บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter3 : Data Model Class on 23 and 24 Nov 10
Advertisements

การสร้างเว็บเพจด้วยภาษา Html
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
System Database Semester 1, 2009 Worrakit Sanpote 1.
Entity-Relationship Model E-R Model
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
MS-Access. SQL สามารถเรียกใช้ฐานข้อมูล ได้ทุกค่าย Access MySQL Foxpro DBF DB2Oracle MS SQL.
ระบบ ฐานข้อมูล (Database). ระบบฐานข้อมูล หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วย รายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันที่ จะนำมาใช้ในระบบต่าง ๆ ร่วมกัน ระบบฐานข้อมูล.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทที่ 5 ระบบหน่วยความจำ. หน่วยความจำเป็นแหล่งจัดเก็บข้อมูล และ เป็นพื้นที่ที่ใช้สำหรับประมวลผล หน่วยความจำหลัก (RAM) ต้องทำงาน ด้วยการใช้กระแสไฟฟ้าเลี้ยงตลอดเวลา.
การสร้างฐานข้อมูลใหม่ หมายถึง การสร้างแฟ้มข้อมูลใหม่บน Access สามารถกำหนด ได้ดังต่อไปนี้ ภาพแสดงการสร้างฐานข้อมูลใหม่
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
Microsoft Access 2007 ทำความรู้จักและใช้งาน. รู้จักกับฐานข้อมูล (Database) ฐานข้อมูล (Data base) คือ ? Bit Byte Field/Word Record Table/File.
การออกแบบโครงสร้างข้อมูล การออกแบบโครงสร้างข้อมูล หมายถึง กรณีสร้างตารางใหม่ด้วย ออกแบบตาราง (Table Design) เพื่อต้องการกำหนด โครงสร้างด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอนการ.
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ฐานข้อมูล.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การทำ Normalization 14/11/61.
บทที่ 11 การเขียนแผนผังข้อมูลแบบสัมพัทธ์.
โดย...มิสนพเก้า ปราชญากุล ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2553
ฐานข้อมูลและ ระบบจัดการฐานข้อมูล
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล (Database System)
ห้องแลปการคิดสร้างสรรค์
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
การบันทึกรายการค้าในสมุดบัญชี
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 5 : การตรวจจับข้อผิดพลาด การควบคุมการไหลของข้อมูล และการควบคุมข้อผิดพลาด Part1 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ระบบโครงข่ายโทรศัพท์
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
ระบบโทรศัพท์ บทที่ 3 เครื่องโทรศัพท์.
Basic Input Output System
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
กลุ่มเกษตรกร.
การสร้างโมเดลจำลองความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล E-R Model
หน่วยที่ 3 การประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
บทสรุป ระดับของข้อมูล มีการจัดแบ่งระดับของข้อมูลเป็น 3 ระดับ
Application of Software Package in Office
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 หลักการของระบบฐานข้อมูล
SMS News Distribute Service
ทำความรู้จักและใช้งาน
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การแก้ไขข้อมูล ความสัมพันธ์ระหว่างตาราง
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
สถาปัตยกรรมของฐานข้อมูล
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
บทที่ 10 วงจรรายได้.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล (Database System Concepts)
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
ตัวแบบข้อมูล (Data Modeling)
Chapter 7 : ขั้นตอนการแปลงแผนภาพ ER มาเป็นรีเลชั่น ( ER-to-Relational Mapping Algorithm ) อ.คเชนทร์ ซ่อนกลิ่น.
การขายและการตลาดสำหรับธุรกิจโรงแรมและที่พัก
Database Design & Development
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทสรุป ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล         ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึงโครงสร้างสารสนเทศ ที่ประกอบด้วยรายละเอียดของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์และเกี่ยวข้องกัน ที่จะนำมาใช้ระบบงานต่าง ๆ ร่วมกัน

บทสรุป คำศัพท์พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล บิต (Bit) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่มีขนาดเล็กที่สุด ไบต์ (Byte) หมายถึง หน่วยของข้อมูลที่เกิดจากการนำบิตมารวมกัน ฟิลด์ (Field) หมายถึง เขตข้อมูลมารวมกันแล้วได้ความหมายเป็นคำ         การประมวลผลในระบบแฟ้มข้อมูล ซึ่งมีการแบ่งระดับของข้อมูลในฐานข้อมูลไว้ดังต่อไปนี้

บทสรุป คำศัพท์พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล เรคคอร์ด (Record) หมายถึง ระเบียน หรือหน่วยของข้อมูลที่เกิดจาการนำเอาฟิลด์หรือเขตข้อมูลหลาย ๆ เขตข้อมูลที่เกี่ยวข้องมารวมกัน ไฟล์ (File) หมายถึง แฟ้มข้อมูล หรือหน่วยงานของข้อมูลที่เกิดจากการนำข้อมูลหลาย ๆ ระเบียนที่เป็นเรื่องเดียวกัน

บทสรุป คำศัพท์พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล เอนทิตี้ (Entity) หมายถึง ชื่อของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เปรียบเสมือนคำนาม แอททริบิวต์ (Attribute) หมายถึง รายละเอียดข้อมูลที่แสดงลักษณะ และคุณสมบัติของแอททริบิวต์หนึ่ง ๆ

บทสรุป คำศัพท์พื้นฐานเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล ความสัมพันธ์ (Relationships) หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. ความสัมพันธ์แบบหนึ่งต่อหนึ่ง (One-to-one Relationships) 2. ความสัมพันแบบหนึ่งต่อกลุ่ม (One-to-many Relationships) 3. ความสัมพันธ์แบบกลุ่มต่อกลุ่ม (Many-to-many Relationships)

บทสรุป ประโยชน์ของการประมวลผลแบบระบบฐานข้อมูล   ทำให้เกิดประโยชน์พอสรุปได้ดังนี้ 1.สามารถลดความซับซ้อนของข้อมูลได้ 2.สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ 3.หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้ 4.สามารถกำหนดระบบความปลอดภัยของข้อมูลได้ 5.สามารถกำหนดความเป็นมาตรฐานเดียวกันของข้อมูลได้ 6.เกิดความเป็นอิสระของข้อมูล

บทสรุป รูปแบบของระบบฐานข้อมูล รูปแบบของระบบฐานข้อมูล มีอยู่ด้วยกัน 3 ประการ คือ 1.ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) 2.ฐานข้อมูลแบบครือข่าย (Network Database) 3.ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database)

บทสรุป โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้ โปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้        โปรแกรมฐานข้อมูล จะช่วยให้ผู้ใช้สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งโปรแกรมฐานข้อมูลที่นิยมใช้มีอยู่ด้วยกันหลายตัว เช่น Access, FoxPro, Mysql, Oracle, SQL Sever เป็นต้น

บทสรุป คีย์ (KEY)         ใช้สำหรับการอ้างอิง การค้นหา การแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูล หรือการกำหนดความสัมพันธ์ ระหว่างข้อมูล แบ่งออกได้หลายปะเภท ดังต่อไปนี้ Primany Key หมายถึง คีย์หลัก Secondary Key  หมายถึง คีย์รอง Foreign Key  หมายถึง คีย์นอก Candidate Key หมายถึง คีย์ที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับคีย์หลัก Compound Key หมายถึง คีย์ที่เกิดจากการรวมข้อมูลหมายฟิลด์