แหล่งสารสนเทศ ดร.นฤมล รักษาสุข.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โดย สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม เกล้าธนบุรี
Advertisements

เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เป็นฐานข้อมูลทางด้านคอมพิวเตอร์และ เทคโนโลยีสารสนเทศจากสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง จดหมายข่าว และเอกสารในการประชุมทาง วิชาการ ที่จัดทำโดย ACM (Association for Computing.
การตรวจสอบบทความ จากฐานข้อมูล
ธีรนารถ Jan Experiences in GMP Inspection in WHO Vaccine Prequalification Scheme ธีรนารถ จิวะไพศาลพงศ์ กองชีววัตถุ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Report การแข่งขัน.
การประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
ภาควิชาสูติศาสตร์และนรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
การสืบค้นข้อมูลในการวิจัยจากเว็บไซต์หอสมุด
การใช้ฐานข้อมูล ASCE สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
การประชุมวิชาการประจำปี ศสท
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
การสร้างเครื่องมือในการวิจัย (Instrument)
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “ก.พ.อ. 03 : ก้าวแรกสู่ตำแหน่งทางวิชาการ”
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
“แนวทางการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ”
ABI/INFORM Complete การใช้งานฐานข้อมูล โดย...จิรวัฒน์ พรหมพร
การจัดหาหรือจัดให้มีการพัฒนา และการบํารุงรักษาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบงานคอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศ มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของระบบสารสนเทศตามวิธีการแบบปลอดภัย.
การออกแบบระบบงาน (Conceptual Design)
Register คลิก register.
การออกแบบระบบงาน (Conceptual Design)
ABI/INFORM Collection
ทักษะการสืบค้นและการนำเสนอสาร
บทที่ 2 การบริหารจัดการข้อมูลและลำดับชั้นของการจัดเก็บข้อมูล
Receivables AR (ระบบบัญชีลูกหนี้)
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
หน่วยการเรียนที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศและการวิเคราะห์ข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นข้อมูลสิทธิบัตรและการสืบค้นสิทธิบัตร
การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน Internal Quality Assurance
ทำอย่างไรถึงจะมีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ มากกว่า 200 เรื่อง
แหล่งสารสนเทศ ดร.นฤมล รักษาสุข.
วิจัยทางการพยาบาล ดร.อัญชลี จันทาโภ.
รายวิชา Scientific Learning Skills
รายงานความก้าวหน้า การประชุมครั้งที่ 7/2555
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
เอกสารบรรยายเกี่ยวกับข้อบังคับฯ ระดับบัณฑิตศึกษา
ABI/INFORM Collection
ผลงานวิชาการรับใช้สังคม และการขอตำแหน่งทางวิชาการ
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
ประกาศ มหาวิทยาลัยมหิดล (มีผลตั้งแต่วันที่ 1 กรกฎาคม 2556)
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจระหว่างประเทศ
การจัดการความปลอดภัยระบบสารสนเทศ (Information Security Management System : ISMS) ด้วย เกณฑ์มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ISO/IEC และ ISO/IEC
การใช้งานฐานข้อมูล ACS Journals
รายวิชา Scientific Learning Skills
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
LIBRARY Chiang Mai University ระบบเชื่อมโยงข้อมูลทางบรรณานุกรม
Mr. Chaiwat Tawarungruang
การใช้งานฐานข้อมูล Web of Science
การประเมินสารสนเทศ และแหล่งสารสนเทศ
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ในการเขียน แบบ ก.พ.อ 03 ปรับปรุง / 2
การเก็บรวบรวมข้อมูล.
ดร. สุทธศรี วงษ์สมาน รองเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
วาระประชุมฝ่ายส่งเสริมสุขภาพ ประจำเดือน มีนาคม 2562
Homepage.
การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางธุรกิจ
บทที่ 7 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการตลาด
บทที่ 8. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
Introduction to Public Administration Research Method
การใช้งานฐานข้อมูล IEEE/IET Electronic Library (IEL)
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
เขียนบทความวิจัยอย่างไร ในวารสารวิชาการนานาชาติ
งานวิจัย.
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
การส่งผลงานวิชาการ เพื่อตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารวิชาการ
การรวบรวมข้อมูลข่าวสารการตลาด (The Marketing Information Gathering)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แหล่งสารสนเทศ ดร.นฤมล รักษาสุข

แหล่งสารสนเทศแยกประเภท หน่วยที่ 4 แหล่งสารสนเทศแยกประเภท ตามขั้นการผลิต

4. แหล่งสารสนเทศแยกประเภท ตามขั้นการผลิต 4.1 สารสนเทศปฐมภูมิ (Primary Sources) 4. 2 สารสนเทศทุติยภูมิ (Secondary Sources)

4.1 สารสนเทศปฐมภูมิ (Primary Sources) 4.1.1 ขอบเขตของสารสนเทศปฐมภูมิ 4.1.2 ประโยชน์ของสารสนเทศปฐมภูมิ 4.1.3 ประเภทของสารสนเทศปฐมภูมิ

4.1.1 ขอบเขตของสารสนเทศปฐมภูมิ 1) เป็นสารสนเทศและข้อมูลที่ได้มาจากต้นแหล่งโดยตรง เช่น ข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์หรือตอบแบบสอบถาม 2) เป็นรายงานข้อมูลและสารสนเทศใหม่ที่เป็นผลจากการศึกษา ค้นคว้าวิจัย การค้นพบทฤษฎีใหม่ 3) เป็นสารสนเทศต้นฉบับ เช่น ต้นฉบับตัวเขียน จดหมายเหตุ

4.1.2 ประโยชน์ของสารสนเทศปฐมภูมิ 1. เป็นการเผยแพร่ความรู้หรือข้อมูลใหม่เพื่อการนำไปใช้ประโยชน์ต่อไป 2. เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้ร่วมสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้ศึกษาและวิพากษ์วิจารณ์ความรู้หรือสารสนเทศใหม่นั้นอย่างเปิดเผย 3. เป็นสารสนเทศที่มีความน่าเชื่อถือและมีน้ำหนักในการอ้างอิงทางวิชาการมากที่สุด

4.1.3 ประเภทของสารสนเทศปฐมภูมิ 1) วารสารวิจัยและวิชาการ 2) รายงานการวิจัย 3) วิทยานิพนธ์ 4) รายงานการประชุมทางวิชาการ 5) เอกสารสิทธิบัตร 6) เอกสารมาตรฐาน 7) เอกสารการปฏิบัติงาน 8) จดหมายเหตุ

1) วารสารวิจัยและวิชาการ - จัดทำโดยสถาบันทางวิชาการหรือวิชาชีพ - บทความที่ตีพิมพ์มักเป็นบทความวิจัย (Research Paper) ที่ได้รับการพิจารณาในด้านคุณภาพ ผู้รับผิดชอบเนื้อหาคือบรรณาธิการประจำฉบับ

ความเป็นมาของการจัดทำ วารสารวิชาการ - ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 17 นักวิทยาศาสตร์ใช้วิธีการ สื่อสารแบบไม่เป็นทางการ - กลางคริสต์ศตวรรษที่ 17 มีการตั้ง Royal Society ที่ประเทศอังกฤษ - ค.ศ.1661 Sir Robert Moray มีความคิดทำ วารสารวิชาการโดยใช้จดหมายส่วนตัว

ความเป็นมาของการจัดทำ วารสารวิชาการ ต่อ - โครงการจัดทำวารสารรายสัปดาห์เสนอโดย Sir Denis de Sallo เมื่อปี ค.ศ.1664 - วารสารรายสัปดาห์ฉบับแรกได้รับการตีพิมพ์ เมื่อ 4 Jan. ค.ศ.1665 (Le Journal des Scavans = Journal of Learned Men)

หน้าที่ของวารสารวิชาการ เป็นเอกสารสำคัญทางด้านวิทยาศาสตร์ เป็นแหล่ง ข้อมูลสำคัญในการผลิตสารสนเทศทุติยภูมิอาจ เรียกว่าเป็น “เอกสารจดหมายเหตุด้านวิทยาศาสตร์” 2. เป็นเครื่องมือสำคัญในการกระจายสารสนเทศทุกสาขาวิชา 3. เป็นสถาบันทางสังคมที่ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้ ในสาขาวิชาต่าง ๆ

วารสารแบบเสรี (Open Access Journals) หมายถึงวารสารที่ผู้อ่านสามารถอ่านและเข้าถึงได้โดยเสรีบนอินเทอร์เน็ต โดยผู้เขียนบทความเป็นผู้จ่ายเงินค่าตีพิมพ์ (Author Side Fee) ปัญหาที่พบคือ 1) ความน่าเชื่อถือเกี่ยวกับกระบวนการ Peer Review 2) การหวังผลกำไรจากค่าตีพิมพ์โดยไม่มีการควบคุมทางวิชาการอย่างเข้มข้น 3) ผู้เขียนส่งต้นฉบับซ้ำซ้อน เพื่อเพิ่มจำนวนผลงานตีพิมพ์

ค่าดัชนีผลกระทบของวารสารวิชาการ (Journal Impact Factor) หมายถึงจำนวนครั้งโดยเฉลี่ยที่บทความของวารสารแต่ละชื่อจะได้รับการอ้างอิงในแต่ละปี นักวิจัยใช้ในการคัดเลือกวารสารเพื่อการตีพิมพ์บทความ หน่วยงานด้านการประกันคุณภาพและการจัด Rankingใช้ในการประเมินคุณภาพด้านการวิจัยของสถาบัน ห้องสมุดใช้ในการคัดเลือกวารสาร

2) รายงานการวิจัย (Research Report) - เสนอสารสนเทศที่เป็นผลผลิตจากการศึกษา ค้นคว้าวิจัย - เนื้อหามักประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ข้อความเกี่ยวกับ ผู้เขียน สาระสังเขป บทนำ วัตถุประสงค์ ขอบเขต และวิธีดำเนินการวิจัย ผลการวิจัย บทสรุป และ รายการอ้างอิง

3) วิทยานิพนธ์ (Thesis / Dissertation) - หมายถึงสารสนเทศที่รายงานผลการวิจัยในหัวข้อใดหัวข้อหนึ่งที่นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษารวบรวมขึ้นเพื่อเสนอต่อสถาบันการศึกษาเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

วิทยานิพนธ์ (Thesis/Dissertation) ต่อ วิทยานิพนธ์แบ่งเป็น 2 ระดับ 1. ระดับปริญญาโท 2. ระดับปริญญาเอก 2.1 Doctor of Philosophy (Ph.D) 2.2 Doctor of Education (Ed.D) 2.3 Doctor of Business Administration (D.B.A.)

4) รายงานการประชุมทางวิชาการ (Proceedings) เสนอสารสนเทศในรูปบทความของผู้ที่นำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการหรือวิชาชีพ การประชุมดังกล่าวอาจมีตั้งแต่ระดับท้องถิ่น ระดับชาติ ระดับภูมิภาค และระดับนานาชาติ จัดทำและเผยแพร่ภายหลังการประชุม

หน้าที่ของการประชุมสัมมนา เป็นการประกาศถึงความรู้ใหม่ที่ค้นพบ เป็นการแลกเปลี่ยนสารสนเทศและประสบการณ์ เป็นการให้การศึกษา เป็นการแก้ปัญหาระหว่างสาขาวิชา เป็นการรายงานข้อเท็จจริง เป็นการสังสรรค์และแสดงสถานะของกลุ่มผู้เข้า ร่วมสัมมนา

5) เอกสารสิทธิบัตร (Patent) สิทธิบัตร คือ หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครอง การประดิษฐ์หรือการออกแบบผลิตภัณฑ์ เอกสารสิทธิบัตร คือ เอกสารที่อธิบายรายละเอียด ของการประดิษฐ์ และรายละเอียดการขอถือสิทธิ ต่าง ๆ ในสิ่งประดิษฐ์ที่ได้ยื่นต่อสำนักงานสิทธิบัตร ประกอบด้วยรายละเอียด 3 ส่วน คือรายละเอียด บรรณานุกรมสาระการประดิษฐ์ และรายละเอียด การขอถือสิทธิ

รายละเอียดทางบรรณานุกรม ของเอกสารสิทธิบัตร - ปรากฏอยู่หน้าแรกของเอกสารสิทธิบัตร - มีหมายเลขอยู่ในวงเล็บกำกับหน้ารายการเรียกว่า INID Code (Internationally Agreed Numbers for the Identification of Data Code) - รหัสดังกล่าวกำหนดขึ้นเพื่อประโยชน์ในการใช้ เอกสารสิทธิบัตรในภาษาต่าง ๆ

ตัวอย่างเลขกำกับรายการ เอกสารสิทธิบัตร [11] เลขที่สิทธิบัตร (patent publication number) [54] ชื่อเรื่องของสิทธิบัตร (title of invention) [75] ชื่อของผู้ประดิษฐ์ (inventor) [73] ชื่อของผู้ให้มีการประดิษฐ์ (assignees) มักจะเป็นชื่อของบริษัท {[75] และ [73] เมื่อได้รับเอกสิทธิแล้วเรียกว่า ผู้ทรงสิทธิ (patenter)}

ตัวอย่างเลขกำกับรายการ เอกสารสิทธิบัตร ต่อ [45] วันที่ได้รับสิทธิบัตร หรือวันที่พิมพ์สิทธิบัตร (publication date) [21] เลขที่ยื่นขอจดสิทธิบัตร (patent application number) [22] วันที่ยื่นขอจดสิทธิบัตร (filing date) สัญลักษณ์ เลขหมู่สิทธิบัตร (patent classification number) [52] เลขหมู่ตามแผนการจัดหมู่แห่งชาติ (local patent classification number)

ตัวอย่างเลขกำกับรายการ เอกสารสิทธิบัตร ต่อ [51] เลขหมู่ตามแผนการจัดหมู่สากล (international patent classification) [57] บทสรุปการประดิษฐ์ (abstract) คือ ข้อความที่สรุป สาระของการประดิษฐ์ที่ไม่เปิดเผยหรือแสดงไว้ใน รายละเอียดการประดิษฐ์ ข้อถือสิทธิ์และรูปเขียน (ถ้ามี) ในลักษณะที่ง่ายต่อการตรวจสอบรัดกุมและ ชัดแจ้ง

แหล่งบริการสารสนเทศสิทธิบัตร 1. สำนักสิทธิบัตร กรมทรัพย์สินทางปัญญา 2. สำนักหอสมุดและศูนย์สารสนเทศวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กรมวิทยาศาสตร์บริการ กระทรวงวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและการพลังงาน

6) เอกสารมาตรฐาน - การมาตรฐาน (Standardization) หมายถึงกิจกรรมที่ประกอบด้วยการกำหนดมาตรฐาน การประกาศใช้มาตรฐานและการนำมาตรฐานไปใช้เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ กรรมวิธีและการบริการมีความเหมาะสมกับการใช้งาน สามารถปรับเปลี่ยนทดแทนกันได้และมีรูปแบบไม่ มากเกินไป

เอกสารมาตรฐาน ต่อ - เอกสารมาตรฐาน (Standards Specification) คือ เอกสารที่จัดทำขึ้นรวมกันโดยได้รับความเห็นชอบ จากองค์กรที่ได้รับการรับรอง โดยใช้เป็นกฎระเบียบ แนวทางหรือลักษณะเฉพาะสำหรับกิจกรรม - เอกสารมาตรฐานแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ 1) มาตรฐานระดับสากล 2) มาตรฐานระดับประเทศ 3) มาตรฐานระดับท้องถิ่น

เนื้อหาของเอกสารมาตรฐาน ปก คำนำ สารบัญ บทนำ บทนำ เนื้อหาทั่วไป ชื่อเรื่อง ขอบข่าย มาตรฐานอื่นที่ใช้อ้างอิง บทนิยาม ลัญลักษณ์และตัวย่อ คุณลักษณะที่ต้องการ (requirements) การชักตัวอย่าง (sampling) วิธีทดสอบ (test methods) การแบ่งประเภท (classification) การเรียกชื่อขนาด(designation) การทำเครื่องหมาย ฉลาก การบรรจุหีบห่อ ผนวกของเนื้อหามาตรฐาน เนื้อหาของ มาตรฐาน เนื้อหา ทางวิชาการ ข้อมูลเพิ่มเติม ผนวกทั่วๆ ไป หมายเหตุ

แหล่งสารสนเทศมาตรฐาน - ห้องสมุดสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม

7) เอกสารการปฏิบัติงาน หมายถึง สารสนเทศที่แสดงรายละเอียด ขั้นตอนวิธีปฏิบัติงานของหน่วยงานต่าง ๆ เป็นเครื่องมือสำคัญในการแสดงขอบเขตและ ภารกิจของหน่วยงาน ได้แก่ รายงานการประชุม บันทึกโต้ตอบ หนังสือเวียน

วงจรชีวิตเอกสาร 3. ระยะ การสิ้นสุด 1. ระยะ การเกิด 2. ระยะ การอยู่ 3. ระยะ การสิ้นสุด 1. ระยะ การเกิด 1. การจัดทำ - จดหมายโต้ตอบ - บันทึกความจำ - คำสั่ง - แบบพิมพ์ - ภาพ - สำเนา - วัสดุย่อส่วน - สื่อคอมพิวเตอร์ 3. กำจัด - เก็บ - จำหน่ายออก - ทำลาย 2.2 อยู่ระหว่างกึ่ง กระแสการใช้ - นำมาใช้เป็นครั้งคราว - ดูแลรักษา 2. ระยะ การอยู่ 2.1 อยู่ระหว่างกระแส การใช้ - ใช้ในการตัดสินใจ - ใช้ในการเป็นพยานหลักฐาน - ใช้อ้างอิงเพื่อการปฏิบัติงาน - ใช้ติดต่อโต้ตอบ - ใช้อ้างอิงทางกฎหมาย

7) เอกสารการปฏิบัติงาน (ต่อ) เอกสารการปฏิบัติงานที่หน่วยงานพิจารณาว่ามีคุณค่าทางการบริหาร ทางการเงิน ทางกฎหมาย และ/หรือมีสาระเชิงประวัติและวิทยาการต่างๆ สมควรเก็บรักษาตลอดไปจะมีสถานะเป็นจดหมายเหตุของหน่วยงานนั้นๆในอนาคต การจำแนกเอกสารเพื่อการจัดเก็บเป็นจดหมายเหตุ หน่วยงานต้องจัดทำตารางกำหนดอายุเอกสาร

ดูตัวอย่าง ตารางกำหนดอายุเอกสารของ มทส

8) จดหมายเหตุ (Archives) คำที่ใช้ในภาษาอังกฤษ ความหมาย คำที่ใช้ในภาษาไทย คำที่ใช้ในภาษาอังกฤษ 1. หนังสือบอกข่าวคราวที่เป็นไปและ รายงานหรือบันทึกเหตุการณ์สำคัญ ที่เกิดขึ้น จดหมายเหตุ พงศาวดาร - Annals - Chronicle - Journal - Register of events - Historical writing 2. เอกสารที่มีคุณค่าทางการบริหาร ทางการเงิน ทางกฎหมาย และ/ หรือมีสาระเชิงประวัติและวิทยาการ ต่างๆ ควรเก็บรักษาตลอดไป จดหมายเหตุ เอกสารจดหมายเหตุ - Archives - Archival Document - Records - Historical Records

จดหมายเหตุ (Archives) ต่อ คำที่ใช้ในภาษาอังกฤษ ความหมายของจดหมายเหตุ ความหมาย คำที่ใช้ในภาษาไทย คำที่ใช้ในภาษาอังกฤษ 3. สถาบันหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ ในการบริหารงานจดหมายเหตุ สถาบันจดหมายเหตุ หน่วยงานจดหมายเหตุ - Archives - Record Office 4. อาคารหรือส่วนของอาคารที่เป็นที่ จัดตั้งของสถาบันจดหมายเหตุ ที่ทำการจดหมายเหตุ หอจดหมายเหตุ - Archives - Repository