ความหมายของกระดูกหัก

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เปลี่ยนสี และรูปแบบของตัวหนังสือ และจุดเชื่อมโยง
Advertisements

ปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction)
พลังงานอิสระ (Free energy)
บทที่ ๑ ความรู้เบื้องต้น เกี่ยวกับการวิเคราะห์ และออกแบบระบบสารสนเทศ (Introduction to Information System Analysis) 22/7/03 บทที่
Control Statement for while do-while.
Lecture Notes EGCE 421 Water Resource Engineering
ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่
H2O H2O H2O ความสำคัญของน้ำ H2O H2O.
Transcription.
1. ใบเดี่ยว (Simple Leaf)
Fracture tibia and fibula
Electronic1 อิเล็กทรอนิกส์ 1 Electronic 1.
Supportive Counseling How to support client’s emotion
Proposal : Teaching & Media Evaluation  Login Page [1] & Main Page [2] o Grade Report Page [3] o Teaching Evaluation [subject] o Media Evaluation [university]
หมวดวิชาคอมพิวเตอร์ โรงเรียนพะเยาพิทยาคม โดย อ.วัชระ การสมพจน์
การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด
การต่อวงจรตัวต้านทาน
บทที่ 4 นิพจน์ทางคณิตศาสตร์.
Control Flow.
ธุรกิจค้าปลีกและค้าส่ง
Applied Geochemistry Geol รองศาสตราจารย์ ดร. เบ็ญจว รรณ รัตนเสถียร ภาควิชาธรณีวิทยา คณะ วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
สำนักงานกลางสารสนเทศบริการสุขภาพ(สกส)
Data Structure and Algorithms
สมดุลเคมี เช่น น้ำ (ของเหลว)
Fracture system. โดยธรรมชาติ รอยแตก (fracture) เกิดขึ้น เนื่องจาก tension หรือ shear stress ใน หินที่แตกหักง่ายไม่มีความยืดหยุ่น ความ รุนแรงของการแตกขึ้นอยู่กับความรุนแรง.
การวิเคราะห์โครงสร้างประโยคภาษาอังกฤษในคอลัมน์Star Biographic ในหนังสือพิมพ์ Student Weekly Analysis of English Sentence Structures in Star Biographic.
GOLD MEDAL ปรับปรุงขั้นตอน ลดหย่อนเวลา พัฒนาคุณภาพงาน 1.
ทพญ. เรวดี ศรีหานู. ภาพรวมของการพัฒนา คุณภาพ ระบบบริหารความเสี่ยง องค์กรแพทย์ องค์กรพยาบาล สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย การป้องกันและควบคุมการ ติดเชื้อ.
ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.
Collecting / Grouping / Sorting Data
สรุปจำนวน APN และแผนการส่งศึกษาต่อ APN
19 พฤศจิกายน 2559 ณ ห้องประชุมสักทอง1
การพยาบาลผู้ป่วย On Skin Traction
บทที่ 9 การพยาบาลผู้ป่วยที่มีบาดแผลและการอักเสบ
โรคกระดูกพรุน (Osteoporosis).
การพยาบาลผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์
คำเทศนาหัวข้อที่ 3: ประกาศข่าวดี SERMON 3: PREACHING GOOD NEWS
Welcome IS Team IS
อินทรียวัตถุในดิน (Soil Organic Matter).
By T’Sumana Hanlamyuang
ลายผ้าของแม่ โดย มัณฑนา สันติคุณากร.
BONE INFECTION (osteomyelitis)
บทที่ ๓ กินเป็น อยู่เป็น
กล้องจุลทรรศน์และการย้อมสี
บทที่ 8 เครื่องมือการวิจัย
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
แนวทาง การให้บริการวัคซีนโปลิโอ
Orthopaedic Emergency นงลักษณ์ อนันต์ประดิษฐ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
การวิเคราะห์การถดถอย และสหสัมพันธ์อย่างง่าย
สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
วิชากฎหมายพาณิชย์ 2 อ.สุธาสินี สุภา
แนวทางการประเมินผลสัมฤทธิ์ ด้วยข้อสอบมาตรฐานกลาง
สาขาออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลอุดรธานี นำเสนอเขต 8
14 กรกฎาคม 2560 ห้องประชุมพลับพลึง ชั้น5 อาคารผู้ป่วยนอก รพพ.
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
บทที่ 1 ทบทวนพฤกษศาสตร์ของพืช
เอกภพ หรือ จักรวาล เอกภพ หรือ จักรวาล (Universe) เป็นระบบที่ใหญ่ที่สุดและไร้ขอบเขต และเป็นห้วงอวกาศที่เต็มไปด้วยดวงดาวจำนวนมหาศาล ซึ่งเราจะเรียกดวงดาวที่เกาะกันเป็นกลุ่มว่า.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กำหนดมาตรฐานควบคุมการปล่อยทิ้ง ไอน้ำมันเบนซินจากคลังน้ำมันเชื้อเพลิง ประกาศในราชกิจจานุเบกษาวันที่
นโยบาย/แนวทางพัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมโรคมะเร็ง จังหวัดศรีสะเกษ นางสาววิลาวัลย์
High-Order Systems.
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
ความรู้เกี่ยวกับการจัดการ
การปฐมพยาบาลผู้ที่กระดูกหัก และได้รับบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อ และข้อต่อ
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ สาขาวิชาการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
การขยายพันธุ์พืช.
รหัสวิชา NUR 3236 รายวิชา การรักษาโรคเบื้องต้น Primary Medical Care
BY POONYAPORN SIRIPANICHPONG
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหมายของกระดูกหัก กระดูกหัก (fracture) หมายความถึงกระดูกแยกออกจากกันอาจ เป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง หรืออาจมีบางส่วนติดกันอยู่บ้าง ซึ่งขึ้นอยู่กับ ความรุนแรงของแรงที่มากระแทกต่อกระดูก ทำให้แนวการหักของกระดูก แตกต่างกัน ก่อให้เกิดความเจ็บปวด บวม เคลื่อนไหวไม่ได้หรือ เคลื่อนไหวผิดปกติ เนื่องจากอุบัติเหตุ เช่น ถูกรถชน หกล้ม ตกจากที่สูง หรือกระดูกเป็นโรคไม่แข็งแรงอยู่แล้ว กระดูกเปราะเมื่อถูกแรง กระทบกระเทือนเพียงเล็กน้อยก็อาจหักได้

ประเภทของกระดูกหัก             1. กระดูกหักแบบสามัญ (simple fracture) หมายถึง  กระดูกหักแล้วไม่ปรากฏแผลให้เห็นบนผิวหนัง 2. กระดูกหักแผลเปิด (compound fracture) หมายถึง  กระดูกที่หักทิ่มแทงผิวหนังออกมาภายนอก 3. กระดูกหักแตกย่อย (comminuted fracture) หมายถึง  ชิ้นส่วนของกระดูกที่หักปรากฏออกมามากกว่า 2 ชิ้นขึ้นไป

ชนิดของกระดูกหัก โดยทั่วไปแบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ กระดูกหักชนิดปิด (closed fracture) และกระดูกหักชนิดเปิด (opened fracture) ซึ่งสามารถวินิจฉัยได้จากการสังเกต 1. กระดูกหักชนิดปิด คือกระดูกหักแล้วไม่ทะลุผิวหนังและไม่มี บาดแผลบนผิวหนังตรงบริเวณที่หัก 2. กระดูกหักชนิดเปิด คือกระดูกหักแล้วทิ่มแทงทะลุผิวหนัง ทำให้มีแผลตรงบริเวณที่กระดูกหัก โดยอาจไม่มีกระดูกโผล่ออกมานอก ผิวหนังก็ได้ แต่มีแผลเห็นได้ชัดเจน

หลักทั่วไปในการปฐมพยาบาลผู้ที่กระดูกหัก  หลักทั่วไปในการปฐมพยาบาลผู้ที่กระดูกหัก       การปฐมพยาบาลที่ดีที่สุด คือ ให้ผู้ป่วยนอนอยู่กับที่ห้ามเคลื่อนย้าย โดยไม่จำเป็น เพราะหากทำผิดวิธีอาจบาดเจ็บมากขึ้น ถ้าผู้ป่วยมีเลือดออก ให้ห้ามเลือดไว้ก่อน หากมีอาการช็อกให้รักษาช็อกไปก่อน ถ้าจำเป็นต้อง เคลื่อนย้ายผู้ป่วยให้เข้าเฝือกชั่วคราว ณ ที่ผู้ป่วยนอนอยู่ ถ้าบาดแผลเปิด ให้ห้ามเลือดและปิดแผลไว้ชั่วคราวก่อนเข้าเฝือก สิ่งที่ควรระวังมากที่สุดคือ กระดูกสันหลังหักหรือกระดูกต้นคอหัก ถ้าเคลื่อนย้ายผิดวิธี อาจทำให้ ผู้ป่วยพิการตลอดชีวิต หรือถึงแก่ชีวิตได้ทันทีขณะเคลื่อนย้าย

  1. การซักประวัติ จะต้องซักประวัติเกี่ยวกับการได้รับอุบัติเหตุ เพื่อให้ทราบว่า เกิดได้อย่างไร ในท่าใด ระยะเวลาที่เกิด เพื่อประเมินความรุนแรงของแรงที่มา กระทำ และตำแหน่งของกระดูกที่ได้รับบาดเจ็บ   

   2. ตรวจร่างกาย โดยตรวจทั้งตัว และสนใจต่อส่วนที่ได้รับอันตรายมาก ก่อน โดยถอดเสื้อผ้าออก การถอดเสื้อผ้าผู้บาดเจ็บ ควรใช้วิธีตัดตาม ตะเข็บ อย่าพยายามให้ผู้บาดเจ็บถอดเอง เพราะจะทำให้เจ็บปวดเพิ่มขึ้น แล้วสังเกตอาการและอาการแสดงว่ามีการบวม รอยฟกช้ำ หรือ จ้ำเลือด บาดแผล ความพิการผิดรูป และคลำอย่างนุ่มนวล ถ้ามีการบวมและชามาก ให้จับชีพจรเปรียบเทียบกับแขนหรือขาทั้งสองข้าง ตรวจระดับความรู้สึก การเปลี่ยนแปลงสีผิว การตรวจบริเวณที่หัก ต้องทำด้วยความระมัดระวัง เพราะอาจทำให้ปลายกระดูกที่หักเคลื่อนมาเกยกัน หรือทะลุออกมานอก ผิวหนัง

ขณะตรวจร่างกาย ต้องดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง ประเมินการหายใจและการ ไหลเวียนของเลือด สังเกตการตกเลือด ถ้ามีต้องห้ามเลือด หลีกเลี่ยงวิธีการ ห้ามเลือดแบบขันชะเนาะ เพราะถ้ารัดแน่นเกินไป อาจจะทำให้เลือดแดงไป เลี้ยงส่วนปลายไม่พอ ถ้ามีบาดแผลต้องตกแต่งแผลและพันแผล ในรายที่มี กระดูกหักแบบเปิดให้ใช้ผ้าสะอาดคลุมปิดไว้ แล้วพันทับ ห้ามดึงกระดูกให้ เข้าที่    

  3. การเข้าเฝือกชั่วคราว การดามบริเวณที่หักด้วยเฝือกชั่วคราวให้ ถูกต้องและรวดเร็ว จะช่วยให้บริเวณที่หักอยู่นิ่ง ลดความเจ็บปวด และไม่ ก่อให้เกิดการบาดเจ็บเพิ่มขึ้น โดยใช้วัสดุที่หาได้ง่าย เช่น ไม้ หรือกระดาษ หนังสือพิมพ์พับให้หนา หมอน ร่ม ไม้กดลิ้น กระดาน เสา ฯลฯ รวมทั้ง ผ้าและเชือกสำหรับพันรัดด้วยไม่ควรเคลื่อนย้ายผู้ป่วยจนกว่าจะเข้าเฝือก ชั่วคราวให้เรียบร้อยก่อน ถ้าไม่มีสิ่งเหล่านี้เลย ให้ใช้แขนหรือขาข้างที่ไม่ หักหรือลำตัวเป็นเฝือกชั่วคราว โดยผูกยึดให้ดีก่อนที่จะเคลื่อนย้ายผู้ป่วย    

  4. การเคลื่อนย้ายผู้บาดเจ็บ เพื่อเคลื่อนย้ายออกจากสถานที่มี อันตรายไปสู่ที่ปลอดภัยหรือโรงพยาบาล การเคลื่อนย้ายอย่างถูกวิธี จะช่วยลดความพิการและอันตรายต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นได้

อาการของกระดูกหัก มีดังนี้ อาการของกระดูกหัก มีดังนี้        1. มีความเจ็บปวดบริเวณที่มีกระดูกหัก      2. มีอาการบวมรอบๆ บริเวณที่กระดูกหัก      3. รูปร่างของแขนขาหรือหัวไหล่อาจเปลี่ยนแปลงไปจากรูปร่างปกติ      4. บริเวณนั้นเคลื่อนไหวไม่ได้ หรือเคลื่อนไหวแล้วจะเจ็บปวดมาก      5. อาจได้ยินเสียงกระดูกหักเมื่อประสบอุบัติเหตุบาดเจ็บ      6. หากกดเบาๆ ลงบนกระดูกบริเวณที่หัก อาจได้ยินเสียงกรอบแกรบ

หลักการเข้าเฝือกชั่วคราว    หลักการเข้าเฝือกชั่วคราว      การเข้าเฝือกชั่วคราว เป็นวิธีการบังคับให้กระดูกส่วนที่หัก ได้อยู่นิ่งไม่เคลื่อนไหว เพื่อลดความเจ็บปวดและป้องกันมิให้ เกิดความพิการเพิ่มขึ้น มีหลักอยู่ว่าหากหาสิ่งที่ใกล้มือเพื่อ เข้าเฝือกไม่ได้ ให้มัดส่วนที่กระดูกหักไว้ ไม่ให้เคลื่อนไหว เช่น กระดูกขาข้างหนึ่งหัก ก็ให้มัดขาข้างที่หักให้ชิดแน่นกับขาข้างดี หากกระดูกแขนหัก  หรือกระดูกไหปลาร้าหักก็มัดแขนข้างนั้น ให้อยู่แน่นติดกับลำตัว เรียกว่า "เข้าเฝือกธรรมชาติ"    

หลักการเข้าเฝือกชั่วคราว    หลักการเข้าเฝือกชั่วคราว สิ่งที่อยู่ใกล้มือพอให้เป็นเฝือกได้คือ แผ่นกระดานท่อนไม้กิ่งไม้ ไม้บรรทัด หมอน ผ้าห่ม ผ้าขาวม้า ด้ามร่ม ม้วนกระดาษหนังสือพิมพ์ ใช้ได้ดีคือแผ่น ไม้ ที่เหมาะควรยาวเกินกว่าข้อต่อ  (joints) ซึ่งอยู่ส่วนบนและส่วนล่าง ของกระดูกที่หักและควรมีสิ่งนุ่มๆ รองรับผิวหนังของอวัยวะส่วนนั้นอยู่ เสมอควรใช้ไม้ 2 แผ่นขนาบสองข้างของส่วนที่หักแล้วมัดด้วยผ้าหรือเชือก ให้แน่นพอควร   

   1.วัสดุที่ใช้ดามต้องยาวกว่าอวัยวะส่วนที่หัก โดยเฉพาะจะต้องยาวพอที่จะ บังคับข้อต่อที่อยู่เหนือและใต้ บริเวณที่สงสัยว่ากระดูกหัก เช่น ขาท่อนล่าง หัก ข้อเข่าและข้อเท้าจะต้องถูกบังคับไว้ด้วยเฝือก เป็นต้น      2. ไม่วางเฝือกลงบนบริเวณที่กระดูกหักโดยตรง ควรมีสิ่งอื่นรอง เช่น ผ้า หรือ สำลีวางไว้ตลอดแนวเฝือก เพื่อไม่ให้เฝือกกดลงบนบริเวณผิวหนัง โดยตรง ซึ่งทำให้เจ็บปวดและเกิดเป็นแผลจากเฝือกกดได้     

 3.มัดเฝือกกับอวัยวะที่หักให้แน่นพอควร ถ้ารัดแน่นจนเกินไปจะกด ผิวหนังทำให้การไหลเวียนของเลือดไม่สะดวกเป็นอันตรายได้ โดยระวัง อย่าให้ปมเชือกกดแผล จะเพิ่มความเจ็บปวดและเนื้อเยื่อได้รับอันตราย และคอยตรวจบริเวณที่หักเป็นระยะๆ เพราะอาจจะมีการบวม ซึ่งจะต้อง คลายเชือกที่ผูกให้แน่นน้อยลง      4.บริเวณที่เข้าเฝือกจะต้องจัดให้อยู่ในท่าที่สุขสบายที่สุด อย่าจัด กระดูกให้เข้ารูปเดิม ไม่ว่ากระดูกที่หักจะโค้ง โก่ง หรือ คด ก็ควรเข้าเฝือก ในท่าที่เป็นอยู่

รายชื่อสมาชิกกลุ่ม นายนพรัตน์ ฉิมพสุทธิ์ รหัสนักศึกษา 57051402018 นายอภิวัฒน์ ศรีประสิทธิ์ รหัสนักศึกษา57051402019 นายพงศกร ดวงมรกต รหัสศึกษา 57051402028 น.ส.ประภัสสรนงนุช รหัสศึกษา 57051402034 น.ส.สุพรรณี พึ่งมา รหัสศึกษา 57051402049 น.ส.วัชรียา แก้วกุลณะ รหัสศึกษา 57051402050 นายปิยะพล อินมะณี รหัสศึกษา 57051402071 น.ส.นฤมล กลิ่มสุมาลี รหัสนักศึกษา 57051402072 นายศุภชัย อุบลแย้ม รหัสนักศึกษา 57051402078 น.ส.ตวงจรินทร์ ดำรงสันติธรรม 57051402079