บท 6.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 5 การดำรงชีวิตของพืช
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
แหล่งน้ำธรรมชาติของโลก แหล่งน้ำในบรรยากาศ (Atmospheric Water) ได้แก่ สถานะไอน้ำ เช่น เมฆ หมอก สถานะของเหลว ได้แก่ ฝน และน้ำค้าง และสถานะของแข็ง ได้แก่
การบริหารการค้าปลีกและการค้าส่ง
การพัฒนาโปรแกรมระบบ รายงาน หน่วยงานเวชสารสนเทศ หน่วยงานเวชสารสนเทศ กลุ่มพัฒนาระบบบริการ สุขภาพโรงพยาบาลสุโขทัย.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
โครงงาน(Project) เรื่อง ระบบร้านเช่าหนังสือออนไลน์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
DC Voltmeter.
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
ความหมายของเลเซอร์ เลเซอร์ คือการแผ่รังสีของแสงโดยการกระตุ้นด้วยการขยายสัญญาณแสง คำว่า Laser ย่อมาจาก Light Amplification by Stimulated Emission of Radiation.
น้ำและมหาสมุทร.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
เรื่อง ศึกษาตัวกลางที่เหมาะสมกับการชุบแข็งของเหล็กกล้าคาร์บอน
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การจัดการข้อมูล ดร. นพ. วรสิทธิ์ ศรศรีวิชัย
ขีดความสามารถในการรองรับได้ของแหล่งท่องเที่ยว
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
แผ่นดินไหว.
SMS News Distribute Service
กฎกระทรวง ฉบับที่ 66 (พ.ศ. 2559) ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
เราคือ ‘One PPG’ We protect and beautify the world วัตถุประสงค์ของเรา
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
BASIC STATISTICS MEAN / MODE / MEDIAN / SD / CV.
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 3 โรงเรือนและอุปกรณ์โคเนื้อ
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
Supply Chain Management
อ.ชิดชม กันจุฬา (ผู้สอน)
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บท 6

INTRODUCTION การสำรวจธรณีฟิสิกส์ จัดเป็นวิทยาศาสตร์ประยุกต์แขนงหนึ่ง ลักษณะการสำรวจธรณีฟิสิกส์ประกอบด้วยการวัดปริมาณอันเนื่อง มาจากคุณสมบัติทางฟิสิกส์ใต้ผิวดิน ณ บริเวณที่สำรวจ โดยทางทฤษฏีการสำรวจธรณีฟิสิกส์ จะให้ผลสำเร็จก็ต่อเมื่อชั้นหิน และสินแร่ภายใต้ผิวโลกมีความแตกต่างกันในคุณสมบัติทางฟิสิกส์

INTRODUCTION คุณสมบัติทางฟิสิกส์ที่เป็นรากฐานของวิธีสำรวจธรณีฟิสิกส์ - ความยืดหยุ่น (elasticity) ความหนาแน่น (density) ความเป็นแม่เหล็ก (magnetization) ลักษณะทางไฟฟ้า (electrical characteristic) ระดับของการแผ่กัมมันตภาพรังสี (radioactivity levels)

METHOD OF EXPLORATION Seismic method gravity method magnetic method electrical and electromagnetic method radioactive method

ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายของการสำรวจและสมบัติทางฟิสิกส์

ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างเป้าหมายของการสำรวจและสมบัติทางฟิสิกส์

- Ground geophysical survey : semi detailed & detailed การสำรวจทางธรณีฟิสิกส์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทหลัก คือ - Airborne geophysical survey : regional - Ground geophysical survey : semi detailed & detailed

Airborne geophysical survey http://www.gsi.gov.in/AMSE.htm

Airborne geophysical survey เป็นวิธีการสำรวจที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายทั้งในขั้น regional และ การสำรวจในขั้นรายละเอียด สำหรับวิธีที่นิยมมีดังนี้ - สำรวจวัดความเข้มสนามแม่เหล็ก - สำรวจวัดความเข้มสนามแม่เหล็กควบกับการวัดความเข้มกัมมันตรังสี - สำรวจวัดความเข้มสนามแม่เหล็กควบกับการวัดความเข้มสนามแม่เหล็กไฟฟ้า - สำรวจวัดความเข้มสนามแม่เหล็กไฟฟ้า

Airborne geophysical survey ข้อดี - รวดเร็ว เสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าในกรณีสำรวจเป็นบริเวณกว้าง - สำรวจได้หลายวิธีในคราวเดียวกัน - ครอบคลุมพื้นที่ได้มากกว่า ข้อเสีย - พื้นที่สำรวจต้องใหญ่พอสำหรับการสำรวจด้วยเครื่องบิน - มีข้อจำกัดในเรื่องสภาพอากาศ - ข้อมูลที่ได้ไม่ละเอียดเท่าการสำรวจภาคพื้นดิน

แสดงการสำรวจธรณีฟิสิกส์ทางอากาศ ด้วยเฮลิคอบเตอร์

การนำไปใช้ประโยชน์ Airborne geophysical survey หาขอบเขตชั้นหิน หาโครงสร้าง ในระดับภูมิภาค หาความลึกของแอ่งหรือความหนาของหินชั้นเหนือหินฐาน สำรวจหาปิโตรเลียม หาแหล่งแร่ เช่น แร่ยูเรเนียมในหินกรวดมน แร่เหล็ก แร่โครไมต์ ช่วยแยกแหล่งแร่ หรือลักษณะธรณีวิทยาที่เป็นตัวนำ ว่าเป็นโลหะหรืออโลหะ ช่วยในการแปลความหมาย รูปร่างลักษณะ ขนาด ทิศทางการวางตัวของแหล่งแร่ การสำรวจหารอยเลื่อน หรือหาท่อขนาดใหญ่

การสำรวจหาแหล่งแร่ชนิด magmatic hydrothermal บริเวณ Lou Lake แสดงค่า potassium สูง(A), eTh/K ต่ำ(B) และ ค่า eU/eTh สูง(C) และสุดท้าย total field magnetic high (D) http://gamma.gsc.nrcan.gc.ca/appgeo_e.php#exploration

การสำรวจด้วยวิธีกัมมันตรังสี โดยวิธี รังสีแกมมา บริเวณแหล่งแร่ porphyry-Cu-Au http://gamma.gsc.nrcan.gc.ca/appgeo_e.php#exploration

การหาการปนเปื้อนอันเนื่องมาจาก โรงงานนิวเคียร์ โดยการใช้วิธีแกมมา http://gamma.gsc.nrcan.gc.ca/appgeo_e.php#exploration

Ground geophysical survey

Seismic method exploration การสำรวจด้วยวิธีคลื่นสั่นสะเทือน Seismic Reflection ; shallow-depth survey Seismic Refraction ; deep-depth survey http://www.geophysical.biz/seisrf2.htm

Seismic method exploration Seismic Reflection http://www.amcl.ca/geophysicalservicesmethods.html

Seismic method exploration การนำไปใช้ประโยชน์ : สำรวจหาแหล่งน้ำมันและแก๊สธรรมชาติ ทำแผนที่การลำดับชั้นหินและโครงสร้าง ทำแผนที่ bedrock หาอุโมงค์และโพรง หาพื้นที่ฝังกลบขยะ หาพื้นที่รับน้ำ หาแหล่งแร่ หาทรายน้ำมัน Seismic Reflection

ข้อดี : ข้อเสีย : Seismic method exploration ได้ผลข้อมูลที่ความลึกมาก ข้อดี : ได้ข้อมูลในแนวดิ่งและแนวราบที่ดี ได้ผลข้อมูลที่ความลึกมาก ข้อเสีย : ราคาสูง บริเวณระดับตื้นจะมีความยุ่งยากต่อการแปลผลข้อมูล Seismic Reflection

Seismic method exploration Seismic Refraction http://www.amcl.ca/geophysicalservicesmethods.html

การนำไปใช้ประโยชน์: Seismic method exploration ทำแผนที่ระดับน้ำใต้ดิน ประเมิณความยากง่ายต่อการเปิดหน้าดิน แผนที่โครงสร้าง Seismic Refraction

ข้อดี : ข้อเสีย : Seismic method exploration ข้อมูลในแนวดิ่งมีความชัดเจน มีผลที่ความลึกมากกว่า 150 เมตร สามารถหาหินแข็งที่ถูกปิดทับด้วยตะกอน ข้อเสีย : ข้อมูลในแนวราบจะขึ้นอยู่กับการเก็บข้อมูล ไม่สามารถหาชั้นที่บางได้ ข้อมูลบางส่วนอาจมาจากเครื่องมือโดยตรง Seismic Refraction

Resistivity Self-potential Induced polarization electrorical method exploration Resistivity Self-potential Induced polarization

การสำรวจด้วยวิธีวัดค่าความต้านทานไฟฟ้า Resistivity method exploration การสำรวจด้วยวิธีวัดค่าความต้านทานไฟฟ้า http://www.amcl.ca/geophysicalservicesmethods.html

Resistivity method exploration Common Rocks/Materials Resistivity (ohm meters) Ore Minerals Clay 1 – 100 Pyrrhotite 0.001 – 0.01 Graphitic Schist 10 – 500 Galena 0.001 – 100 Topsoil 50 – 100 Cassiterite 0.001 – 10,000 Gravel 100 – 600 Chalcopyrite 0.005 – 0.1 Weathered Bedrock 100 – 1000 Pyrite 0.01 – 100 Gabbro 100 – 500,000 Magnetite 0.01 – 1,000 Sandstone 200 – 8,000 Hematite 0.01 – 1,000,000 Granite 200 – 100,000 Sphalerite 1000 – 1,000,000 Basalt   Limestone 500 – 10,000 Slate 500 – 500,000 Quartzite 500 – 800,000 Greenstone 500 – 200,000

V=IR Principle of resistivity From Ohm’s Law : R=V/I Modified from www.easc.edu/introduction to geophysics From Ohm’s Law : V=IR R=V/I

Modified from www.easc.edu/introduction to geophysics

การจัดวาง electhod Pole – pole Pole - dipole Dipole - dipole Wenner Schlumberger การจัดวาง electhod Modified from The Berkeley Course in Applied Geophysics DC Resistivity men.htm

การนำไปใช้ประโยชน์ : Resistivity method exploration แผนที่การลำดับชั้นหิน การหาชั้นน้ำบาดาล การทำแผนที่แหล่งแร่ หาบริเวณที่เป็นโพรง หรือบริเวณรอยแตก หาบริเวณที่มีการปนเปื้อน หาทรายน้ำมัน

ข้อดี : ข้อเสีย : ข้อมูลในแนวดิ่งชัดเจน Resistivity method exploration ข้อดี : ข้อมูลในแนวดิ่งชัดเจน มีผลของข้อมูลชัดเจนที่ความลึกไม่เกิน 10 เมตร นำไปประยุกต์ใช้งานได้หลายด้าน ข้อเสีย : ต้องใช้ขั้วอิเลคโทรดปักลงไปในพื้น ต้องมีการย้ายขั้วอิเลคโทรดทุกครั้งที่มีการขยายความลึก ในบริเวณที่เป็นคอนกรีตหรือถนนราดยางจะปักขั้วอิเลคโทรดยาก บริเวณที่เป็นตัวนำไฟฟ้าสูงๆ จะไม่สามารถสำรวจได้

การสำรวจวัดค่าศักย์ไฟฟ้าธรรมชาติที่เกิดขึ้น ในชั้นหินหรือดินบริเวณ Self potential method exploration การสำรวจวัดค่าศักย์ไฟฟ้าธรรมชาติที่เกิดขึ้น ในชั้นหินหรือดินบริเวณ เปลือกโลกค่าความต่างศักย์ระหว่างจุดสองจุดในพื้นที่โดยปกติแล้วไม่คงที่ ส่วนค่าความต่างศักย์ที่มีค่าผิดปกติสูงๆ อาจเกิดขึ้นได้ในบริเวณที่เป็นแหล่งแร่ เช่น แกรไฟต์

การวัดความต่างศักย์เหนี่ยวนำมักทำประกอบไปกับการวัดความ Induced polarization method exploration การวัดความต่างศักย์เหนี่ยวนำมักทำประกอบไปกับการวัดความ ต้านทานด้วย บริเวณใดที่แสดงค่าความต่างศักย์เหนี่ยวนำสูงในขณะ ที่ค่าความต้านทานต่ำ แสดงว่ามีสารตัวนำไฟฟ้าอยู่ในบริเวณที่น่า สนใจและอาจบ่งถึงแหล่งแร่ได้การสำรวจวิธีนี้ใช้ในการสำรวจหา แหล่งแร่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแร่ซัลไฟด์

การสำรวจด้วยวิธีนี้อาศัยการวัดสมบัติในการเป็นตัวนำของหินหรือแร่ Electromagnetic method exploration การสำรวจด้วยวิธีนี้อาศัยการวัดสมบัติในการเป็นตัวนำของหินหรือแร่ ต่อคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ส่งออกจากเครื่องส่ง ข้อดีของการสำรวจด้านแม่ เหล็กไฟฟ้าอยู่ที่สามารถใช้ได้อย่างได้ผลแม้บริเวณใกล้ผิวดินที่มีความต้าน ทานสูงมากหรือเป็นฉนวนไฟฟ้า และสามารถทำได้สะดวกรวดเร็วกว่าวิธี ทางไฟฟ้าอื่นๆ

การสำรวจท่อโดยวิธีวัดแม่เหล็กไฟฟ้า Electromagnetic method exploration การสำรวจท่อโดยวิธีวัดแม่เหล็กไฟฟ้า http://www.hydrogeophysics.com/sampleprojects/sampleprojects.html

การเปรียบเทียบระหว่าง การสำรวจด้วยวิธีวัดค่า แม่เหล็กและแม่เหล็กไฟฟ้า Electromagnetic Sounding การเปรียบเทียบระหว่าง การสำรวจด้วยวิธีวัดค่า แม่เหล็กและแม่เหล็กไฟฟ้า http://www.hydrogeophysics.com/sampleprojects/pipeline.gif

เปรียบเทียบบริเวณที่มีความหนาแน่นต่างกัน มีผลต่อแรงโน้มถ่วง gravity method exploration เปรียบเทียบบริเวณที่มีความหนาแน่นต่างกัน มีผลต่อแรงโน้มถ่วง

ตารางแสดงความหนาแน่นของวัสดุบางชนิด gravity method exploration ตารางแสดงความหนาแน่นของวัสดุบางชนิด

แผนที่แสดงค่าความโน้มถ่วงทั่โลก gravity method exploration แผนที่แสดงค่าความโน้มถ่วงทั่โลก

magnetic method exploration สนามแม่เหล็กโลก

ความสามารถในการซึมซับ สารแม่เหล็กของวัสดุบางชนิด magnetic method exploration Rock/Mineral Magnetic Susceptibility Rocks   Salt 0 – 0.001 Slate 0 – 0.002 Limestone 0.00001 – 0.0001 Granulite 0.0001 – 0.05 Rhyolite 0.00025 – 0.001 Greenstone 0.0005 – 0.001 Basalt 0.001 – 0.1 Gabbro Dolerite 0.01 – 0.15 Minerals Pyrite 0.0001 – 0.005 Hematite 0.001 – 0.0001 Pyrrhotite 0.001 – 1.0 Chromite 0.0075 – 1.5 Magnetite 0.1 – 20.0 ความสามารถในการซึมซับ สารแม่เหล็กของวัสดุบางชนิด

การสำรวจโดยวิธีวัดค่าแม่เหล็ก magnetic method exploration การสำรวจโดยวิธีวัดค่าแม่เหล็ก http://www.geophysical.biz/magnetic.htm

ผลจากการแปลความหมาย ด้วยวิธีสำรวจด้านแม่เหล็ก magnetic method exploration ผลจากการแปลความหมาย ด้วยวิธีสำรวจด้านแม่เหล็ก http://www.digistar.mb.ca/minsci/finding/magnetic.htm

การสำรวจด้วยวิธีหยั่งลึกด้วยสัญญานเรดาห์ Ground Penetrating Radar (GPR) การสำรวจด้วยวิธีหยั่งลึกด้วยสัญญานเรดาห์ http://www.geophysical.biz/gpr1.htm

การสำรวจด้วยวิธีหยั่งลึกด้วยสัญญานเรดาห์ Ground Penetrating Radar (GPR) การสำรวจด้วยวิธีหยั่งลึกด้วยสัญญานเรดาห์ http://www.geophysical.biz/gpr3.htm

ผลจากการสำรวจหาถังน้ำมันด้วยวิธีหยั่งลึกด้วยสัญญานเรดาห์ Ground Penetrating Radar (GPR) ผลจากการสำรวจหาถังน้ำมันด้วยวิธีหยั่งลึกด้วยสัญญานเรดาห์ http://www.geovision.com/gpr.html

การนำไปใช้ประโยชน์ : ด้านสิ่งแวดล้อม หาการปนเปื้อนทั้งในน้ำและดิน Ground Penetrating Radar (GPR) การนำไปใช้ประโยชน์ : ด้านสิ่งแวดล้อม หาการปนเปื้อนทั้งในน้ำและดิน หาอุโมงค์ แผนที่รอยแตก หาแหล่งแร่ โบราณคดี ด้านธรณีโครงสร้าง

ข้อดี : ข้อเสีย : ราคาไม่แพง เก็บข้อมูลได้เร็ว ความละเอียดของข้อมูลสูง Ground Penetrating Radar (GPR) ข้อดี : ราคาไม่แพง เก็บข้อมูลได้เร็ว ความละเอียดของข้อมูลสูง สามารถดูผลได้ทันที สามารถเลือกช่วงความถี่เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ระดับข้อมูลนั้นๆ ข้อเสีย : การหยั่งลึกขึ้นอยู่กับสภาพพื้นที่ ดินที่มี clay มากไม่เหมาะสมในการสำรวจด้วยวิธีนี้

Thank you for your attention