ความปลอดภัยจาก ไฟฟ้า นายนภดล ชัยนราทิพย์พร.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เกณฑ์ กว เดิม นศ. ก่อนรุ่น 2546 เกณฑ์สภาวิศวกร นศ. รุ่น 2546 เป็นต้นไป
Advertisements

Reader testing model by
Assumption University Thailand EE4503 Electrical Systems Design Introduction.
X-Ray Systems.
กระแสไฟฟ้า Electric Current
INC 112 Basic Circuit Analysis
การซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์ (Intro.)
1 CHAPTER 2 Basic Laws A. Aurasopon Electric Circuits ( )
1 CHAPTER 1 Introduction A. Aurasopon Electric Circuits ( )
การศึกษาวงจรและการซ่อมบำรุงไมโครคอมพิวเตอร์
Effect of Power System Harmonic on Equipments
บทที่ 5 เครื่องกําเนิดไฟฟากระแสสลับ (AC Generator)
Electrical Engineering
DC motor.
RC servo motor Voltage Weight Size Output Torque Operating Speed
Ch 2 Resistive Circuits วงจรซึ่งประกอบไปด้วย Resistors กับ Sources วงจรซึ่งประกอบไปด้วย Resistors กับ Sources กฎหลักพื้นฐานของการวิเคราะห์วงจรมี 2 ข้อคือ.
วิชา การฝึกงาน (Training)
เนื้อหารายวิชา Power System Analysis ปีการศึกษา 1/2549
305221, Computer Electrical Circuit Analysis การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าทาง คอมพิวเตอร์ 3(2-3-6) ณรงค์ชัย มุ่งแฝงกลาง คมกริช มาเที่ยง สัปดาห์ที่ 12 AC.
COMPANY PROFILE EXPERTISE ‘S PROMISE LOYALTY TO BUILD CO.,LTD 130/153 M.6 T.BANSUAN A.MUANG CHONBURI Tel : Fax :
Electrical Properties of Devices RLC. Electrical Properties ( คุณลักษณะทางไฟฟ้า ) Electrical PropertiesResistorCapacitorInductor Impedance (Z)Z R = X.
หลักการตลาด บทที่ 14 การโฆษณา.
ไฟฟ้าคืออะไร หนังสือวิทยาศาสตร์ หรือเว็บไซต์ต่างๆ ให้ความหมายที่แตกต่างกัน ยกตัวอย่างเช่น - ไฟฟ้า คือ พลังงานรูปหนึ่งที่สามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานรูปอื่นได้
Piyadanai Pachanapan, Power System Engineering, EE&CPE, NU
หลักการผลิต ระบบส่งจ่าย และ ระบบจำหน่าย
การคำนวณกระแสลัดวงจร (Short Circuit Calculation)
ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมโตโยต้า
การป้องกันระบบไฟฟ้ากำลัง Power System Protection
Assoc. Prof. Somchai Amornyotin
ปิยดนัย ภาชนะพรรณ์, Power System Design, EE&CPE, NU
อุปกรณ์ป้องกันการใช้กระแสเกินพิกัด (Over Current Protection)
Electrical Wiring & Cable
เครื่องวัดแบบชี้ค่าศูนย์
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสตรง DC Indicating Instruments
เครื่องวัดไฟฟ้าแบบชี้ค่า (เชิงอนุมาน)
วงจรบริดจ์ Bridge Circuit.
เสถียรภาพของระบบไฟฟ้ากำลัง Power System Stability (Part 1)
ระบบส่งและจ่ายไฟฟ้า Unit 1.
Physics4 s32204 ElectroMagnetic
Power System Engineering
เครื่องวัดแบบชี้ค่าแรงดันกระแสสลับ AC Indicating Voltage Meter
เครื่องวัดแบบชี้ค่าขนาดกระแสสลับ AC Indicating Ampere Meter
เครื่องวัดแบบชี้ค่ากระแสสลับ AC Indicating Instruments
สายดิน (Grounding) ปิยดนัย ภาชนะพรรณ์.
พื้นฐานการออกแบบระบบไฟฟ้า
Air Carbon Arc Cutting/Gouging
พารามิเตอร์ในสายส่ง ในสายส่ง มีค่าทางไฟฟ้าแทนตัวมันอยู่ 4 ค่า คือ
งานไฟฟ้า Electricity.
พลังงาน (Energy).
การบัดกรีชิ้นงานอิเล็คทรอนิคส์
เครื่องวัดพลังงานไฟฟ้า
สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับวงจรไฟฟ้า
โครงการส่งน้ำและบำรุงรักษามโนรมย์ 8 มาตรการช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากภัยแล้ง มาตรการที่ 1 มาตรการส่งเสริมความรู้และสนับสนุนปัจจัยการผลิตเพื่อลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน.
INB3202 การจัดการการเงินระหว่างประเทศ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ
บทที่ 13 วงจรบัญชีแยกประเภททั่วไป
มนุษย์กับเศรษฐกิจ.
การพัฒนาการจัดการ และมาตรฐานการบริการ
เครื่องขูดหินปูนไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้าที่มีใช้ในประเทศไทย แบ่งได้ดังนี้
บทที่ 1 เรื่องไฟฟ้า สื่อเทคโนโลยีประกอบการสอน โดย
เรื่อง ความต้านทานไฟฟ้า
มาตรฐานสำหรับการออกแบบระบบไฟฟ้า Standard of Power System Design
อุทธรณ์,ฎีกา.
การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน Basic Life Support
การลัดวงจรในระบบไฟฟ้ากำลัง Fault in Power System
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
การกู้ยืมเงินทุนประกอบอาชีพ
การลัดวงจรในระบบไฟฟ้ากำลัง Fault in Power System
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความปลอดภัยจาก ไฟฟ้า นายนภดล ชัยนราทิพย์พร

ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า นิยามศัพท์เกี่ยวกับไฟฟ้า 1. แรงดันไฟฟ้า (Potential หรือ Voltage) 2. กระแสไฟฟ้า (Current) 3. ความถี่ไฟฟ้า (Frequency)

ความต้านทานไฟฟ้า (Resistance) 5. ฉนวนไฟฟ้า (Insulation) 6. ตัวนำ (Conductor) 7. หน่วยวัดพลังงานไฟฟ้า (Watt)

8. หม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer) 9. สายไฟฟ้า (Wire หรือ Cable) 1 หน่วยไฟฟ้า คือ กำลังไฟฟ้า 1 กิโลวัตต์ (1,000 วัตต์) ที่ใช้ในเวลา 1 ชั่วโมง ในการคำนวณ หากำลังไฟฟ้าเพื่อคิดค่าไฟฟ้า สามารถใช้สูตรคำนวณดังนี้ P = VI P คือ กำลังไฟฟ้า หน่วยเป็นวัตต์ V คือ แรงดันไฟฟ้า หน่วยเป็นโวลต์ I คือ กระแสไฟฟ้า หน่วยเป็นแอมแปร์ 8. หม้อแปลงไฟฟ้า (Transformer) 9. สายไฟฟ้า (Wire หรือ Cable) 10. สวิตช์ (Switch หรือ Breaker) 11. แผงสวิตช์ (Switch board)

12. ฟิวส์ (Fuse) 13. สายดิน (Ground หรือ Earth) 14. สายนิวทรัล (Neutral) หรือสายศูนย์ 15. สายล่อฟ้า (Arrester) 16. หลักดิน (Ground rod)

17. เครื่องกำเนิดไฟฟ้า (Generator) 18. มอเตอร์ (Motor) 19. อุปกรณ์ไฟฟ้า (Equipment)

ไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ ไฟฟ้าสถิต และไฟฟ้ากระแส ชนิดของไฟฟ้า ไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ชนิดใหญ่ ๆ ด้วยกันคือ ไฟฟ้าสถิต และไฟฟ้ากระแส 1. ไฟฟ้าสถิต 2. ไฟฟ้ากระแส ไฟฟ้ากระแสตรง ไฟฟ้ากระแสสลับ

แหล่งกำเนิดไฟฟ้า 1. เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้แก่ ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า 1. เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้แก่ ฟ้าแลบ ฟ้าผ่า 2. เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานไฟฟ้า 3. เกิดจากการเปลี่ยนแปลงพลังงานแสงสว่างให้เป็นพลังงานไฟฟ้า

4. เคมี 5. เกิดจาการเหนี่ยวนำของอำนาจสนามแม่เหล็กโดยเครื่องกำเนิดไฟฟ้า 4. เคมี 5. เกิดจาการเหนี่ยวนำของอำนาจสนามแม่เหล็กโดยเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ไฟฟ้าไม่ใช่แหล่งพลังงานการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทยที่ใช้อยู่ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ประเภทไม่ใช้เชื้อเพลิง 1.1 โรงไฟฟ้าพลังงานธรรมชาติจากต้นพลังงานที่ไม่หมดสิ้น 1.2 โรงไฟฟ้าพลังน้ำ

2.2 โรงไฟฟ้าพลังความร้อน 2. ประเภทใช้เชื้อเพลิง 2.1 โรงไฟฟ้าพลังไอน้ำ 2.2 โรงไฟฟ้าพลังความร้อน ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า จอร์จ ไซมอน โอห์ม (George Simon Ohm) นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน ผู้ค้นพบความสัมพันธ์ระหว่างกระแส แรงดัน และความต้านทาน ดังสมการต่อไปนี้ แรงดันไฟฟ้า (V) ความต้านทานไฟฟ้า (R) กระแสไฟฟ้า (I) สมการนี้เรียกว่า “กฎของโอห์ม”

สูตร คำนวณหากำลังไฟฟ้า P = VI P = (Power) กำลังไฟฟ้า V = (Volt) แรงดันไฟฟ้า I = (Ampere) 2.8 ความถี่ (Electrical frequency) + 50 1วินาที Cycle - 50 Frequency 50 Cycle/ sec = ใน 1 วินาที

รูปที่ 1 แสดงกระแสไฟฟ้าไหลครบวงจรเมื่อเปิดสวิตช์ หลอดไฟสว่าง กระแสไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้า รูปที่ 1 แสดงกระแสไฟฟ้าไหลครบวงจรเมื่อเปิดสวิตช์ หลอดไฟสว่าง

รูปที่ 2 แสดงวงจรที่ควบคุมการไหลของกระแสไฟฟ้าด้วยสวิตช์

รูปที่ 3 กระแสไฟฟ้าผ่านร่างกายลงดิน เรื่องที่ 2 อันตรายจากไฟฟ้า ลักษณะอันตรายจากไฟฟ้าที่มีต่อชีวิตและร่างกายมนุษย์แบ่งออกเป็น 3 ลักษณะด้วยกัน คือ 1. กระแสไฟฟ้าใช้ร่างกายเป็นทางผ่านลงดิน รูปที่ 3 กระแสไฟฟ้าผ่านร่างกายลงดิน

รูปที่ 4 กระแสไฟฟ้าผ่านเมื่อร่างกายเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้า 2. ร่างกายต่อเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้า รูปที่ 4 กระแสไฟฟ้าผ่านเมื่อร่างกายเป็นส่วนหนึ่งของวงจรไฟฟ้า

รูปที่ 5 วงจรไฟฟ้าเมื่อเกิดการลัดวงจร 3. กระแสไฟฟ้าลัดวงจร รูปที่ 5 วงจรไฟฟ้าเมื่อเกิดการลัดวงจร

3.4 ไอควันของวัตถุที่ถูกความร้อน อันตรายจากกระแสไฟฟ้าลัดวงจรมีด้วยกัน 5 ลักษณะ คือ 3.1 แสงจ้า 3.2 ความร้อน 3.3 คลื่นความดันและเสียง 3.4 ไอควันของวัตถุที่ถูกความร้อน

ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความรุนแรงของการประสบอันตรายจากไฟฟ้า 3.5 พลังงานกล ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความรุนแรงของการประสบอันตรายจากไฟฟ้า มี 6 ปัจจัย ดังต่อไปนี้ 1. ปริมาณกระแสไฟฟ้า 2. ระยะเวลา 3. เส้นทาง 4. ความต้านทาน 5. แรงดันไฟฟ้า 6. ความถี่ของแรงดันไฟฟ้า

ผลของกระแสไฟฟ้าที่มีต่อร่างกาย 1. ปฏิกิริยาตอบสนองของร่างกายต่อกระแสไฟฟ้าสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ระดับ คือ 1.1 ระดับร่างกายรู้สึกได้ (Perception of reaction current) หรือร่างกายเกิดปฏิกิริยารับรู้ 1.2 ระดับที่สามารถช่วยตัวเองให้หลุดได้ (Let go current) หรือ “ระดับกระแสปล่อยหลุด” 1.3 ระดับที่เป็นอันตราย (Lethal current)

2. ผลของกระแสไฟฟ้าที่มีต่อร่างกาย เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านร่างกายมนุษย์แล้ว จะเกิดอันตรายหรือผลต่อร่างกายมนุษย์ 7 ประการด้วยกัน คือ 2.1 กล้ามเนื้อกระตุกหรือเกิดการหดตัว (Muscular freezing) อาการเช่นนี้จะพบเห็นเสมอหรือบางคนอาจเคยประสบมาด้วยตนเอง เช่น เวลาที่เผลอไปจับสิ่งที่มีไฟฟ้ารั่วอยู่ จะรู้สึกมีอาการกระตุกทันที ถ้ากระแสไฟฟ้าผ่านร่างกายลงดินได้ 2.2 ระบบประสาทเกิดอาการชะงักงัน (Nerve block) หรือเป็นอัมพาตชั่วคราว (Temporary paralysis) เป็นผลจากกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายมีปริมาณตั้งแต่ 10 ถึง 50 มิลลิแอมแปร์ ทำให้ระบบประสาทชะงักงันไปชั่วขณะหนึ่ง มีอาการกระตุกอย่างแรง หมดความสามารถในการควบคุมกล้ามเนื้อในส่วนที่มีกระแสไฟฟ้าผ่าน ไม่สามารถที่จะสลัดหลุดออกได้ 2.3 หัวใจเกิดอาการเต้น ถี่รัวหรือเต้นกระตุก (Ventricular fibrillation) เป็นผลจากการที่กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านร่างกาย มีปริมาณมากกว่า 50 มิลลิแอมแปร์ขึ้นไป

2.4 หัวใจหยุดทำงานทันที (Cardiac arrest) กรณีนี้มักเกิดจากการที่กระแสไฟฟ้าปริมาณมากผ่านหัวใจในระยะเวลาอันสั้น กระแสไฟฟ้าประมาณ 250 มิลลิแอมแปร์ จะทำให้กล้ามเนื้อหัวใจหดตัวอย่างแรงและหัวใจจะหยุดเต้นทันที และบางครั้งหัวใจอาจจะกลับเต้นหรือทำงานได้ด้วยตัวเอง หรือหลังจากการใช้วิธีการนวดหัวใจจากภายนอก (External cardiac massage) 2.5 เซลล์ภายในร่างกายเสียหรือตาย เป็นผลจากกระแสไฟฟ้าที่ผ่านร่างกาย แม้จะมีปริมาณไม่มากพอที่จะทำให้เกิดบาดแผลไหม้ ก็อาจจะทำให้เซลล์ในร่างกายบางส่วนเสียหาย 2.6 เนื้อเยื่อเซลล์ต่างๆ ของร่างกายถูกทำลาย ผลจากกระแสไฟฟ้าแรงดันสูงที่ไหลผ่านร่างกายจะทำให้เกิดอันตรายร้ายแรงในส่วนที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน เนื่องจากความร้อนที่เกิดจากกระแสไฟฟ้า ส่วนของร่างกายที่มักเป็นอันตรายคือส่วนที่กระแสไฟฟ้าเข้าและผ่านออกลงดิน 2.7 ดวงตาอักเสบ จากแสงสว่างที่มีความเข้มสูง เช่น จากการเชื่อมโลหะหรือประกายไฟที่เกิดจากการลัดวงจร ทำอันตรายต่อดวงตา อาจทำให้ตาอักเสบหรือตาบอดได้

6. ผลของกระแสไฟฟ้า 1. กล้ามเนื้อกระดูก หดตัว (muscular freezing) 2. ระบบประสาทชะงึก (nerve block ) 3. หัวใจหยุดทำงาน (Cardiac arrest) 4. หัวใจเต้นถี่ เร็ว (Ventilation fibrillation) 5. เซลล์ภายในเสีย ตาย 6. เนื้อเยื่อ เซลล์ถูกทำลาย 7. ดวงตาอับเสบ

ผลของกระแสไฟฟ้าต่อร่างกายระดับผู้ใหญ่ที่มี สุขภาพดี ( ระบบ 50 - 60 Hz และไม่จำกัดเวลา )

เรื่องที่ 3 มาตรการป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า เรื่องที่ 3 มาตรการป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า อุบัติเหตุจากไฟฟ้า 1. อุบัติเหตุจากไฟฟ้าทำให้เกิดเพลิงไหม้ การที่เชื้อเพลิงลุกติดไฟขึ้นได้เนื่องจากพลังงานไฟฟ้าเปลี่ยนรูปเป็นพลังงานความร้อนได้ โดยมีสาเหตุดังนี้ 1.1 การเกิดประกายไฟในบริเวณที่มีเชื้อเพลิงไวไฟ 1.2 การลุกไหม้ที่สายไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้า 1.3 การใช้มอเตอร์ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์ไฟฟ้าเกิน 1.4 ความร้อนที่จุดต่อสาย 1.5 ความร้อนที่สะสมอยู่ในอุปกรณ์ไฟฟ้า

2.1.1 ฉนวนไฟฟ้า 2.1.2 การชำรุดของฉนวนที่ใช้ใน 2. อุบัติเหตุจากไฟฟ้าแรงดันต่ำ 2.1 การใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ชำรุดหรือมีกระแสไฟฟ้ารั่ว สาเหตุมักเกิดจาก 2.1.1 ฉนวนไฟฟ้า 2.1.2 การชำรุดของฉนวนที่ใช้ใน ขดลวด (Coil หรือ Winding)

กรณีตัวอย่าง พื้นไม้ น้ำท่วม

2.2 เกิดจากสภาพแวดล้อมหรือเทคนิคในการติดตั้งอุปกรณ์ ไฟฟ้า ที่สำคัญได้แก่ 2.2.1 สภาพแวดล้อมที่เปียกหรือชื้นแฉะ 2.2.2 การต่อสายไฟฟ้า การต่อสายไฟฟ้าหรือเข้าสายไฟฟ้าที่ขั้วต่อ ไม่แน่นและ/หรือไม่เก็บปลายสายไฟฟ้าให้เรียบร้อย 2.2.3 การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าผิดลักษณะ 2.2.4 การเลือกใช้อุปกรณ์หรือการใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าไม่ถูกต้อง

3. อุบัติเหตุจากไฟฟ้าแรงดันสูง 2.3 เกิดจากผู้ปฏิบัติงานหรือผู้ใช้อุปกรณ์ไฟฟ้า 3. อุบัติเหตุจากไฟฟ้าแรงดันสูง 3.1 การใช้ปั้นจั่น 3.2 การก่อสร้างปรับปรุงหรือต่อเติมอาคาร 3.3 การรู้เท่าไม่ถึงการณ์ หรือโดยมิได้ตั้งใจ

การต่อลงดิน เพื่อปฏิบัติงาน

การต่อลงดินช่วยให้ปลอดภัย สายดิน หลักดิน end

หุ้มสายไฟเมื่อก่อสร้างใกล้สายไฟฟ้า

หลักดิน คือ แท่งโลหะ ขนาด 5/8 นิ้ว ยาว 2.40 ม. ปักลงดินจนมิด ค่าความต้านทานการต่อลงดิน ไม่เกิน 5 โอห์ม

การไฟฟ้านครหลวงมีการกำหนดมาตรฐาน ระยะห่างที่ปลอดภัยจากสายไฟฟ้าแรงสูงไว้ดังนี้ ขนาดแรงดันไฟฟ้า (โวลต์) ระยะห่างจากสายไฟฟ้าในแนวนอนไม่น้อยกว่า ( เมตร ) อาคาร/ระเบียง ป้ายโฆษณา 12,000 – 24,000 1.80 1.50 69,000 2.13 115,000 2.30 230,000 3.00

การป้องกันและควบคุมอันตรายจากไฟฟ้า 1 เรียนรู้ทฤษฎี 2 การเลือกใช้อุปกรณ์ 3 การติดตั้งอุปกรณ์ 4 ซ่อม-ตรวจ 5 ป้ายเตือน 6 ใช้ถูกวิธี 7 ปฎิบัติตามมาตรฐาน

มาตรการควบคุมอันตรายจากไฟฟ้าตามกฎหมายและมาตรฐานต่าง ๆ 1. พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 พระราชบัญญัติควบคุมอาคาร (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2535 กฎกระทรวงที่ออกตามความในพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร และข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครเกี่ยวกับการควบคุมอาคาร ได้กำหนดเขตก่อสร้างอาคาร กำหนดมาตรฐานในการติดตั้งป้ายโฆษณา การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า ถ้าอยู่ในเขตการไฟฟ้านครหลวงต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของการไฟฟ้านครหลวง ถ้าอยู่ในเขตการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เช่น การไฟฟ้านครหลวงได้กำหนดระยะที่ปลอดภัยหรือระยะห่างต่ำสุดระหว่างสายไฟฟ้ากับสิ่งก่อสร้างหรืออาคารไว้ โดยแบ่งเป็นลักษณะอาคารปิด อาคารเปิดมีระเบียง และอาคารเปิดมีหน้าต่าง ในระดับแรงดันไฟฟ้าต่างๆ

. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า ลงวันที่ 8 มีนาคม 2522 ซึ่งได้กำหนดมาตรการความปลอดภัยในการทำงานพอสรุปได้ 8 ประการดังนี้ 2.1 ข้อกำหนดทั่วไป ได้แก่ ข้อกำหนดเกี่ยวกับนายจ้างดังนี้ - นายจ้างต้องจัดทำแผนผังวงจรไฟฟ้าทั้งหมดภายในสถานที่ประกอบการไว้ให้เรียบร้อย ต้องมีการตรวจสอบสภาพสายไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างสม่ำเสมอต้องมีป้ายเตือนอันตรายไว้ในบริเวณที่อาจเกิดอันตรายจากไฟฟ้า - ในกรณีที่มีการปฏิบัติงานตรวจสอบ ซ่อมแซม ติดตั้งไฟฟ้า นายจ้างต้องผูกป้ายห้ามสับสวิตช์ พื้นสีแดงไว้ที่สวิตช์ หรือใช้กุญแจป้องกันการสับสวิตช์ไว้ 2.2 สายไฟฟ้า มีกำหนดไว้ว่า “สายไฟฟ้าต้องใช้ให้ถูกกับประเภทของงานที่จะต้องใช้อย่างถูกต้อง” เช่น สายเปลือยต้องได้มาตรฐานตามที่อุตสาหกรรมกำหนด สายไฟฟ้าในอาคาร ต้องเป็นชนิดที่มีฉนวนหุ้มและมีมาตรฐานกำหนด สำหรับสายไฟฟ้าที่เดินสายใต้ดิน ต้องใช้สายไฟฟ้าชนิดที่มีฉนวนหุ้มสองชั้น และมีเปลือกนอกกันความชื้นได้ และไม่ผุกร่อนง่าย

2.3 การเดินสายและเครื่องประกอบการเดินสาย มีข้อกำหนดไว้ว่า การเดินสายภายในอาคาร ฝังในผนังตึก ในท่อโลหะ ในรางเดินสาย ภายนอกอาคาร ฝังดิน เป็นต้น จะต้องเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนด 2.4 ระบบการป้องกันกระแสไฟฟ้าเกินขนาด กำหนดไว้ว่า การเดินสายไฟฟ้าในสถานประกอบการจะต้องมีเครื่องตัดกระแสติดตั้งไว้ระหว่างเครื่องวัดไฟฟ้ากับสายภายในสถานประกอบกิจการ และจุดที่มีการเปลี่ยนขนาดสาย 2.5 การออกแบบติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า มีข้อกำหนดไว้ว่า หม้อแปลงไฟฟ้า หม้อแปลงเครื่องวัด ขดลวดจำกัดกระแส และเครื่องปรับแรงดัน เมื่อติดตั้งใช้งาน ต้องต่อเปลือกหุ้มที่เป็นโลหะลงดิน และต้องติดตั้งให้เป็นที่ ปลอดภัยตามที่ได้กำหนดไว้ แผงสวิตช์ไฟ ต้องมีลักษณะและติดตั้งให้ถูกวิธีตามหลักเกณฑ์ 2.6 สายดินและการต่อสายดิน มีข้อกำหนดไว้ว่า ห้ามมิให้ใช้สายศูนย์เป็นสายดิน หรือใช้สายดินเป็นสายศูนย์ สายดินต้องเป็นโลหะที่ไม่ผุกร่อนง่ายขนาดของสายดิน ต้องเป็นไปที่กำหนด การต่อต้องต่อกับตัวนำอย่างถาวรกับดิน และกำหนดอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต้องต่อสายดินและที่ไม่ต้องต่อสายดิน

2.7 การติดตั้งสายล่อฟ้า มีข้อกำหนดไว้ว่า ปล่องควันที่เป็นโลหะ ต้องมีการป้องกันฟ้าผ่า โดยไม่จำเป็นต้องติดสายล่อฟ้า แต่ต้องมีสายดินต่อไว้ให้ถูกต้อง ตามที่กำหนดว่าด้วยการต่อสายดิน ปล่องควันที่เป็นอิฐก่อหรือคอนกรีตต้องมีการป้องกันฟ้าผ่าให้ถูกต้องตามที่กำหนด 2.8 การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า มีข้อกำหนดไว้ว่า นายจ้างต้องจัดหาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า เช่น ถุงมือยาง แขนเสื้อยาง ถุงมือหนัง ถุงมือทำงาน แผ่นยาง ผ้าห่มยาง ฉนวนครอบลูกถ้วย ฉนวนหุ้มสาย หมวกแข็งกันไฟฟ้า เข็มขัดนิรภัย ฯลฯ ให้แก่ลูกจ้างที่จะปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานไฟฟ้าตามความเหมาะสมของงาน 3. ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ลงวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2519 ซึ่งกำหนดให้ต่อครอบโลหะของเครื่องจักรทุกชนิดลงดินหรือต่อสายดินไว้ เพื่อป้องกันไฟฟ้ารั่ว เป็นต้น 4. พระราชบัญญัติโรงงาน พ.ศ. 2535 กฎกระทรวงออกตามความในพระราชบัญญัติ โรงงาน พ.ศ. 2535 ได้กำหนดการป้องกันอุบัติเหตุ หรืออันตรายจากเครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องเคลื่อนย้าย หยิบยกหรือลำเลียงวัตถุ สายไฟฟ้า ท่อไอน้ำ หรือวัตถุอันเป็นสื่อส่งกำลังในโรงงาน

5. พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ. ศ 5. พระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. 2511 ซึ่งสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรมได้กำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม หลายประเภทเกี่ยวกับเครื่องใช้ อุปกรณ์ เพื่อให้ผู้ใช้ไฟฟ้าได้รับความปลอดภัยจากการใช้ไฟฟ้า เช่น มาตรฐานสายไฟฟ้า สวิตช์ ฟิวส์ หลอดไฟฟ้า เป็นต้น 6. มาตรฐานของสำนักพลังงานแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมได้กำหนดมาตรฐานและข้อแนะนำเกี่ยวกับอุปกรณ์และเครื่องใช้ไฟฟ้า เพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ใช้ไฟฟ้า เช่น มาตรฐานสายไฟฟ้า ความรู้เกี่ยวกับ Power circuit breaker มาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้าภายในอาคาร เป็นต้น 7. พระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2511 พระราชบัญญัติการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2521 ได้กำหนดข้อห้าม ข้อจำกัด และข้อมูลอื่นๆที่เกี่ยวข้องในเขตเดินสายไฟฟ้า ข้อกำหนดเกี่ยวกับเขตเดินสายไฟฟ้า และกฎเกณฑ์ที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตกำหนดขึ้นเป็นพิเศษ

8. ข้อกำหนดและคู่มือปฏิบัติงาน สำหรับพนักงานการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคและการไฟฟ้านครหลวง เช่น การไฟฟ้านครหลวงได้กำหนด กฎการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า พ.ศ. 2538 การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคได้กำหนด แนวปฏิบัติในการเดินสายและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า พ.ศ. 2537 โดยมีการกำหนดการติดตั้งไฟฟ้าภายในและภายนอกอาคาร การทำงานกับสายไฟฟ้าแรงดันสูง การติดตั้งสายดิน เป็นต้น 9. มาตรฐานต่างๆ ของต่างประเทศ เช่น National Electric Code (NEC) ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเป็นคู่มือปฏิบัติงานและข้อแนะนำต่างๆ เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน SAA. Wiring rule part ของประเทศออสเตรเลีย เป็นมาตรฐานการเดินสายไฟฟ้าในอาคารและสถานประกอบกิจการต่างๆ มาตรฐาน DIN หรือ CDE ของประเทศเยอรมัน เป็นมาตรฐานที่เน้นหนักทางด้านความปลอดภัยในการทำงาน เป็นต้น มาตรฐานต่างๆ เหล่านี้ เน้นส่วนสำคัญเกี่ยวกับการป้องกัน (Protection) เช่น

- การป้องกันการสัมผัสโดยตรง (Protection against direct contact) - การป้องกันจากการสัมผัสโดยอ้อม (Protection against indirect contact) - การป้องกันต่อความร้อนในการใช้งานตามปกติ (Protection against thermal effect in normal service) - การป้องกันต่อการไหลของกระแสเกินขนาด (Protection against overcurrent) - การป้องกันกระแสไฟฟ้าลัดวงจร (Protection against fault current) - การป้องกันต่อแรงดันไฟฟ้าเกินกำลัง (Protection against overvoltage) 10. มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ซึ่งได้กำหนดมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2545 ระบุถึงการติดตั้งทางไฟฟ้าของผู้ใช้ไฟฟ้าได้มาตรฐาน เพื่อให้เกิดความปลอดภัยและความสะดวกในการใช้งานของระบบไฟฟ้า ซึ่งมีทั้งกฎ และ/หรือแนวปฏิบัติของการไฟฟ้านครหลวงและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค และได้กำหนดข้อแนะนำสำหรับการออกแบบและติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าไว้ด้วย