โดย อ.อภิพงศ์ ปิงยศ รายวิชา สธ312 ระบบการจัดการฐานข้อมูลทางธุรกิจ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 3 แบบจำลองข้อมูล Data Models Calculus
Advertisements

อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
แนวทางการบริหารงบประมาณ
การเขียนโครงร่างวิจัย
บทที่ 6 บทที่ 6 คำสั่งแก้ไขปัญหาแบบ เลือก (CONDITION)
แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Entity-Relationship Model E-R Model
การพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้หนังสืออ่านนอกเวลา ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่1 แผนกเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ โรงเรียนโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
วิทยาลัยเทคโนโลยีบริหารธุรกิจอยุธยา
คณิตศาสตร์พื้นฐาน ค ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดย ครูชำนาญ ยันต์ทอง
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว สอนโดย ครูประทุมพร ศรีวัฒนกูล
LAB ตัวแปร : Variables ในการเขียนโปรแกรมเราต้องการให้โปรแกรม จดจำค่าต่างๆ ไว้ เช่นเมื่อรับค่าข้อมูลจาก ผู้ใช้ หรือค่าที่ได้จากการคำนวณใดๆ ค่า.
หลักการออกแบบฐานข้อมูล
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัด การพัฒนาครูและศึกษานิเทศก์ด้านการสร้าง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA)
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
SQL Structured Query Language.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 8 : TCP/IP และอินเทอร์เน็ต Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
Relational Algebra & Relational Calculus
หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การจัดการฐานข้อมูลด้วย PHP Function
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การจัดการระบบฐานข้อมูล ภาษาที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูล
Serial Communication.
BC320 Introduction to Computer Programming
โดย อ.อภิพงศ์ ปิงยศ รายวิชา สธ312 ระบบการจัดการฐานข้อมูลทางธุรกิจ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 12 : การประพันธ์สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
การจ่ายค่าตอบแทนพนักงานขาย
เซต (SET) ประวัติย่อของวิชาเซต ความหมายของเซต การเขียนแทนเซต
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
ภาษามาตรฐานสำหรับนิยามข้อมูล และการใช้ข้อมูล
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
คำสั่ง Create , Insert, Delete, Update
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ชื่อผลงานวิจัย การพัฒนาความสามารถด้านการพูดนำเสนอโปรแกรมท่องเที่ยวโดยใช้การสอนแบบบทบาทสมมุติ วิชาการตลาดเพื่อการท่องเที่ยวของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรชั้นปีที่
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
Application of Software Package in Office
บทที่ 9 การทำซ้ำ (Loop).
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 06 : Microsoft Excel (Part2) ทท101 เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์
2. ประโยคเงื่อนไข ข้อความที่ประกอบด้วย 2 ข้อความที่เชื่อมต่อกันด้วย ถ้า... แล้ว... เรียกข้อความในลักษณะเช่นนี้ว่า ประโยคเงื่อนไข - เรียกข้อความที่ตามหลัง.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
คณิตศาสตร์ 1 รหัสวิชา
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
การสร้างแบบสอบถาม และ การกำหนดเงื่อนไข.
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
OPERATOR ภาษาปาสคาล (Pascal)
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Database Design & Development
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โดย อ.อภิพงศ์ ปิงยศ รายวิชา สธ312 ระบบการจัดการฐานข้อมูลทางธุรกิจ บทที่ 6 การจัดการกับข้อมูล (Data Manipulation) Part2 – Relational Calculus โดย อ.อภิพงศ์ ปิงยศ รายวิชา สธ312 ระบบการจัดการฐานข้อมูลทางธุรกิจ

Overview แคลคูลัสเชิงสัมพันธ์ (Relational Calculus) Tuple-oriented Relational Calculus Domain-oriented Relational Calculus Relational Algebra และ Relational Calculus

Relational Calculus Relational calculus เป็นรูปแบบการปฏิบัติการใน ลักษณะ Nonprocedural Query Language ที่เป็น การกำหนดคำสั่งที่ใช้เรียกข้อมูลต่าง ๆ ที่ต้องการ จากรีเชลั่น โดยไม่สนใจวิธีการที่จะได้มาซึ่งผลลัพธ์ มีบทบาทสำคัญในการออกแบบภาษาเรียกดูข้อมูล (query language) ยึดหลักเกณฑ์ว่าต้องการเรียกดูข้อมูลอะไร (what) มากกว่าเรียกดูอย่างไร (how) “เน้นผลลัพธ์มากกว่า วิธีการ”

Relational Calculus [cont.] ผู้ใช้สามารถกำหนดรูปแบบการค้นหาในลักษณะของ นิพจน์และสมการทางคณิตศาสตร์ ผลลัพธ์ของคำตอบจะได้ tuple จากความสัมพันธ์ที่ ส่งผลให้สมการคณิตศาสตร์นั้นมีค่าเป็นจริง

ตัวอย่างการใช้ RA เทียบกับ RC SX SPX S# SNAME SP# P1 Part1 S1 P2 Part2 S2 SP# SNAME CITY S1 Supplier1 กทม. S2 Supplier2 สมุทรปราการ คำถาม: ต้องการแสดงชื่อและจังหวัดที่ตั้งของบริษัทที่ผลิตชิ้นส่วน P2 ที่ได้มาจากรีเลชั่น SX และ SPX

ตัวอย่างการใช้ RA เทียบกับ RC [cont.] Relational Algebra 1) JOIN SX และ SPX ด้วยแอตทริบิวต์ SP# 2) SELECT เฉพาะ Tuple ที่มีแอตทริบิวต์ S# เป็น P2 3) PROJECT ผลลัพธ์ให้แสดงเฉพาะแอตทริบิวต์ SNAME และ City Relational Calculus (SX.SNAME, SPX.CITY) WHERE EXISTS SPX (SPX.SP# = SX.SP# AND SX.S# = “P2”)

Tuple Relational Calculus สนใจในการค้นหา tuples จากเงื่อนไขที่กำหนดที่เป็น จริง โดยตั้งอยู่บนพื้นฐานของ ตัวแปร tuple (tuple variables) Tuple variable คือ ตัวแปรที่ทำหน้าที่แทน tuple ของ รีเลชั่นนั้นเพื่อจะได้อ้างถึงช่วงข้อมูลตามเงื่อนไขที่ต้องการ การกำหนด tuple variable จะใช้คำสั่ง RANGE มี รูปแบบดังนี้ RANGE OF T IS X1; X2; …, Xn โดยที่ T คือชื่อของตัวแปร tuple และ Xn คือชื่อของรีเลชั่น หรือเงื่อนไขที่ใช้เลือกข้อมูลจากรีเลชั่น

Tuple Relational Calculus [cont.] Free Variable (ตัวแปรอิสระ) เป็น Tuple Variable ที่ นำไปใช้กับตัวดำเนินการที่ใช้กำหนดค่าหรือเปรียบเทียบ เช่น SX.S# = “S1” เป็นการกำหนดค่า “S1” ให้กับแอ ตทริบิวต์ “S#” ของ Tuple Variable “SX” PX.WEIGHT <15 OR PX.WEIGHT > 25 เป็นการ เปรียบเทียบแอตทริบิวต์ WEIGHT ของ Tuple Variable “PX”

Tuple Relational Calculus [cont.] Bound Variable (ตัวแปรแบบไม่อิสระ) เป็น Tuple Variable ที่ใช้ในการตรวจสอบว่ามีกลุ่มของ Tuple ที่ตรง กับเงื่อนไขที่กำหนดหรือไม่ มี 2 คำสั่งคือ EXISTS และ FORALL EXISTS เป็นคำสั่งที่ตรวจสอบว่ามี Tuple ใด Tuple หนึ่ง ใน Tuple Variable ที่กำหนด เป็นไปตาม เงื่อนไขหรือไม่ มีรูปแบบคือ EXISTS x (f) FORALL เป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบว่าทุก Tuple ใน Tuple Variable ที่กำหนด มีค่าเป็นไปตามเงื่อนไขหรือไม่ มีรูปแบบคือ FORALL x (f) x คือชื่อของ Tuple Variable และ f คือเงื่อนไขในการตรวจสอบ

Tuple Relational Calculus [cont.] ตัวอย่างเช่น EXISTS SPX (SPX.S# = SX.S# AND SPX.P# = “P2”) เป็นคำสั่งตรวจสอบว่ามี Tuple ใดใน SPX หรือไม่ที่มีค่าตรง กับค่าของแอตทริบิวต์ S# ใน SX และมีค่าของแอตทริบิวต์ P# เท่ากับ P2 FORALL PX (PX.COLOR = “RED”) เป็นคำสั่งที่ใช้ตรวจสอบว่าทุก Tuple ใน PX มีค่าของแอตทริ บิวต์ COLOR เป็น “RED” หรือไม่ นักศึกษาสามารถศึกษาคำสั่งเพิ่มเติมในหนังสือเรียน หน้า 91

Domain-oriented Relational Calculus แตกต่างกับ Tuple-oriented Relational Calculus ตรงที่ จะใช้ตัวแปรโดเมนแทนการใช้ Tuple เรียกตัวแปรนี้ว่า Domain Variable มีรูปแบบคือ R(pair, pair, …) R คือ Relation และ pair คือค่าของแอตทริบิวต์ที่ต้องการ มี ลักษณะเป็นคู่ลำดับ A:v ซึ่ง A เป็นชื่อ แอตทริบิวต์ ของ R และ v เป็นค่าของแอตทริบิวต์นั้น

Domain-oriented Relational Calculus [cont.] ตัวอย่าง SX WHERE EXISTS STATUSX (STATUSX>20 AND S(S#:SX, STATUS:STATUSX, CITY: “สมุทรปราการ”)) แสดงรหัสของผู้ผลิตที่ตั้งอยู่ในจังหวัดสมุทรปราการและมีค่าของ STATUS มากกว่า 20 ซึ่งคำที่นำไปค้นหาจะอยู่หลังเครื่องหมาย ‘:’ คั่น

Relational Algebra และ Relational Calculus คำสั่งในกลุ่ม Relational Algebra เป็นคำสั่งพื้นฐาน สามารถนำไปสร้างเป็น Procedure ที่ประกอบไปด้วย คำสั่งต่าง ๆ ที่ทำงานเป็นลำดับ คำสั่งใน Relational Calculus เป็นคำสั่งที่มีรูปแบบการ ใช้งานที่ง่ายขึ้น และใน 1 คำสั่ง ใน Relational Calculus จะสร้างขึ้นจากหลายๆคำสั่งของ Relational Algebra มาประกอบ กัน คำสั่งทั้งสองกลุ่มได้ถูกนำไปใช้เป็นพื้นฐานในการพัฒนา ผลิตภัณฑ์ทางด้านฐานข้อมูลต่าง ๆ เป็นจำนวนมาก

ให้นักศึกษาทำการศึกษาตัวอย่างเพิ่มเติม ในตัวอย่างที่ 6 ให้นักศึกษาทำการศึกษาตัวอย่างเพิ่มเติม ในตัวอย่างที่ 6.10 ในหนังสือเรียนหน้า 94 – 96