวจสอบข้อมูลของตนเองได้ทันที สามารถให้บริการสมาชิกได้อย่างรวดเร็ว ( One stop service) สามารถปิดบัญชีได้อย่างรวดเร็ว 1. พัฒนาโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์ครบวงจร 2. ผลักดันให้ใช้โปรแกรมระบบบัญชีของกรม 3. อบรมการใช้โปรแกรมระบบบัญชีแก่พนักงานบัญชี ผลงาน จำนวนสหกรณ์ที่ใช้โปรแกรมระบบบัญชีของกรม 1,693 แห่ง 1111
ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 1.สร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชีให้กับสหกรณ์ 1.2 พัฒนาด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์ 1.2.3 การใช้เทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการในสหกรณ์ พัฒนานวัตกรรมเพื่อสร้างคุณค่าสารสนเทศทางการเงินการบัญชีสหกรณ์ เพื่อ...... สหกรณ์มีระบบการบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชีที่มีประสิทธิภาพ สร้างความมั่นคงทางการเงินและมีศักยภาพในการดำเนินธุรกิจ สมาชิกมีคุณภาพชีวิตที่ดี Smart 4M Member - ตรวจสอบข้อมูลทางการเงินของตนเองในสหกรณ์ได้ตลอดเวลา - ลดความเสี่ยงการเกิดทุจริต Smart สมาชิกรู้ - ติดตามตรวจสอบการดำเนินงานของสหกรณ์ - รู้ความเคลื่อนไหวทางการเงิน แบบ Real Time Manage Smart กรรมการรู้ Monitor - ติดตามความเคลื่อนไหวและความผิดปกติทางการเงินของสหกรณ์ - ทราบระดับการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงิน Smart ผู้เกี่ยวข้องรู้ Me - เกษตรกร/สมาชิกสหกรณ์จัดทำบัญชีครัวเรือนอย่างเป็นระบบ - สร้างวินัยทางการเงิน เป็นภูมิคุ้มกันการเป็นหนี้ Smart เรารู้ 1212
ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 1.สร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชีให้กับสหกรณ์ 1.2 พัฒนาด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์ 1.2.4 สร้างนักศึกษาที่มีความรู้ด้านบัญชีสหกรณ์เพื่อรองรับการจัดจ้างพนักงานบัญชีของสหกรณ์ (Supply Side) บรรจุหลักสูตรระดับ ปวช./ปวส. การบัญชีสหกรณ์ โปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์ เปิดสอนบัญชีสหกรณ์ 107 แห่ง ปี 2560 จำนวน 98 แห่ง ปี 2561 จำนวน 9 แห่ง ระหว่างทบทวนแผนการเรียนการสอน 152 แห่ง ผลิตนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชี สหกรณ์ บันทึกความร่วมมือ โครงการสร้างผู้ทำบัญชีสหกรณ์ MOU กสส. กตส. อาชีว ศึกษา ร่วมกำหนดหลักสูตรการบัญชีสหกรณ์ สร้างความเข้าใจแก่สถาบันอาชีวศึกษาเขตพื้นที่ เพื่อผลักดันให้เปิดเรียนหลักสูตรการบัญชีสหกรณ์ ถ่ายทอดความรู้แก่ครูผู้สอนแล้ว 98 แห่ง สนับสนุนโปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์ ผลักดันให้สหกรณ์จัดจ้าง ผู้ทำบัญชีจากนักศึกษาอาชีวะ ที่เรียนบัญชีสหกรณ์ (Demand Side) 1313
ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 1.สร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชีให้กับสหกรณ์ 1.3 พัฒนาศูนย์วิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจและการเงินสหกรณ์ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ ได้จัดตั้งศูนย์วิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจและการเงินสหกรณ์ ให้เป็นศูนย์ในการสร้างคุณค่าของข้อมูลการเงินของสหกรณ์และรายงานภาวะเศรษฐกิจการเงินของสหกรณ์ โดยความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยหอการค้า เพื่อพัฒนาการรายงานภาวะเศรษฐกิจการเงินของสหกรณ์ในรูปแบบของกระดานข้อมูล (Dash Board) 1414
ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 1.สร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชีให้กับสหกรณ์ รายงานภาวะเศรษฐกิจและการเงินสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกร ทุนดำเนินงาน 2,692,782.14 ล้านบาท มูลค่าธุรกิจ 2,210,241.23 รายการ สหกรณ์ กลุ่ม ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 2,688,781.42 4,000.72 มูลค่าทั้งสิ้น (ลบ.) 2,202,893.01 7,348.22 จำนวน 11,297 แห่ง * ทุนของสหกรณ์ 1,154,551.23 1,939.78 * สินเชื่อ 1,277,437.19 1,900.58 * หนี้สิน 1,534,230.19 2,060.94 * เงินรับฝาก 769,199.78 239.14 จำนวน(แห่ง) 7,141 4,156 ลงทุนในลูกหนี้ 2,128,488.95 2,405.55 * จัดหาสินค้ามาจำหน่าย 66,721.29 794.15 สมาชิก(ล้านคน) 12.10 0.54 ลงทุนในเงินฝาก 206,052.68 1,015.59 * รวบรวมผลิตผล 67,671.17 3,710.11 ทุนสำรอง 105,245.39 914.54 * แปรรูปผลิตผล 17,670.62 683.22 * ให้บริการฯ 4,192.96 21.02 สถานภาพสหกรณ์/กลุ่ม ผลการดำเนินงาน กำไรสุทธิ 76,753.96 * ดำเนินธุรกิจ 6,484 3,732 (90.80%) (89.80%) * รายได้รวม 322,769.19 5,703.94 * หยุดดำเนินธุรกิจ 540 370 * ค่าใช้จ่ายรวม 246,115.32 5,603.85 (7.56%) (8.90%) * กำไร(ขาดทุน)สุทธิ 76,653.87 100.09 * ไม่ดำเนินธุรกิจ 117 54 - กำไรสุทธิ (ล้านบาท) 80,758.45 180.58 (1.64%) (1.30%) (5,359 แห่ง) (3,423 แห่ง) - ขาดทุนสุทธิ (ล้านบาท) -4,104.58 -80.49 เงินออมเฉลี่ย-หนี้สินเฉลี่ยต่อสมาชิก (บาท ต่อ คน) (1,644 แห่ง) (672 แห่ง) ประเภท เงินออม หนี้สิน - ไม่มีผลดำเนินงาน (138 แห่ง) (61 แห่ง) * สหกรณ์ 150,297.53 159,823.58 * กลุ่มเกษตรกร 2,143.42 4,154.64 * ภาพรวม 143,971.77 153,176.96 แสดงร้อยละมูลค่าธุรกิจจำแนกตามประเภทธุรกิจ
ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 2. สร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชีให้กับวิสาหกิจชุมชน 2.1 พัฒนาความรู้ด้านการจัดทำบัญชีแก่วิสาหกิจชุมชนเป้าหมาย 385 แห่ง วิสาหกิจชุมชน 80,761 แห่ง กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ได้ให้ความรู้ด้านการเงินการบัญชีแก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน เพื่อให้วิสาหกิจชุมชนมีมาตรฐานบัญชี และระบบบริหารจัดการทางการเงินการบัญชีที่ดี สามารถนำข้อมูลทางบัญชีไปใช้ประโยชน์ในการบริหารงานได้ วางระบบบัญชีและแนะนำการจัดทำบัญชีแก่วิสาหกิจชุมชน 385 แห่ง วิสาหกิจชุมชนสามารถจัดทำบัญชีและงบทดลองได้ 184 แห่ง (47.79 %) ผลงาน 1616
ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 2. สร้างความเข้มแข็งด้านการเงินการบัญชีให้กับวิสาหกิจชุมชน 2.2 สร้างสื่อดิจิทัลเรียนรู้บัญชีวิสาหกิจชุมชน เพื่อให้วิสาหกิจชุมชนและผู้เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงองค์ความรู้ด้านการจัดทำบัญชีวิสาหกิจชุมชนและสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านสื่อดิจิทัลอย่างง่ายๆ วิสาหกิจชุมชน 80,761 แห่ง วิสาหกิจชุมชน บริหารจัดการการเงินการบัญชีได้ Smart Enterprises 1717
“บัญชี” กับการขับเคลื่อนงานตามนโยบาย ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร พัฒนาเกษตรกร (Smart Farmer) สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร สร้างความเข้มแข็งให้กับกลุ่มเป้าหมายตามโครงการพระราชดำริ “บัญชี” กับการขับเคลื่อนงานตามนโยบาย พัฒนาเกษตรกรไทยเป็น Smart Farmer โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 600 แปลง 88,905 ราย โครงการศูนย์เรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร(ศพก.) 882 ศูนย์ โครงการส่งเสริมการเกษตรทฤษฎีใหม่ 70,000 ราย 1818
ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร 1. พัฒนาการจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพแก่เกษตรกร • มีวินัยทางการเงิน เป็นภูมิคุ้มกันการเป็นหนี้ กรมตรวจบัญชีสหกรณ์ได้ให้ความสำคัญในการพัฒนาศักยภาพในการประกอบอาชีพแก่เกษตรกร โดยการสอนแนะนำการจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพ โดยมีวัตถุประสงค์ • สามารถใช้ข้อมูลทางบัญชีในการวางแผนการผลิต • สามารถวิเคราะห์ลดต้นทุนการผลิต • สร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลผลิตมีการออมอย่างเป็นระบบ 1919
ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร สอนให้ทำบัญชีต้นทุนอาชีพได้ 200,000 คน ใช้ข้อมูลทางบัญชี ให้เป็น 15,000 คน ทำบัญชีได้ ใช้บัญชีเป็นอย่างยั่งยืน 9,000 คน “บัญชี”บันไดแห่งความสำเร็จ 1 2 3 กลไกขับเคลื่อน บูรณาการเป้าหมายกับ หน่วยงานในสังกัด กระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ โดยเฉพาะ พื้นที่พัฒนาการเกษตร แปลงใหญ่ 2. ใช้อาสาสมัคร เกษตรด้านบัญชี เป็น “หัวใจ” สำคัญในการชี้ กลุ่มเป้าหมายใน พื้นที่ 3. สร้างภาคีเครือข่ายในพื้นที่ เช่น ผู้นำชุมชน อบต. สภาเกษตรกร ฯลฯ ช่วยผลักดันให้เกษตรกรทำบัญชีอย่างจริงจัง 2020
ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เป้าหมาย 600 แปลง 88,905 ราย กิจกรรม ผลการปฏิบัติงาน อบรมการจัดทำบัญชีแก่สมาชิกแปลงใหญ่ 597 แปลง 87,427 ราย (ร้อยละ 98.33 ของ จำนวนที่รับจาก SC) กำกับแนะนำการจัดทำบัญชีแก่สมาชิกแปลงใหญ่ โดยครูบัญชี 500 แปลง 40,170 ราย (ร้อยละ 45.95 ของ จำนวนที่อบรม) ติดตามผลการจัดทำบัญชีแก่สมาชิกแปลงใหญ่ โดยครูบัญชี 498 แปลง 39,415 ราย (ร้อยละ 45.08 ของ จำนวนที่อบรม) - ทำบัญชีได้ 24,276 ราย (ร้อยละ 61.59 ของ จำนวนที่ติดตาม) 2121
ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 กิจกรรม โครงการศูนย์เรียนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรม ผลการปฏิบัติงานสะสม 1. พัฒนาฐานเรียนรู้ 882 ศูนย์ (ครบถ้วน) 2. อบรมครูบัญชีประจำศูนย์เรียนรู้ (ศูนย์ละ 2 ราย) 1,770 ราย (ครบถ้วน) 3.ครูบัญชีให้บริการความรู้การจัดทำบัญชีต้นทุนแก่เกษตรกร 882 ศูนย์ เกษตรกร 154,611 ราย 4.เกษตรกรในพื้นที่ ศพก. สามารถจัดทำบัญชีต้นทุนได้ เกษตรกรสามารถทำบัญชีได้ 18,613 ราย 5. ศพก. ที่มีครูบัญชีสามารถให้บริการความรู้แก่เกษตรกรที่ขอรับบริการได้ ร้อยละ 100.00 (882 แห่ง) 2222
โครงการส่งเสริมการเกษตรทฤษฎีใหม่ ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 โครงการส่งเสริมการเกษตรทฤษฎีใหม่ เป้าหมายสอนบัญชีต้นทุนอาชีพ 70,000 ราย กิจกรรม ผลการปฏิบัติงาน อบรมการจัดทำบัญชีแก่สมาชิกแปลงใหญ่ 69,979 ราย (ร้อยละ 99.97 ของ จำนวนเป้าหมาย กำกับแนะนำการจัดทำบัญชีแก่สมาชิกแปลงใหญ่ โดยครูบัญชี 18,123 ราย (ร้อยละ 25.90 ของ จำนวนที่อบรม) ติดตามผลการจัดทำบัญชีแก่สมาชิกแปลงใหญ่ โดยครูบัญชี 17,194 ราย (ร้อยละ 24.57 ของจำนวนที่อบรม) - ทำบัญชีได้ 10,811 ราย (ร้อยละ 62.87 ของ จำนวนที่ติดตาม) 2323
ผลการปฏิบัติงานที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2560 สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตรกร 2. สร้างสื่อดิจิทัลเรียนรู้บัญชีต้นทุนอาชีพ เพื่อให้เกษตรกรสามารถเข้าถึงองค์ความรู้ด้านการจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพ และสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองผ่านสื่อดิจิทัลอย่างง่ายๆ รู้ต้นทุน ปรับเปลี่ยน การผลิต ทำบัญชี ต่อเนื่อง ใช้ข้อมูล บัญชีเป็น ทำบัญชี ต้นทุน อาชีพได้ สร้างสื่อดิจิทัลเรียนรู้บัญชีต้นทุนอาชีพ เกษตรกร Thailand 4.0 2424
รายงานผลความก้าวหน้าการปฏิบัติงาน โครงการตามนโยบายรัฐบาลและกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ ปีงบประมาณ 2560 2525
โครงการ 9101 ตามรอยเท้าพ่อ ภายใต้ร่มพระบารมี เพื่อพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน 2626
รายงานความก้าวหน้าผลการตรวจสอบบัญชีโครงการ 9101ฯ ข้อมูล ณ วันที่ 25 กันยายน 2560 แผนงาน ผลงาน 24,168 โครงการ เข้าตรวจสอบแล้ว 9,513 โครงการ พบข้อสังเกต 3,401 โครงการ ประเด็นข้อสังเกต ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์/ เงื่อนไขของโครงการ 16 โครงการ ตรวจสอบแล้วเสร็จ 5,082 โครงการ เอกสาร/หลักฐานไม่ครบถ้วน ไม่สมบูรณ์ 2,747 โครงการ แจ้งผลการตรวจสอบแก่ เกษตรจังหวัดแล้ว 1,300 โครงการ อื่น ๆ 638 โครงการ 2727
ข้อสังเกตที่พบจากการตรวจสอบบัญชีโครงการ 9101 ฯ 1. โครงการที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขของโครงการ - จัดซื้อวัสดุจากแหล่งภายนอกชุมชน - เบิกจ่ายงบประมาณในพื้นที่แล้วเสร็จ หลังวันที่ 31 สิงหาคม 2560 - เบิกจ่ายค่าแรงงานสำหรับกะกลางคืนเป็นค่าเวรยาม / มีการเบิกจ่ายค่าควบคุมงาน ซึ่งไม่มีการกำหนดไว้ในโครงการ - สัดส่วนการจ้างแรงงานน้อยกว่า ร้อยละ 50 ของวงเงินงบประมาณโครงการที่ได้รับการสนับสนุน - กลุ่มสมาชิกในชุมชนมีการจ่ายค่าแรงงานให้กับผู้นำชุมชน เช่น ผู้ใหญ่บ้าน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน 2. เอกสาร หลักฐานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ - หลักฐานการโอนเงินค่าแรงงานเข้าบัญชีเกษตรกร ไม่จำแนกเบิกรายการคน/ยอดรวมเงินโอนเป็นก้อน ๆ - เอกสารบัญชีรับ - จ่ายเงินอุดหนุนของกลุ่มสมาชิกชุมชน (บช.09) ไม่เรียบร้อย - บช.11 สมุดบันทึกค่าแรงไม่มีลายมือชื่อผู้ควบคุมงาน - บางโครงการ ค่าวัสดุบางรายการเป็นสินค้าที่มีภาษีมูลค่าเพิ่ม แต่ใบเสร็จไม่มีภาษีมูลค่าเพิ่ม - บางโครงการซื้อวัสดุแต่ไม่มีใบเสร็จรับเงินมีเพียงใบส่งของเท่านั้น /บางโครงการมีใบเสร็จรับเงินที่เป็นสำเนาและ ขาดลายมือชื่อผู้รับเงิน - ขาดหลักฐานการบันทึกบัญชีที่สำคัญ เช่น ใบเสร็จรับเงิน สัญญาซื้อขาย เป็นต้น 3. อื่น ๆ - คำนวณยอดภาษีหัก ณ ที่จ่ายไม่ถูกต้อง - มีการถอนเงินสดเพื่อจ่ายค่าวัสดุ แต่เมื่อจ่ายไม่หมดกลับถือเงินสดไว้เพื่อไปจ่ายค่าวัสดุในครั้งถัดไป 2828
การตรวจสอบข้อมูลหนี้สินเกษตรกร กองทุนพื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร (กฟก.) 2929
รายงานความก้าวหน้าผลการตรวจสอบ ข้อมูลหนี้สินเกษตรกรสมาชิก กฟก. ระดับรายสัญญา กิจกรรม : ตรวจสอบข้อมูลหนี้สินเกษตรกรรายบุคคล รายสัญญา สัญญาที่เกษตรกรยืนยันข้อมูล กับ กฟก. แล้ว 524,881 สัญญา สัญญาที่ กตส. ต้องตรวจสอบ (ตส.1/1 – 1/2) 469,367 สัญญา (89.42%) ผ่าน 433,975 สัญญา (92.46%) สัญญาที่เหลือ 55,514 สัญญา - ตส.1/3 และ 1/4 ซึ่ง กตส. ตรวจแล้ว แต่ยังไม่นำเข้าระบบ - ตส.1/5 – 1/7 (กตส. ไม่ต้องตรวจสอบ) ไม่ผ่าน 35,392 สัญญา (7.54%) ข้อมูลสะสม ถึงวันที่ 25 กันยายน 2560 3030
แผนงานและงบประมาณ ปี 2561 3131
กรอบงบประมาณในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 (หน่วย : บาท) งบรายจ่าย ปี 2560 ปี 2561 ผลต่าง +เพิ่ม/-ลด ร้อยละ 1. งบบุคลากร 790,025,000 800,740,400 + 10,715,400 1.36 2. งบดำเนินงาน 512,987,500 516,216,100 + 3,228,600 0.63 3. งบลงทุน 42,363,700 33,775,500 - 8,588,200 -20.27 4. งบเงินอุดหนุน - 5. งบรายจ่ายอื่น รวมทั้งสิ้น 1,345,376,200 1,350,732,000 + 5,355,800 0.40 งบประมาณ ปี 2561 กรมฯ ได้รับจัดสรรเพิ่มขึ้นร้อยละ 0.40 3232
แผนงบประมาณ/ผลผลิต ปีงบประมาณ 2561 แผนงบประมาณ / ผลผลิต / โครงการ เป้าหมาย งบประมาณ (ล้านบาท) 1. แผนงาน : บุคลากรภาครัฐ 824.4122 รายการ : บุคลากรภาครัฐส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 2. แผนงานพื้นฐาน : พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง 368.3682 ผลผลิตที่ 1 : สหกรณ์และสถาบันเกษตรกรได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็ง 11,600 337.1757 ผลผลิตที่ 2 : เกษตรกร เยาวชน และประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านบัญชี 124,000 31.1925 3. แผนงานยุทธศาสตร์ : ส่งเสริมการดำเนินงานตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 33.7543 โครงการ 1 : โครงการระบบการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 10,500 4. แผนงานบูรณาการ : พัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร 101.2452 โครงการ 2 : โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 60,000 33.6720 โครงการ 3 : โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 882 31.0000. โครงการ 4 : โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม 3,000 5.5528 โครงการ 5 : โครงการส่งเสริมการเกษตรทฤษฎีใหม่ 70,000 31.0204 5. แผนงานบูรณาการ : ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้ 22.9521 โครงการ 6 : โครงการเสริมสร้างความเข้มแข็งแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 9,600 รวมงบประมาณทั้งสิ้น 1,350.7320 3333
แผนการดำเนินงานที่สำคัญในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 1. แผนงานบุคลากรภาครัฐ 824.4122 ล้านบาท 3. แผนงานยุทธศาสตร์ ส่งเสริมการดำเนินงานตามแนวทาง หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 33.7543 ล้านบาท 1) โครงการส่งเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริแก่นักเรียนและเกษตรกร จำนวน 10,500 ราย 2. แผนงานพื้นฐานพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง 368.3682 ล้านบาท 2.1 ผลผลิต : สหกรณ์และสถาบันเกษตรกรได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็ง 337.1757 ล้านบาท 1) ตรวจสอบบัญชีประจำปีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 11,600 แห่ง 2) พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 2,316 แห่ง 3) ฝึกอบรมเศรษฐกิจการเงินขั้นพื้นฐานแก่สมาชิกสหกรณ์ จำนวน 14,000 ราย 4) ตรวจสอบความถูกต้องในการทำธุรกรรมทางการเงินระหว่างสหกรณ์และสมาชิก จำนวน 24,500 ราย 2.2 ผลผลิต : เกษตรกร เยาวชน และประชาชนเป้าหมายได้รับการพัฒนา 31.1925 ล้านบาท 1) สอนแนะการจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพ จำนวน 100,000 ราย 2) ฝึกอบรมการใช้ข้อมูลทางบัญชีในการประกอบอาชีพ จำนวน 15,000 ราย 3) ฝึกอบรมเพิ่มศักยภาพในการประกอบอาชีพแก่เกษตรกรอย่างยั่งยืน จำนวน 9,000 ราย 4. แผนงานบูรณาการ 124.1973 ล้านบาท 2.1 แผนงานบูรณาการขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาชายแดนภาคใต้ 22.9521 ล้านบาท 1) โครงการเสริมสร้างการบริหารการเงินแก่สมาชิกสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ จำนวน 9,600 ราย 2.2 แผนงานบูรณาการพัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร 101.2452 ล้านบาท 1) โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ จำนวน 60,000 ราย 2) โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร จำนวน 882 ศูนย์ 3) โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม จำนวน 3,000 ราย 4) โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ จำนวน 70,000 ราย 3434
แผนงานพื้นฐานพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง ผลผลิต : สหกรณ์และสถาบันเกษตรกรได้รับการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็ง 4.2 ผลผลิต : เกษตรกร เยาวชน และประชาชนเป้าหมายได้รับการพัฒนา 1) สอนแนะการจัดทำบัญชีต้นทุนอาชีพ จำนวน 100,000 ราย 2) ฝึกอบรมการใช้ข้อมูลทางบัญชีในการประกอบอาชีพ จำนวน 15,000 ราย 3) ฝึกอบรมเพิ่มศักยภาพในการประกอบอาชีพแก่เกษตรกรอย่างยั่งยืน จำนวน 9,000 ราย 1) ตรวจสอบบัญชีประจำปีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 11,600 แห่ง 2) พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 2,316 แห่ง 3) ฝึกอบรมเศรษฐกิจการเงินขั้นพื้นฐานแก่สมาชิกสหกรณ์ จำนวน 14,000 ราย 4) ตรวจสอบความถูกต้องในการทำธุรกรรมทางการเงินระหว่างสหกรณ์และสมาชิก จำนวน 24,500 ราย 3535
การขับเคลื่อนงานสอบบัญชี ปี 2561 สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร(ภาพรวม) การขับเคลื่อนงานสอบบัญชี ปี 2561 สอบบัญชี พัฒนาการทำบัญชี 1. สก./กลุ่มเกษตรกร ที่จัดทำบัญชี/งบการเงินได้ 2,551 แห่ง (25%) เข้าสู่กระบวนการ พัฒนาการทำบัญชี โดย สตท. 2. สก./กลุ่มเกษตรกร ที่จัดทำบัญชี/งบการเงินไม่ได้ 7,639 แห่ง (75%) สามารถจัดทำ งบการเงินได้เอง มีผู้ช่วยเหลือ ไม่มีผู้ช่วยเหลือ กลุ่มพร้อมรับ การตรวจสอบ เข้าสู่กระบวนการ สอบบัญชี 8,264 แห่ง(81%) 2.1 ส่งงบการเงินได้ 5,713 แห่ง 2.2 ส่งงบการเงินไม่ได้ 1,926 แห่ง กลุ่มไม่พร้อมรับ การตรวจสอบ การจำแนกกลุ่มเข้าสู่การพัฒนา (สก./กลุ่มเกษตรกรที่จัดทำบัญชี/งบการเงินไม่ได้) ส่งงบได้ (แห่ง) ส่งงบไม่ได้ (แห่ง) รวม (แห่ง) 1) ทำเอกสารประกอบการบันทึกบัญชีไม่ได้ 484 633 1,117 2) บันทึกบัญชีขั้นต้นไม่ได้ 1,827 406 2,233 3) บันทึกบัญชีขั้นปลายไม่ได้ 1,410 424 1,834 4) จัดทำงบทดลองไม่ได้ 431 131 562 5) จัดทำงบการเงินไม่ได้ 1,561 332 1,893 เข้าสู่กระบวนการ ตรวจแนะนำ โดย สตส. แจ้งข้อสังเกต 3636
แผนงานพื้นฐานพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง 1) ตรวจสอบบัญชีประจำปีสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 11,600 แห่ง มาตรฐานกระบวนการตรวจสอบบัญชีสหกรณ์ 2561 1. การวางแผนงานสอบบัญชี ประเมินความเสี่ยงในการสอบบัญชี กำหนดปัจจัยเสี่ยง ตามวงจรธุรกิจและหัวบัญชี วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงโดยคำนึงถึง ผลกระทบ (Impact) โอกาสที่อาจเกิดขึ้น (likelihood) ประเภทของความเสี่ยงที่วิเคราะห์ ความเสี่ยงสืบเนื่อง (Inherent Risk) ความเสี่ยงจากการควบคุม (Control Risk) จัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม จัดทำแนวการสอบบัญชี ใช้ Audit Program มาตรฐานที่ นทส. กำหนด 2. การปฏิบัติงานสอบบัญชี ปฏิบัติงานสอบบัญชีระหว่างปี เป้าหมาย : สหกรณ์ที่มีระดับความยุ่งยาก มาก / มากที่สุด เข้าสอบบัญชีระหว่างปีครั้งแรก ก่อนวันสิ้นปีทางบัญชี ไม่น้อยกว่า 4 เดือน - เน้นทดสอบการควบคุม (Test of Control) เป็นหลัก ปฏิบัติงานสอบบัญชีประจำปี - เน้นตรวจสอบเนื้อหาสาระ (Substantive Test) เป็นหลัก จัดทำกระดาษทำการตามมาตรฐานที่ นทส. กำหนด รูปแบบ : เป็นกระดาษ หรือ อิเล็กทรอนิกส์ การบันทึก - วิธีการตรวจสอบโดยย่อ และผลการตรวจสอบ สรุปผลการตรวจสอบในแต่ละหัวบัญชี หลักฐานการตรวจสอบที่ต้องเป็นกระดาษตามที่ นทส. กำหนด การจัดเก็บ 10 ปี 3. การจัดทำและเสนอรายงานการสอบบัญชี รายงานข้อสังเกตที่ตรวจพบ รายงานการสอบบัญชีระหว่างปี รายงานการสอบบัญชีประจำปี - รายงานของผู้สอบบัญชี - รายงานผลการตรวจสอบบัญชี - รายงานข้อมูลทางการเงิน (Input Form) - รายงานการจัดชั้นคุณภาพการควบคุมภายใน 3737
แผนงานพื้นฐานพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง 2) พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 2,316 แห่ง 2.1 พัฒนาศักยภาพบุคลากรสหกรณ์ แบบ “ยกสหกรณ์ที่ใช้ FAS” 800 แห่ง (คณะกรรมการสหกรณ์ 5,000 คน สมาชิกสหกรณ์ 124,000 คน) Smart 4M เพื่อ...... สหกรณ์มีระบบการบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชีที่มีประสิทธิภาพ สร้างความมั่นคงทางการเงินและมีศักยภาพในการดำเนินธุรกิจ สมาชิกมีคุณภาพชีวิตที่ดี Member - ตรวจสอบข้อมูลทางการเงินของตนเองในสหกรณ์ได้ตลอดเวลา - ลดความเสี่ยงการเกิดทุจริต Smart สมาชิกรู้ - ติดตามตรวจสอบการดำเนินงานของสหกรณ์ - รู้ความเคลื่อนไหวทางการเงิน แบบ Real Time Manage Smart กรรมการรู้ Monitor - ติดตามความเคลื่อนไหวและความผิดปกติทางการเงินของสหกรณ์ - ทราบระดับการเฝ้าระวังและเตือนภัยทางการเงิน Smart ผู้เกี่ยวข้องรู้ Me - เกษตรกร/สมาชิกสหกรณ์จัดทำบัญชีครัวเรือนอย่างเป็นระบบ - สร้างวินัยทางการเงิน เป็นภูมิคุ้มกันการเป็นหนี้ Smart เรารู้ 3838
สหกรณ์ที่ยกระดับโดยใช้ Smart 4M ปิดบัญชี ได้ทุกวัน ใช้รายงานวิเคราะห์ อายุหนี้ Post บัญชี อัตโนมัติ FAS 3939
แผนงานพื้นฐานพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง สหกรณ์ภาคเกษตร ที่ใช้ FAS เต็มระบบ 800 แห่ง อบรมคณะกรรมการ 4,000 ราย Smart Manage อบรมสมาชิก 124,000 ราย Smart Me อบรมสมาชิก 14,000 ราย Smart Member 4040
แผนงานพื้นฐานพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและชุมชนเข้มแข็ง 2) พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการด้านการเงินการบัญชีแก่สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 2,316 แห่ง เพื่อ...... - สหกรณ์สามารถจัดทำบัญชี และงบการเงินได้ - ผู้บริหารมีข้อมูลทางบัญชี เพื่อใช้ในการวางแผน และตัดสินใจ 2.2 พัฒนาสหกรณ์ที่ยังไม่สามารถจัดทำบัญชีและ งบการเงินได้ 1,516 แห่ง แนะนำการจัดทำบัญชีและงบการเงิน ใช้โปรแกรมระบบบัญชีสหกรณ์ครบวงจร (FAS) อบรมการจัดทำบัญชีและงบการเงินแก่พนักงานบัญชีสหกรณ์ จัดช่องทางให้บริการความรู้ด้านการบัญชีผ่านทาง “Application” 4141
แผนงานยุทธศาสตร์ : ส่งเสริมการดำเนินงานตามแนวทาง หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โครงการส่งเสริมการดำเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จำนวน 10,500 ราย ภายใต้ 8 โครงการ - โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนในถิ่นทุรกันดารฯ 1,980 ราย - โครงการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านบัญชีในพื้นที่ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน 1,230 ราย - โครงการพัฒนากลุ่มอาชีพประชาชนในถิ่นทุรกันดารฯ 190 ราย - โครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดำริ3,000 ราย - โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 2,200 ราย - โครงการศิลปาชีพ 1,200 ราย - โครงการหลวง 700 ราย - โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ฯ 924 ครั้ง เพื่อ...... เกษตรกรมีวินัยทางการเงิน เป็นภูมิคุ้มกันการเป็นหนี้ สามารถใช้ข้อมูลทางบัญชีในการวางแผนการผลิตและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพ 4242
แผนงานบูรณาการ : พัฒนาศักยภาพการผลิตภาคเกษตร สร้างความเข้มแข็งด้านการจัดทำบัญชีครัวเรือนและบัญชีต้นทุนอาชีพ แก่เกษตรกรภายใต้ 133,0000 ราย เพื่อ...... เกษตรกรมีวินัยทางการเงิน เป็นภูมิคุ้มกันการเป็นหนี้ สามารถใช้ข้อมูลทางบัญชีในการวางแผนการผลิตและลดต้นทุนในการประกอบอาชีพ - โครงการส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ 60,000 ราย - โครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ 70,000 ราย - โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกร 3,000 ราย - โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตร 882 ศูนย์ โครงการบูรณาการ จำนวน 4 โครงการ 4343
แผนงานบูรณาการ :ขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาชายแดนภาคใต้ สร้างความเข้มแข็งด้านการจัดทำบัญชีครัวเรือนและบัญชีต้นทุนอาชีพ แก่สมาชิกสหกรณ์ภายใต้ 9,600 ราย เพื่อ...... สมาชิกสหกรณ์มีวินัยทางการเงินและมีเงินรายได้เพิ่มขึ้น สมาชิกสหกรณ์มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น สหกรณ์มีความเข้มแข็งอย่างยั่งยืน โครงการเสริมสร้างการบริหารการเงินแก่สมาชิกสหกรณ์ และกลุ่มเกษตรกรในจังหวัดชายแดนภาคใต้ 4444
Thank You ! www.themegallery.com