MANAGERIAL ACCOUNTING EDITION 8 (2005) อ. งามตา ศรีวะรมย์
The author team Dr. Carl S. Warren Dr. James M. Reeve Dr. Philip E. Fess อ. งามตา ศรีวะรมย์
อาจารย์งามตา ศรีวะรมย์ คณะบัญชี ผู้นำเสนอ อาจารย์งามตา ศรีวะรมย์ คณะบัญชี
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบัญชีบริหารและระบบต้นทุนงานสั่งทำ (Introduction to Managerial Accounting &Job Order Cost Systems) อ. งามตา ศรีวะรมย์
ต้นทุน (Cost) ต้นทุน ต้นทุนการผลิต (Manufacturing Costs) ต้นทุนที่ไม่ใช่ต้นทุนการผลิต (Non-Manufacturing Costs) ต้นทุนการผลิต (Manufacturing Costs) อ. งามตา ศรีวะรมย์
ต้นทุนการผลิต (Manufacturing Costs) ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรม การผลิต โดยเริ่มตั้งแต่การ แปลงสภาพวัตถุดิบจนกระทั่ง กลายเป็นสินค้าสำเร็จรูป ความหมาย Direct Material Direct Labor Manufacturing Overhead ส่วนประกอบ อ. งามตา ศรีวะรมย์
ต้นทุนที่ไม่ใช่ต้นทุนการผลิต (Non-Manufacturing Costs) คชจ.ทั้งหมดที่เกิดขึ้นเนื่องจากกิจกรรมการบริหารทั่ว ๆ ไป คชจ.ทั้งหมดที่เกิดขึ้น เนื่องจากกิจกรรม การขาย ความหมาย เงินเดือนผู้บริหาร ค่าใช้จ่ายสำนักงาน ค่าโฆษณา ค่าตอบแทน พนักงานขาย ตัวอย่าง ค่าใช้จ่ายในการบริหาร (General & Administration Expenses) ค่าใช้จ่ายในการขาย (Selling Expenses) อ. งามตา ศรีวะรมย์
(Job Order Cost System) ระบบต้นทุน ระบบต้นทุนงานสั่งทำ (Job Order Cost System) บันทึกต้นทุนรวมของ ผลิตภัณฑ์แต่ละชนิด แยกจากกันตามประเภทของ ผลิตภัณฑ์ตามคำสั่งของ ลูกค้า ตามสัญญาซื้อขาย เป็นต้น ระบบต้นทุนงานช่วง (Process Cost System) บันทึกต้นทุนการผลิตรวม แล้วนำต้นทุนการผลิตรวม มาบันทึกแยกตามแผนก หรือตามขบวนการผลิต อ. งามตา ศรีวะรมย์
ระบบต้นทุนงานช่วง (Process Cost Systems) บทที่ 2 ระบบต้นทุนงานช่วง (Process Cost Systems) อ. งามตา ศรีวะรมย์
ระบบต้นทุน ระบบต้นทุนงานช่วง (Process Cost System) บันทึกต้นทุนการผลิตรวม แล้วนำต้นทุนการผลิตรวม มาบันทึกแยกตามแผนก หรือตามขบวนการผลิต อ. งามตา ศรีวะรมย์
การใช้ระบบทันเวลาในต้นทุนงานช่วง (Just-in-Time Processing) ระบบทันเวลาหรือตรงเวลา (Just-in-Time – JIT) เป็นปรัชญาในการดำเนินธุรกิจที่มุ่งลดเวลาและต้นทุน และลดผลผลิตที่มีคุณภาพต่ำ JIT จะจัดระบบที่แต่เดิมแยกเป็นแผนกย่อย ๆ หลาย ๆ แผนกให้รวมกันเป็น Work cells เดียวกัน เพื่อให้แผนกที่ควรจะรวมกันได้อยู่รวมกัน เพื่อใช้ทรัพยากรให้ประหยัดและเหมาะสมมากขึ้น ดังนั้นทำให้เหลือแผนกน้อยลง ซึ่งการรวมเป็น Work cells นั้น จะทำให้เกิดการเรียนรู้งานระหว่างกัน (Cross-trained) เกิดขึ้น พนักงานหนึ่งคนสามารถทำงานหรือเรียนรู้งานได้มากขึ้น ทำให้เกิดการยืดหยุ่นในการทำงาน และก่อให้เกิดความภูมิใจ และมีส่วนร่วมในการผลิตสินค้าได้มากขึ้น นอกจากนั้นระบบ JIT จะช่วยลดการเคลื่อนย้ายงานระหว่างแผนกให้ลดต้นทุนการขนส่งลงได้ เพราะมีแผนกน้อยลง อ. งามตา ศรีวะรมย์
บทที่ 3 พฤติกรรมต้นทุนและการวิเคราะห์ ต้นทุน ปริมาณ กำไร (Cost Behavior and Cost – Volume –Profit Analysis) อ. งามตา ศรีวะรมย์
การจำแนกต้นทุนสำหรับการวางแผนและควบคุม 1. ต้นทุนผันแปร (Variable Costs) 2. ต้นทุนคงที่ (Fixed Costs) 3. ต้นทุนกึ่งผันแปรหรือต้นทุนผสม(Semivariable Costs) 4. ต้นทุนกึ่งคงที่ (Step Costs) อ. งามตา ศรีวะรมย์
ต้นทุนกึ่งผันแปรหรือต้นทุนผสม ปริมาณกิจกรรม (หน่วย) Y ต้นทุน(บาท) ต้นทุนผันแปร 5,000 ต้นทุนคงที่ X ปริมาณกิจกรรม (หน่วย) อ. งามตา ศรีวะรมย์
การวิเคราะห์ต้นทุนผสม 1. วิธีจุดสูงสุด - ต่ำสุด (High – Low Method) 2. วิธีกะประมาณด้วยสายตา (Scattergraph Method) 3. วิธีกำลังสองน้อยที่สุด (Least Squares Regression Analysis Method) อ. งามตา ศรีวะรมย์
การวิเคราะห์ต้นุทน ปริมาณและกำไร เป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างต้นทุน ปริมาณและกำไร โดยการศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้น ต่อกำไรเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง ของต้นทุน หรือปริมาณขาย 1. ราคา 2. ปริมาณสินค้าที่ขาย 3. ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย 4. ต้นทุนคงที่รวม 5. ส่วนผสมของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดที่ขาย อ. งามตา ศรีวะรมย์
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน (Break Even Analysis) คือระดับกิจกรรมที่ทำให้เกิดรายได้ที่กับต้นทุนทั้งสิ้น เป็นจุดที่ไม่ก่อให้เกิดกำไร สรุปได้ว่าจุดคุ้มทุน คือ 1. จุดที่รายได้รวม = ต้นทุนรวม หรือ 2. จุดที่กำไร = 0 โดยหลักการแล้วมีวิธีการคำนวณได้ 3 วิธีดังนี้ คือ 1. โดยใช้สมการ 2. โดยใช้กำไรส่วนเกิน 3. โดยการวาดกราฟ อ. งามตา ศรีวะรมย์
บทที่ 4 การรายงานกำไรสำหรับการวิเคราะห์เชิงบริหาร (Profit Reporting for Management Analysis อ. งามตา ศรีวะรมย์
การคำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ มี 2 วิธี งบกำไรขาดทุน ทำได้ 2 วิธี วิธีต้นทุนเต็ม (Full Costing ) หรือ วิธีต้นทุนคิดเข้างาน (Absorption Costing) 2. วิธีต้นทุนทางตรง(Direct Costing) ต้นทุนผันแปร (Variable Costing) เสนอต่อบุคคลภายนอก - ผู้ถือหุ้น - กรมสรรพากร เสนอต่อบุคคลภายใน - ผู้บริหาร * ในที่นี้จะเรียกว่าวิธีต้นทุนเต็ม * ในที่นี้จะเรียกว่าวิธีต้นทุนผันแปร อ. งามตา ศรีวะรมย์
ต้นทุนที่เกี่ยวข้อง 1. ต้นทุนการผลิต (Manufacturing Costs) 2. ค่าใช้จ่ายในการขาย (Selling Costs) 3. ค่าใช้จ่ายในการบริหาร (Administration Costs) วัตถุดิบทางตรง XX ค่าแรงงานทางตรง XX ค่าใช้จ่ายในการผลิต – ผันแปร XX ค่าใช้จ่ายในการผลิต – คงที่ XX ต้นทุนการผลิต (Manufacturing Costs) อ. งามตา ศรีวะรมย์
บทที่ 5 งบประมาณ(Budgeting) อ. งามตา ศรีวะรมย์
วัตถุประสงค์ของการจัดทำงบประมาณ 1. เพื่อการวางแผนล่วงหน้า 2. เพื่อการเป็นสื่อกลางในการประสานงานของแผนกต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อเป็นเครื่องมือในการควบคุมการดำเนินงานและการวางแผนกำไร 5. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการประเมินผลงานของฝ่ายต่างๆ ในองค์กร อ. งามตา ศรีวะรมย์
ประโยชน์ของการจัดทำงบประมาณ 1. ช่วยวางแผนและการควบคุมดำเนินงานของฝ่ายบริหาร 2. งบประมาณช่วยให้ผู้บริหารมองไปในอนาคต 3. ช่วยให้เกิดการร่วมมือ และความพยายามร่วมกันของฝ่ายต่างๆ 4. ช่วยให้จัดสรรทัพยากรเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อ. งามตา ศรีวะรมย์
ประเภทของงบประมาณ 1. กิจการผลิต (Manufacturing Firms) 2. กิจการพาณิชยกรรม (Merchandising Firms) 3. กิจการบริการ (Service Firms) อ. งามตา ศรีวะรมย์
การจัดทำงบประมาณหลัก ประกอบด้วย :- 1. งบประมาณดำเนินงาน (Operating Budgets) 2. งบประมาณการเงิน (Financial Budgets) อ. งามตา ศรีวะรมย์
งบประมาณดำเนินงาน 1. งบประมาณขาย 2. งบประมาณการผลิต 3. งบประมาณวัตถุทางตรง 4. งบประมาณแรงงานทางตรง 5. งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิต 6. งบประมาณต้นทุนการผลิต 7. งบประมาณค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร 8. งบประมาณกำไรขาดทุน อ. งามตา ศรีวะรมย์
งบประมาณการเงิน งบประมาณการเงิน เป็นงบประมาณที่แสดงการเปลี่ยนแปลงสินทรัพย์ ต่างๆ เพื่อนำไปประมาณการฐานะของกิจการ ซึ่งประกอบด้วย 1. งบประมาณเงินลงทุน 2. งบประมาณเงินสด 3. งบประมาณงบดุล 4. งบประมาณกำไรสะสม 5. งบประมาณแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่วนของเจ้าของ * 6. งบประมาณกระแสเงินสด อ. งามตา ศรีวะรมย์
บทที่ 6 (Performance Evaluation for Decentralized Operations) การประเมินผลการปฏิบัติงานสำหรับการดำเนินงานแบบกระจายอำนาจ (Performance Evaluation for Decentralized Operations) อ. งามตา ศรีวะรมย์
1. แบบรวมอำนาจ (Centralized) 2. แบบกระจายอำนาจ (Decentralized) อ. งามตา ศรีวะรมย์
การกระจายอำนาจ (Decntralized) ในการบริหารงานแบบกระจายอำนาจ ผู้บริหารในระดับล่างจะมีอำนาจในการ กำหนดนโยบายวางแผนงาน และมีอำนาจในการตัดสินใจ ในส่วนงานของตน เพื่อ ควบคุมการบริหารงานในส่วนที่ตนเองรับผิดชอบให้บรรลุเป้าหมายรวมขององค์กร อ. งามตา ศรีวะรมย์
การบัญชีตามความรับผิดชอบ (Responsibility Accounting) ขบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล สรุปผลและรายงานผลการดำเนินงาน ของแต่ละศูนย์ความรับผิดชอบการบัญชีตามความรับผิดชอบ อ. งามตา ศรีวะรมย์
รูปแบบและหน้าที่ของศูนย์ความรับผิดชอบ ศูนย์ต้นทุน (Cost Center) ศูนย์รายได้ (Revenue Center) ศูนย์กำไร (Profit Center) ศูนย์ลงทุน (Investment Center) อ. งามตา ศรีวะรมย์
ข้อมูลทางการบัญชีที่ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพ ต้นทุน รายได้ขาย เงินลงทุน อื่นๆ (Cost) (Sales) (Capital Investment) (Other) ศูนย์ต้นทุน ศูนย์รายได้ ต้นทุนทางตรงเท่านั้น ศูนย์กำไร ศูนย์ลงทุน แผนภาพที่ 1 รูปแบบของศูนย์ความรับผิดชอบ รวมทั้งข้อมูลการบัญชีที่จะถูกนำใช้ในการประเมิน ประสิทธิภาพของแต่ละศูนย์ความรับผิดชอบ อ. งามตา ศรีวะรมย์
บทที่ 7 การวิเคราะห์ความแตกต่างและการกำหนดราคาผลิตภัณฑ์ (Differential Analysis and Product Pricing) อ. งามตา ศรีวะรมย์
1. จะให้เช่าหรือขายอุปกรณ์ 2. การยกเลิกส่วนงานที่ไม่มีกำไร หน้าที่หนึ่งของผู้บริหารคือการตัดสินใจเลือกในทางเลือกที่มีอยู่ ให้เหลือเพียงทางเลือกเดียวที่ดีที่สุด ทั้งนี้การศึกษาข้อมูลต้นทุน จะทำให้การตัดสินใจของผู้บริหารมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น วิธีการหนึ่งที่จะใช้ในการตัดสินใจคือ การวิเคราะห์ความแตกต่างของรายได้หรือต้นทุนในแต่ละทางเลือก และเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด การวิเคราะห์ความแตกต่าง (Differential Analysis) เป็นแนวคิดสำหรับผู้บริหารที่จะใช้ในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่มี ในกรณีต่าง ๆ ดังนี้ 1. จะให้เช่าหรือขายอุปกรณ์ 2. การยกเลิกส่วนงานที่ไม่มีกำไร 3. การผลิตหรือซื้อชิ้นส่วน 4. การซื้อสินทรัพย์ประจำมาทดแทนของเดิม 5. ผลิตต่อให้เสร็จหรือขายเป็นสินค้าที่ผลิตยังไม่เสร็จ 6. การรับคำสั่งซื้อพิเศษ อ. งามตา ศรีวะรมย์
การวิเคราะห์การลงทุน (Capital Investment Analysis) บทที่ 8 การวิเคราะห์การลงทุน (Capital Investment Analysis) อ. งามตา ศรีวะรมย์
การใช้จ่ายเงินของธุรกิจ สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1) รายจ่ายฝ่ายทุน (Capital Expenditure) หมายถึง รายจ่ายที่จ่ายเพื่อการลงทุนในสินทรัพย์ระยะยาว ที่จะให้ประโยชน์ในอนาคตเกินกว่าหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชี และ 2) รายจ่ายฝ่ายรายได้ (Revenue Expenditure) หมายถึงรายจ่ายที่กิจการจ่ายเพื่อก่อให้เกิดรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีนี้ รายจ่ายทั้งสองประเภทมีบทบาทต่อธุรกิจในการที่จะต้องหาแหล่งเงินที่เหมาะสม และวางแผนการใช้จ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะรายจ่ายฝ่ายทุน หรือเรียกว่า การลงทุน (Investment) อ. งามตา ศรีวะรมย์
ลักษณะของการวิเคราะห์การลงทุน (Nature of Capital Investment Analysis) ปกติกิจการจะทำการวิเคราะห์การลงทุน เพื่อประเมินการลงทุนระยะยาว การวิเคราะห์การลงทุน (Capital investment analysis) หรืองบลงทุน (Capital budgeting) มีหลักการดังนี้ 1. เป็นการวางแผนเชิงบริหาร (plans), การประเมินผล (evaluates), และการควบคุม (controls) การลงทุนในสินทรัพย์ประจำ 2. ทุนที่นำมาลงทุนนั้นต้องจัดหามาจากแหล่งเงินทุนระยะยาว (long-term commitment) 3. เนื่องจากเป็นการลงทุนระยะยาว จึงต้องทำให้ได้รับอัตราผลตอบแทน (rate of return) อย่างเหมาะสม 4. กระบวนการดังกล่าวจะต้องรวมถึงแผน ที่จะทำให้พนักงานพร้อมที่จะให้ความสนับสนุน (encouraging) มีส่วนร่วมและได้รับรางวัล (rewarding)
วิธีในการประเมินโครงการลงทุน (Methods of Evaluating Capital Investment Proposals) การประเมินโครงการลงทุน สามารถแยกออกได้เป็น 2 วิธีคือ 1. วิธีที่ไม่พิจารณาค่าปัจจุบันของเงิน 2. วิธีที่พิจารณาค่าปัจจุบันของเงิน
วิธีวัดผลตอบแทนจากการลงทุน 1. ระยะเวลาคืนทุน (Payback period : PP) 2. อัตราผลตอบแทนทางการบัญชี (Account rate of Method : ARR) 3. มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net Present Value : NPV) 4. อัตราผลตอบแทนภายใน (Internal Rate of Return :IRR) 5. ดัชนีการทำกำไร (Profitability Index : PI) อ.งามตา ศรีวะรมย์
บทที่ 9 การจัดสรรต้นทุน และ ต้นทุนตามกิจกรรม (Cost Allocation and Activity-Bases Costing) อ. งามตา ศรีวะรมย์
ต้นทุนตามกิจกรรม (Activity-based Costing : ABC) เป็นระบบของการจัดสรรต้นทุน โดยในขั้นแรกจะจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิตให้กับกลุ่ม หรือศูนย์กิจกรรม (Activity Cost Pools) หลังจากนั้นจึงจะจัดสรรค่าใช้จ่ายในแต่ละกิจกรรม เข้าเป็นต้นทุนผลิตภัณฑ์ ตามจำนวนกิจกรรมที่ผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ใช้ อ. งามตา ศรีวะรมย์
วิธีการจัดสรรต้นทุนผลิตภัณฑ์ (Product Costing Allocation Methods) วิธีการจัดสรรค่าใช้จ่ายการผลิต 3 วิธี วิธีอัตราเดียว ทั้งโรงงาน วิธีหลายอัตราแยกตามแผนกผลิต วิธีต้นทุนตามกิจกรรม (ABC) อ. งามตา ศรีวะรมย์
ขั้นตอนการดำเนินงานตามระบบต้นทุนตามกิจกรรม ขั้นที่ 1 กำหนดกลุ่มกิจกรรม Activity Centers และกำหนดตัวผลักดัน ต้นทุน Costs Driver ขั้นที่ 2 ประมาณต้นทุน (ปันส่วน) ของกลุ่มกิจกรรม Cost Pools ขั้นที่ 3 คำนวณค่าใช้จ่ายต่อหน่วยของตัวผลักดัน M O H rate per Cost Driver ขั้นที่ 4 คำนวณค่าใช้จ่ายของผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดตามกิจกรรมที่ผลิตภัณฑ์ใช้ไป M O H to products using ขั้นที่ 5 คำนวณต้นทุนผลิตภัณฑ์ต่อหน่วย Cost per Unit อ. งามตา ศรีวะรมย์
งบกระแสเงินสด(Statement of Cash Flows) บทที่ 10 งบกระแสเงินสด(Statement of Cash Flows) อ. งามตา ศรีวะรมย์
แหล่งที่มาและใช้ไปของงบกระแสเงินสด งบกระแสเงินสดแสดงแหล่งที่มาและใช้ไปของเงินสด โดยจะแยก แสดงตามกิจกรรมได้เป็น 3 กิจกรรมหลักดังนี้ 1. จากกิจกรรมการดำเนินงาน (Operating Activities) 2. จากกิจกรรมการลงทุน (Investing Activities) 3. จากกิจกรรมการจัดหาเงิน (Financing Activities) อ. งามตา ศรีวะรมย์
1.1 วิธีทางตรง (Direct Method) 1.2 วิธีทางอ้อม (Indirect Method) 1. การคำนวณกระแสเงินสดจากกิจกรรมการดำเนินงาน ในการจัดทำกระแสเงินสดจากกิจกรรมการดำเนินงานนั้น สามารถ จัดทำได้ 2 วิธี คือ 1.1 วิธีทางตรง (Direct Method) 1.2 วิธีทางอ้อม (Indirect Method) อ. งามตา ศรีวะรมย์
ประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาตำราภาษาอังกฤษ 1. ช่วยทบทวนเนื้อหาเทียบกับตำราภาษาไทย เพื่อปรับให้เป็นปัจจุบัน 2. ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดที่เป็นภาษาอังกฤษบ้าง เพื่อช่วยฝึกให้นักศึกษา ได้คุ้นเคยกับคำศัพท์ และ ลักษณะโจทย์ 3. เพื่อเป็นพื้นฐานในการศึกษาในรายวิชาอื่น ๆ ต่อไป อ. งามตา ศรีวะรมย์
สรุป หนังสือเล่มนี้โดยภาพรวมแล้วให้ประโยชน์มากสำหรับผู้ที่สนใจในเรื่องการบัญชีบริหารและ การลงทุนให้เกิดผลกำไรสูงสุด รวมทั้งทางเลือกต่างๆ ที่ใช้ในการตัดสินใจ ในการลงทุนใน อนาคตหรือการขยายงานของธุรกิจที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ที่ทำให้เพิ่มรายได้ต่อองค์กรและการ ใช้สินทรัพย์องค์กรให้เกิดประโยชน์สูงสุด อ. งามตา ศรีวะรมย์
สวัสดีค่ะ อ. งามตา ศรีวะรมย์