อ๊อซ: OARS: Micro skills Darunee Phukao, Ph.D. Mahidol University การถามคำถามปลายเปิด (Open-ended questioning) การชื่นชมยืนยันรับรอง (Affirmation) การฟังอย่างเข้าใจและสะท้อนความ / ฟังแบบโดนใจ (Reflective listening) การสรุปความ (Summarization)
วัตถุประสงค์ เพื่อ refresh ทักษะการปรึกษา จุลภาค (Micro skills) OARS ไปใช้ ในการสร้างแรงจูงใจ
ทักษะหลัก (primary skills) อาร์ R: ฟัง แบบโดนใจ (Reflective listening) ความสำคัญ กลไกสำคัญที่ใช้สื่อว่าผู้ให้คำปรึกษาสนใจในตัว ผู้รับบริการ เข้าอกเข้าใจ (Empathy) ในตัวผู้ป่วย เป็นอย่างไร การกล่าวข้อความ มิใช่การตั้งคำถาม มิใช่กับดักการ สื่อสาร
การกล่าวข้อความ...ที่ไม่ใช่.... การฟังแล้วไม่โดนใจ (Reflective listening) กับดักการสื่อสาร
2. ให้คำแนะนำ (Sending solutions) ลักษณะการสื่อสารที่มีความเสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดความไม่ราบรื่นในกระบวนการสื่อสาร (Communication Roadblock) ตัดสิน (Judging) - (การวิพากษ์วิจารณ์/การตีตรา/การวินิจฉัย /การชมเชยแบบเลื่อนลอย) 2. ให้คำแนะนำ (Sending solutions) การสั่ง /การข่มขู่คุกคาม /การใช้เหตุผลทางคุณธรรม /การแนะนำอย่างตรงไปตรงมา/การถามคำถามมากเกินไป 3. หลีกเลี่ยงที่จะตอบสนองต่อความกังวลใจของคู่สนทนา (Avoiding other’s concerns) -การเบี่ยงประเด็น/การให้เหตุผล/การให้กำลังใจอย่างเลื่อนลอย ดร. ดรุณี ภู่ขาว ภาควิชาสังคมและสุขภาพ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล bumicbtdjdfs@gmail.com Carl Rogers, Reul Howe, Haim Ginott, Jack Gibb
ตัวอย่าง (กับดักการสื่อสาร) CL CO 1. ลุงคะ เข้าใจคะ ว่าลุงรักลูก แต่ลุงควรรักตัวเอง และห่วงตัวเอง ด้วยนะคะ สุขภาพลุงแย่แล้วนะคะ น้ำหนักก็มากกว่าคนอายุรุ่นราว คราวเดียวกัน ความดันก็สูง 2. ลุงคะ ลุงพอทราบไหมคะ ว่าเดี๋ยวนี้ความก้าวหน้าของการช่วยคนที่ มีปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมต่างๆที่เสี่ยงต่อผลเสียทาง สุขภาพ แบบที่ลุงเป็นอยู่เนี่ย นะมันมีอยู่จริงนะคะลุง 3. เข้าใจคะว่าลุงไม่แน่ใจ ไม่เป็นไรคะ ทุกคนมาครั้งแรกก็เป็นแบบนี้ เอางี้ดีกว่า ลืมเรื่อง ไม่แน่ใจไว้ก่อน ลุงมาฟังคำแนะนำจากดิฉันก่อน ดีกว่าคะ ว่าลุงควรจะทำตัวอย่างไร บอกตรงๆนะหมอ ไอ้ผมเนี่ยไม่ค่อย แน่ใจ การมีคงมีโค๊ช บำบง บำบัด ในเรื่อง ของการเปลี่ยนแปลง มาก็เพราะลูกเนี่ย แหละ
ตัวอย่าง (กับดักการสื่อสาร) CL CO 1. ลุงคะ เข้าใจคะ ว่าลุงรักลูก แต่ลุงควรรักตัวเอง และห่วงตัวเอง ด้วยนะคะ สุขภาพลุงแย่แล้วนะคะ น้ำหนักก็มากกว่าคนอายุรุ่นราว คราวเดียวกัน ความดันก็สูง 2. ลุงคะ ลุงพอทราบไหมคะ ว่าเดี๋ยวนี้ความก้าวหน้าของการช่วยคนที่ มีปัญหาเรื่องการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมต่างๆที่เสี่ยงต่อผลเสียทาง สุขภาพ แบบที่ลุงเป็นอยู่เนี่ย นะมันมีอยู่จริงนะคะลุง 3. เข้าใจคะว่าลุงไม่แน่ใจ ไม่เป็นไรคะ ทุกคนมาครั้งแรกก็เป็นแบบนี้ เอางี้ดีกว่า ลืมเรื่อง ไม่แน่ใจไว้ก่อน ลุงมาฟังคำแนะนำจากดิฉันก่อน ดีกว่าคะ ว่าลุงควรจะทำตัวอย่างไร ก่อนอื่นลุงต้องทำ ทั้งหมด 4 เทคนิค นะคะ ฟังนะคะ 1…… บอกตรงๆนะหมอ ไอ้ผมเนี่ยไม่ค่อย แน่ใจ การมีคงมีโค๊ช บำบง บำบัด ในเรื่อง ของการเปลี่ยนแปลง มาก็เพราะลูกเนี่ย แหละ
ทักษะการฟังแบบโดนใจ ทักษะการฟังแบบโดนใจ จะเชื่อมโยง D กลับไปยัง A คนพูด (CL) คนฟัง (CO) C B A D ทักษะการฟังแบบโดนใจ จะเชื่อมโยง D กลับไปยัง A : Hypothesis testing Thomas Gordon’s communication model
ผมไม่ค่อยแน่ใจ การมีคงมีโค๊ช บำบง บำบัด ในเรื่องของ การเปลี่ยนแปลง เราไม่มั่นใจยังงัยก็ไม่รู้ การเข้ามาหาผู้ให้คำปรึกษาเป็นสิ่งที่ฉันต้องการหรือ มันดูแปลกๆที่จะต้องมาคุยกับใครก็ไม่รู้ ที่ฉันไม่เคยรู้จักมาก่อน โดยเฉพาะมาคุยเรื่องนี้อีก นอกจากนั้น ฉันจะเชื่อใจได้อย่างไร ว่าถ้าคุยไปแล้ว เขาจะไม่เอาเรื่องที่เราคุยกันไปบอกพ่อแม่ฉัน เฮ๊อ แต่ถ้าฉันไม่คุย ฉันคงโดนพ่อแม่สวดยับ อาจจะโดนยิ่งกว่าคุยกับคนพวกนี้ เซ็งจริงๆเลยตรู A ผมไม่ค่อยแน่ใจ การมีคงมีโค๊ช บำบง บำบัด ในเรื่องของ การเปลี่ยนแปลง B
ทักษะการฟังแบบโดนใจ ทักษะการฟังแบบโดนใจ จะเชื่อมโยง D กลับไปยัง A ผมไม่ค่อยแน่ใจ การมีคงมีโค๊ช บำบง บำบัด ในเรื่องของการเปลี่ยนแปลง คนพูด (CL) คนฟัง (CO) C B A D ทักษะการฟังแบบโดนใจ จะเชื่อมโยง D กลับไปยัง A Thomas Gordon’s communication model
ฉันไม่แน่ใจ ว่าการพูดคุยจะช่วยให้ฉันเปลี่ยนได้ C= หู & หัว หู หัว 1. สังเกตว่าผู้พูดรู้สึกอย่างไร มุ่งที่คำที่แสดงออกซึ่งความรู้สึก 2. จำเนื้อหาของข้อความอย่างคร่าวๆ 3. สังเกตท่าทางของผู้พูดขณะพูด 4. ถามตัวเองว่าถ้าเราอยู่ในสถานการณ์นั้น ในแบบเดียวกับผู้พูด เราจะรู้สึกอย่างไร ถ้าผู้พูดพูดไปด้วยอารมณ์ใด อารมณ์หนึ่งอย่างท่วมท้น ให้พยายามกระตุ้นให้เขาระบายความรู้สึกนั้น เพื่อเป็นการลด อารมณ์ดังกล่าว 6. ใช้ข้อความที่มิได้จัดอยู่ในหมวดหมู่ ของลักษณะการสื่อสารที่มีความเสี่ยงสูง ที่จะก่อให้เกิดความไม่ราบรื่นในกระบวนการสื่อสาร (Communication Roadblock) C คุณไม่ต้องการเสียเวลามาพูดคุยที่นี่ คุณไม่แน่ใจว่าตัวคุณต้องการมาที่นี่จริงหรือเปล่า คุณรู้สึกหงุดหงิด ไม่พอใจ ที่พ่อแม่บังคับให้คุณมาที่นี่ ดูเหมือนว่าคุณไม่มั่นใจว่าการพูดคุยจะช่วยคุณได้ D
ทักษะการฟังแบบโดนใจ ฉันไม่แน่ใจ ว่าการพูดคุย จะช่วยให้ฉันเปลี่ยนได้ ผมไม่ค่อยแน่ใจ การมีคงมีโค๊ช บำบง บำบัด ในเรื่องของการเปลี่ยนแปลง คนพูด (CL) คนฟัง (CO) C B D A คุณไม่ต้องการเสียเวลามาพูดคุยที่นี่ คุณไม่แน่ใจว่าตัวคุณต้องการมาที่นี่จริงหรือเปล่า คุณโกรธที่พ่อแม่บังคับให้คุณมาที่นี่ คุณไม่มั่นใจว่าการพูดคุยจะช่วยคุณได้ เราไม่มั่นใจยังงัยก็ไม่รู้ การเข้ามาหาผู้ให้คำปรึกษาเป็นสิ่งที่ฉันต้องการหรือ มันดูประหลาดๆที่จะต้องมาคุยกับใครก็ไม่รู้ ที่ฉันไม่เคยรู้จักมาก่อน โดยเฉพาะมาคุยเรื่องนี้อีก นอกจากนั้น ฉันจะเชื่อใจได้อย่างไร ว่าถ้าคุยไปแล้ว เขาจะไม่เอาเรื่องที่เราคุยกันไปบอกพ่อแม่ฉัน เฮ๊อ แต่ถ้าฉันไม่คุย ฉันคงโดนพ่อแม่สวดยับ อาจจะโดนยิ่งกว่าคุยกับคนพวกนี้ เซ็งจริงๆเลยตร Thomas Gordon’s communication model
ทักษะการฟังแบบโดนใจ คนพูด (CL) คนฟัง (CO) B A D ทักษะการฟังแบบโดนใจ จะเชื่อมโยง D กลับไปยัง A Thomas Gordon’s communication model
หลักทักษะการฟังแบบสะท้อนความ (D) 1. สังเกตว่าผู้พูดรู้สึกอย่างไร มุ่งที่คำที่แสดงออกซึ่งความรู้สึก 2. จำเนื้อหาของข้อความอย่างคร่าวๆ 3. สังเกตท่าทางของผู้พูดขณะพูด 4. ถามตัวเองว่าถ้าเราอยู่ในสถานการณ์นั้น ในแบบเดียวกับผู้พูด เราจะรู้สึกอย่างไร 5. ถ้าผู้พูดพูดไปด้วยอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งอย่างท่วมท้น ให้ พยายามกระตุ้นให้เขาระบายความรู้สึกนั้น เพื่อเป็นการลด อารมณ์ดังกล่าว 6. ใช้ข้อความที่มิได้จัดอยู่ในหมวดหมู่ของลักษณะการสื่อสารที่มี ความเสี่ยงสูงที่จะก่อให้เกิดความไม่ราบรื่นในกระบวนการสื่อสาร (Communication Roadblock) Express Empathy: How to do this!: ดร. ดรุณี ภู่ขาว ภาควิชาสังคมและสุขภาพ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล bumicbtdjdfs@gmail.com
ประเภทของการฟังแบบโดนใจ ง่าย ซับซ้อน รู้สึก (Feelings) สองด้าน (Double- side) หนัก (Amplified ) พยาบาลสุขสมร: คุณมาที่นี่เพราะ กำลังยุ่งยากใจ เรื่องราวที่มีกับ น้องสาวคุณ พยาบาลสุขสมร: ถึงแม้ว่าคุณจะ ตระหนักว่าตัวคุณดูแลสุขภาพ ตนเองได้อย่างดี แต่ดูเหมือนว่า น้องสาวก็กังวลเป็นห่วงคุณอยู่บ้าง พยาบาลสุขสมร: น้องสาว มักจะ มาหาเรื่องรบกวนคุณ อิจฉาคุณ บ่อยๆและตอนนี้เธอกำลังหาเรื่อง คุณโดยข่มขู่ว่าจะเอาเรื่องคุณไป ฟ้องเจ้านายของคุณ ดร. ดรุณี ภู่ขาว ภาควิชาสังคมและสุขภาพ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล bumicbtdjdfs@gmail.com