เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับการท่องเที่ยว ความรู้พื้นฐาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับการท่องเที่ยว ความรู้พื้นฐาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. เรวัต แสงสุริยงค์ URL: http://www.huso.buu.ac.th/rewat e-mail: rewat@buu.ac.th
การท่องเที่ยว คืออะไร (What is tourism?) การท่องเที่ยว คือ การเดินทางเพื่อการสันทนาการ (recreational) หรือพักผ่อนหย่อนใจ (leisure) (Wikipedia, online: 2008) การท่องเที่ยว คือ กิจกรรมการเดินทาง (travelling) ของประชาชนออกไปนอกพื้นที่/สภาพแวดล้อมที่เป็นปกติในชีวิตประจำวัน เพื่อพักผ่อนหย่อนใจ (leisure) ทำธุรกิจ (business) รวมถึงเจตนาอื่น ๆ และพักผ่อนอยู่/พักอยู่ (staying) ติดต่อกันไม่เกิน 1 ปี (WTO) การท่องเที่ยว โดยสรุป คือ ปรากฏการณ์ (phenomena) หรือ ความเกี่ยวข้อง (relationship) ที่เกิดมาจากการเดินทาง (travel) และการพักอยู่ (stay) ในสถานที่ที่ไม่ใช่บ้านของตนเอง (non-resident) ซึ่งไม่ใช่เป็นการอาศัยอยู่อย่างถาวร (permanent residence) และไม่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมใด ๆ ที่เคยทำอยู่ก่อน (Hunziker and Krapf, 1941 อ้างใน Wikipedia, online: 2008) การท่องเที่ยว คือ การเคลื่อนที่ (movement) ชั่วคราว (temporary) ช่วงสั้น (short-term) ของคนไปยังสถานที่ที่อยู่นอกพื้นที่ที่เขาอาศัยอยู่ ทำงาน และทำกิจกรรมเป็นประจำ ในทุก ๆ จุดประสงค์ (Tourism Society of England, 1976 อ้างใน Wikipedia, online: 2008) การท่องเที่ยว คือ คำที่ใช้เกี่ยวกับ การเลือกไปทำกิจกรรมใด ๆ นอกสภาพแวดล้อมของบ้านที่ได้เลือกไว้และตั้งใจไว้ (International Association of Scientific Experts, 1981 อ้างใน Wikipedia, online: 2008) การท่องเที่ยว เป็นเสมือนการค้นหาความรู้ (knowledge acquisition) ตามปรัชญาของเพลโต (Plato’s philosophy) (Kamuzora, online: 2004) การท่องเที่ยว คือ การเรียนรู้ (learning) การค้นพบ (discovering) และประสบการณ์ (experience) (Kamuzora, online: 2004)
นิยามของการท่องเที่ยว ผู้เดินทาง (Traveler) นอกสภาพแวดล้อมปกติในชีวิตประจำวัน อยู่ติดต่อกันน้อยกว่า 12 เดือน มีกิจกรรมที่หลากหลาย ภายในพื้นที่ที่ไปถึง ค้างคืน ผู้เดินทางทั่วไป (OtherTravelers) ผู้มาเยี่ยมเยือน(Visitor) นักทัศนาจร (Same-day Visitor) นักท่องเที่ยว (Tourist) Yes No การท่องเที่ยว (Tourism) international - domestic inbound - outbound ที่มา: Werthner, Hannes. 2003. The Tourism Industry. http://ectrl.itc.it/home/home_people/werthner/
ประเภทของการท่องเที่ยว (Categories of Tourism) 1. การท่องเที่ยวเชิงชาติพันธุ์ (Ethnic Tourism) – ชาวเขาเผ่าต่าง ๆ ชาวมอแกน 2. การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม (Cultural Tourism) – แห่เทียนพรรษา โยนบัว 3. การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ (Historical Tourism) – บ้านเชียง สุโขทัย อยุธยา 4. การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ (Environmental Tourism) – เขาใหญ่ หมู่เกาะสุรินทร์ ท่องอวกาศ ดำน้ำ 5. การท่องเที่ยวเชิงนันทนาการ (Recreational Tourism) – ล่องแก่ง ถีบจักรยานภูเขา ไต่หน้าผา 6. การท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ (Business Tourism) – Motor Show, Com Mart, มหกรรมสินค้า Source: Valene Smith, Hosts and Guests, 1977.
วงจรชีวิตของการท่องเที่ยว (Tourism life cycle) Marketing Sales Planning Monitoring กระบวนของฝ่ายสนับสนุน (Processes of the supply side) Service delivery Relationship Community pre trip on site after trip วงจรชีวิตของนักท่องเที่ยว (Tourist life cycle ) การให้บริการ (Service delivery) การตลาด (Marketing) การขาย (Sales) การวางแผน (Planning) การติดตาม (Monitoring) ชุมชนสัมพันธ์ (Relationship Community) ก่อนเดินทาง (Pre-trip) ที่เที่ยว (on site) หลังเดินทาง (After-trip) ที่มา: Werthner. 2003. Tourist life cycle and companies’ processes – both suppliers and intermediaries
ระบบการท่องเที่ยว (Tourism System) Push Pull Mill and Morrison (1985) ‘system is like a spider’s web—touch one part of it and reverberation will be felt throughout’.
Information Communication Technology ระบบการท่องเทียว…และสิ่งอำนวยความสะดวก (The Tourism System…and accessibility) Accommodation B&B ACTIVITIES Photography Fishing Nature exploration Walking Health Swimming Painting Golfing Biking Sailing ANCI-LLARY SER-VICES Camping Farmhouses Holiday Centres Cottages Hotels Retailing Markets Department stores Shopping centres Gift shops Apartments Catering facilities Terraces/ beer gardens Restaurants Fast Food Cafes Entertainment Clubs Pubs Casino Theatre Cinemas Man made Purpose built Artificial Events Heritage Sporting Music Festivals Archaeology Stately homes Historic Buildings Monuments Arts Museums Conference Religious Spas Architecture Archaeological sites Observatories Wild life parks Theme parks Activity centres Waxwork Museum Disney Beach Waterfalls Natural Lakes Landscape Parks Gardens Rivers Woodland Private Public Embassies Hospitals & other health institutions Police NTOs RTOs LTOs Travel insurance Tour guides Private health institutions Post offices Banks Currency exchange Timetables Destination region ATTRACTIONS AMENITIES Primary suppliers: Galleries Tourist/ customer: individual travellers (blind, partially sighted, deaf, hard of hearing, wheelchair users, etc.) travellers with a personal assistant/ companion seniors Business Travel Other (health, study) Leisure Travel Place of origin Pre trip After trip During trip: transit Customers’ information needs: Booking Product information During trip: at destination Destination information Transit information Generic information Information Communication Technology INTERMEDIARIES: AVAILABLE TOURISM PACKAGES Travel Agencies Incoming Agencies Tour Operators AVAILABLE TOURISM INFORMATION: Destination Management Organisations/DMSs AVAILABLE ACCESSIBILITY INFORMATION: Disability Organisations Intermediation Boat – Car/ Taxi – Coach/ Bus – Train - Airlines Personalisation & community Certifi-cation O S S A T E Value added services A C C E S S I B I L I T Y
อุตสาหกรรมหลักในการท่องเที่ยว ที่พักอาศัย (Accommodation Sector) Hotel/Motel Guest house/bed and breakfast Farmhouse Apartments/villas/flats/cottages Condominiums/time share resorts Vacation villages/holidays centres Static and touring caravan/camping sites Marinas แหล่งท่องเที่ยว (Attraction Sector) Theme parks Museums and galleries National parks Wildlife parks Gardens Heritage sites and centres Sport/activity centres Themed retail/leisure/entertainment centres Festivals and events การขนส่ง (Transport Sector) Airlines Shipping lines/ferries Railways Bus/coach operators Car rental operators หน่วยงานด้านบริการการท่องเที่ยว (Travel organisers’ Sector) Tour operators Tour wholesalers/brokers Retail travel agents Conference organisers Booking agencies (e.g, accommodation) Incentive travel organisers หน่วยงานบริหารสถานที่ท่องเที่ยว (Destination organisation Sector) National tourist officers (NTOs) Destination marketing organisations (DMOs) Regional/state tourist offices Local tourist offices Tourist associations ที่มา: Middleton and Clarke, 2001. Marketing in travel and tourism
โครงสร้างของการตลาดการท่องเที่ยว (Structure of tourism market) ผู้บริโภค (Consumers) Tourist NTO outlets Travel agent คนกลาง (Intermediaries) Government bodies RTO Tour operator CRS/GDS Destination Management Org: DMO), Planners & Administration Incoming agent LTO Hotel Chain ผู้สนับสนุน (Suppliers) Airline other transport Primary supplier
โครงสร้างของระบบอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวของประเทศออสเตรเลีย (Structure of the Australian Tourism Industry)
“Tourism is a very information intensive activity. In few other areas of activity are the generation, gathering, processing, application and communication of information as important for day-to-day operations as they are for the travel and tourism industry” ที่มา: Poon, 1993
ททท.ทุ่ม 180 ล้าน ทำข้อมูลท่องเที่ยว ททท.เตรียมทำแผนแม่บทพัฒนาฐานข้อมูลท่องเที่ยวเชิงการตลาด ปี 2553-57 รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวให้ผู้ประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชนที่สนใจนำไปวิเคราะห์ดำเนินงานหรือลงทุนด้านท่องเที่ยว คาดแล้วเสร็จใน 6 เดือน ใช้งบ180 ล้านบาท... 24 มี.ค. นายวิชัย ศรีขวัญ ประธานคณะกรรมการ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) เปิดเผยภายหลังการประชุมว่า ททท.เตรียมจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาฐานข้อมูลการท่องเที่ยวเชิงการตลาด ปี 2553-2557 เพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวให้ผู้ประกอบการทั้งภาครัฐและเอกชนที่สนใจ สามารถนำไปวิเคราะห์ประกอบการตัดสินใจดำเนินงาน หรือการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวได้ คาดว่าจะดำเนินการแล้วเสร็จภายใน 6 เดือน และใช้งบประมาณ 180 ล้านบาท โดยการดำเนินงานจะให้เป็นไปตามแผนตลอดระยะเวลา 5 ปี โดยจะเป็นการรวบรวมข้อมูลจากหน่วยงานต่างๆ ที่มีอยู่แล้ว เพื่อจัดทำเป็นฐานข้อมูล ทั้งนี้ในส่วนของแผนแม่บทดังกล่าว ประกอบด้วย 7 ยุทธศาสตร์ คือ 1.การนำเข้าข้อมูลสู่ระบบฐานข้อมูลการท่องเที่ยวเชิงการตลาด 2.การเสริมสร้างความร่วมมือกับภาคส่วนต่างๆ เพื่อร่วมพัฒนาฐานข้อมูล 3.การพัฒนาระบบไอที เพื่อสนับสนุนการพัฒนาฐานข้อมูล 4.การพัฒนาบุคลกรเพื่อการวิเคราะห์และใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล 5.การกำหนดช่องทางเพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้กับกลุ่มเป้าหมาย 6.การประชาสัมพันธ์ให้ภาคส่วนต่างๆ ได้รับรู้และใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูล และ 7.การปรับปรุงฐานข้อมูลให้ทันสมัย พร้อมการติดตามและประเมินผลเพื่อพัฒนาฐานข้อมูลอย่างต่อเนื่อง ที่มา: ไทยรัฐ. เศรษฐกิจ. วันพฤหัสบดีที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2553 http://www.thairath.co.th/content/eco/72763