Assoc. Prof. Somchai Amornyotin Defibrillation and EKG interpretation Assoc. Prof. Somchai Amornyotin Department of Anesthesiology Faculty of Medicine, Siriraj Hospital
Defibrillator ส่วน monitor ส่วน defibrillator
ตำแหน่งการวาง electrode anterior-apex (ant = rt.upper parasternal) 2. anterior-posterior (ant = lt.ant precordium, post = lt.infrascapular) 3. apex-posterior (apex = lt.5th intercostal space, mid axillary line)
ขั้นตอนการทำ defibrillation 1. เปิดเครื่อง 2. ตั้ง 200 J. เครื่อง monophasic (equivalent กันเครื่อง biphasic) 3. หมุนปุ่ม lead selection ไปที่ paddles (หรือที่ lead I, II, III ถ้าติด monitor lead อยู่) 4. ทาเจลหรือใช้ conductor pad วาง
5. ทาบ paddle ทั้งสองบนผิวหนัง (sternum-apex) 6. มองดู rhythm บนจอ 7. ร้องเตือนเพื่อน 8. กดปุ่ม charge ที่ paddle (มือขวา) หรือที่แผงควบคุม 9. ไฟชาร์จเต็มที่ นับถึงสาม
10. กด paddle แนบหน้าอกแน่น (25 ปอนด์) 11. กดปุ่ม discharge ที่ paddle ทั้งสองพร้อมกัน 12. มองดู rhythm บนจออีก 13. ทำ defibrillation 200 J, 300 J, 360 J (monophasic) หรือพลังงาน equivalent (biphasic)
การใช้ Automated External Defibrillator (AED) ขั้นตอนการทำงาน 1. Power on 2. Attachment เปิดซองเอา pad ออก ต่อสายไฟฟ้า เอาพลาสติกหุ้ม pad ที่ทา กาวไว้ออก วาง pad บนผิวหนัง
3. Analysis บอกเพื่อน “analyze rhythm - ถอย” 4. Shock ร้องบอก “ต้องช็อค-ถอย” แน่ใจว่าไม่มีใครแตะผู้ป่วย กดปุ่ม shock เมื่อไฟขึ้น
การทำ Synchronized cardioversion มีขั้นตอนการทำดังนี้ 1. พิจารณาให้ sedation 2. เปิดเครื่อง defibrillator 3. ติด monitor leads กับผู้ป่วย
4. กดปุ่ม synchronization mode 5. สังเกต marker บน R wave 6. ปรับ gain ให้พอเหมาะจนมี marker ทุกตัว 7. เลือกพลังงาน 8. ทาเจลและวาง paddle
9. วาง paddle ที่ sternum และ apex 10. ตะโกนบอก “ชาร์จไฟทุกคนถอย” 11. กดปุ่มชาร์จไฟ 12. สังเกตรอบตัวอีกครั้ง แล้วนับสาม
13. วาง paddle ให้แนบ 14. กดปุ่มช็อคพร้อมกัน 15. ดูจอถ้ายังเป็น tachycardia ให้เพิ่มไฟ 16. off synchronized mode เพื่อให้ พร้อมจะช็อคกรณีเกิด VF
การวินิจฉัย QRS complex มี P wave หรือไม่ ความสัมพันธ์ระหว่าง P Cardiac Arrhythmias in CPR การวินิจฉัย QRS complex มี P wave หรือไม่ ความสัมพันธ์ระหว่าง P wave และ QRS complex อัตรา (RR interval) ช้า, เร็ว, สม่ำเสมอ?
1. Ventricular arrhythmia 1.1 Ventricular fibrillation
1.2 Ventricular tachycardia
1.3 Idioventricular rhythm
2. Ventricular asystole (Cardiac standstill)
3. Supraventricular arrhythmia
สาเหตุ severe hypovolemia 4. Pulseless electrical activity (PEA) สาเหตุ severe hypovolemia cardiac tamponad tension pneumothorax massive pulm embolism metabolic disorder massive MI
ภาวะหัวใจเต้นช้าผิดปกติหรือไม่เหมาะสม กับความดันที่ต่ำ 5. Bradyarrhythmia ภาวะหัวใจเต้นช้าผิดปกติหรือไม่เหมาะสม กับความดันที่ต่ำ sinus bradycardia sinus arrest SA block AV block relative bradycardia
การรักษาภาวะ emergency cardiac arrhythmia 1. electrical defibrillation and cardioversion 2. drugs