การจัดการโปรเซส T.Kunlaya Charoenmongkonvilai

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

Chapter 2 Process Pisit Nakjai.
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
Entity-Relationship Model E-R Model
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
วัตถุประสงค์ 1. แสดงรายการของโปรแกรม ที่และสถานการทำงานของ โปรแกรม 2. แสดงรายการบริการที่มี บน ระบบปฏิบัติการ 3. แสดงกราฟการใช้ ตัว ประมวลผล 4. แสดงกราฟการทำงานการ.
… FACEBOOK … ..By Peerapon Wongpanit
Superior COmmunications Research and Prototyping for commercialization น. ส. ศันสนีย์ เนติโรจนกุล กลุ่มที่ 3 ส่วนประมวลผลสัญญาณ ดิจิตอลเบสแบนด์ด้วยชิป.
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
บทที่ 2 โครงสร้างและหน้าที่ การทำงาน ของระบบคอมพิวเตอร์
โปรแกรมคำนวณคะแนน สหกรณ์ ตามเกณฑ์ดีเด่นแห่งชาติ กรมส่งเสริม สหกรณ์ กองพัฒนาสหกรณ์ด้านการเงิน และร้านค้า วิธีการใ ช้
หน่วย ตรวจสอบ ภายใน Ready. แนวทางการ ตรวจสอบภายใน  อำนาจหน้าที่  ข้อปฏิบัติ / แนวทาง ปฏิบัติ / ซักซ้อม  ดุลยพินิจ  งบประมาณ  ประโยชน์  โปร่งใส ตรวจสอบได้
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ระบบบัญชาการในสถานการณ์ Incident Command System: ICS
ระบบตัวแทนจำหน่าย/ ตัวแทนขายอิสระ
Material requirements planning (MRP) systems
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การควบคุมผลิตภัณฑ์ ที่ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด : Control of Nonconforming products FSKN13.
สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Computer Architecture)
บทที่ 3 การจัดเวลาซีพียู CPU Scheduling.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
STACK สแตก(stack) เป็นโครงสร้างข้อมูลแบบเชิงเส้น ที่มีการใส่ข้อมูลเข้า และนำข้อมูลออกเพียงด้านเดียว ดังนั้น ข้อมูลที่เข้าไปอยู่ใน stack ก่อนจะออกจาก stack.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 หน่วยผลิตและทางเลือกภายใต้โครงสร้างตลาด
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
Basic Input Output System
บทที่ 8 เงื่อนไขตัดสินใจ
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ: คำสั่ง while คำสั่ง do….while
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ชั้น G ปารีส ศูนย์การค้าเทอร์มินอล 21 โคราช
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
โดย นายอนุชา ศรีเริงหล้า นักอุตุนิยมวิทยาปฏิบัติการ
SMS News Distribute Service
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
บทที่ 6 เงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การจัดบล๊อคและบัฟเฟอร์ (Blocking and Buffering)
บทที่ 4 การจำลองข้อมูลและกระบวนการ (Data and Process Modeling)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดการโปรเซส T.Kunlaya Charoenmongkonvilai http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha

Agenda การจัดการโปรเซส โปรเซส (Process) เทรด (Thread) การประสานเวลาของโปรเซส บัฟเฟอร์ (Buffer) http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

โปรเซส (Process) http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

ความหมายของโปรเซส การจัดการโปรเซส โปรแกรมที่กำลังถูกเอ็กซิคิวต์ โปรแกรมที่อยู่ระหว่างการทำงาน กิจกรรมที่มีการทำงานสัมพันธ์กัน สิ่งที่กำลังใช้งานโปรเซสเซอร์อยู่ http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

องค์ประกอบของโปรเซส การจัดการโปรเซส หมายเลขโปรเซส (Process ID) โค้ดโปรแกรม (Program Code) ข้อมูล (Data) บล็อกควบคุมโปรเซส (Process Control Block ) หรือ PCB PSW (Program Status Word) คุณสมบัติของโปรเซส ลำดับความสำคัญของโปรเซส (Priority) อำนาจหน้าที่ของโปรเซส (Authority) คุณสมบัติอื่น ๆ http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

บล็อกควบคุมโปรเซส (PCB) การจัดการโปรเซส บล็อกควบคุมโปรเซส (PCB) ตัวชี้ (Pointer) สถานะของโปรเซส (Process state) หมายเลขของโปรเซส (Process ID) ตัวนับโปรเซส (Program counter) รีจิสเตอร์ (Register) ข้อมูลการจัดการเวลาของซีพียู (CPU scheduling information) ข้อมูลการจัดการหน่วยความจำ (Memory management information) ข้อมูลแอ็กเคาต์ (Account information) ข้อมูลสถานะอินพุต/เอาต์พุต (I/O status information) http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

บล็อกควบคุมโปรเซส (PCB) การจัดการโปรเซส บล็อกควบคุมโปรเซส (PCB) http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

สถานะของโปรเซส การจัดการโปรเซส สถานะของโปรเซสที่สำคัญมี 3 สถานะ คือ สถานะพร้อม (Ready State) สถานะการทำงาน (Running State) สถานะรอ,พัก (Waiting State) http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

Diagram Status Process การจัดการโปรเซส Diagram Status Process http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

การจัดลำดับโปรเซส (Process Scheduling) การจัดการโปรเซส การจัดลำดับโปรเซส (Process Scheduling) ใช้ในระบบมัลติโปรแกรมมิ่ง คือการจัดโปรเซสให้รันตลอดเวลา เพื่อให้ใช้ประโยชน์ซีพียูได้สูงสุด โปรเซสที่ระบบปฏิบัติการสร้างขึ้นมาใหม่จะอยู่ในสถานะพร้อมและเก็บ อยู่ในคิว เรียกว่า Ready Queue เพื่อรอการรัน ต้องพิจารณาหน่วยความจำของระบบมีเพียงพอหรือไม่ Ready Queue จะเก็บโปรเซสในลักษณะลิงค์ลิสต์ (Link list) ที่ส่วนหัวของคิว จะประกอบด้วยพอยเตอร์ของ PCB เริ่มต้น และท้ายสุดของลิสต์ และแต่ละ PCB จะมีพอยเตอร์ชี้ไปยัง PCB ตัวต่อไปของคิว http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

การจัดลำดับโปรเซส (Process Scheduling) การจัดการโปรเซส การจัดลำดับโปรเซส (Process Scheduling) อย่างไรก็ตาม ในการจัดการโปรเซสที่อยู่ในคิวต่างๆ จำเป็นต้องมีโปรแกรมที่ช่วยกำหนดและจัดลำดับของโปรเซส โปรแกรมดังกล่าวเรียกว่า “กำหนดการ (Scheduler)” โดยแบ่งออกเป็น กำหนดการระยะยาว (Long-term Scheduler หรือ Job Scheduler) ทำหน้าที่เลือกโปรเซสที่รออยู่ในหน่วยความจำสำรองเข้าไปอยู่ที่หน่วยความจำหลัก โดย จะพิจารณาเลือกโปรเซสจากหน่วยความจำสำรองไปเข้าคิวพร้อม ที่หน่วยความจำหลัก เพื่อรอจนกว่าซีพียูจะว่าง http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

การจัดลำดับโปรเซส (Process Scheduling) การจัดการโปรเซส การจัดลำดับโปรเซส (Process Scheduling) กำหนดการระยะสั้น (Short-term Scheduler หรือ CPU Scheduler)ทำหน้าที่ เลือกโปรเซสจาก คิวพร้อม และมอบหมายซีพียูให้แก่โปรเซสทีละโปรเซส เป็นผลให้โปรเซสเปลี่ยนสถานะจาก พร้อม เป็น ทำงาน ข้อแตกต่างระหว่างกำหนดการทั้ง 2 ข้อ คือ - กำหนดการระยะสั้นจะถูกเรียกใช้งานมากกว่ากำหนดการระยะยาว http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

การดำเนินการบนโปรเซส (Operation on Process) การจัดการโปรเซส การดำเนินการบนโปรเซส (Operation on Process) ระบบปฏิบัติการจำเป็นต้องมีวิธีการหรือกระบวนการสร้างและ ทำลายโปรเซสได้ ด้วยการเรียกใช้ “คำสั่งระบบ (System command)” ของระบบปฏิบัติการ โปรเซสพ่อ (Parent Process) โปรเซสที่สร้างโปรเซสอื่น โปรเซสลูก (Child Process) โปรเซสที่ถูกสร้าง http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

การดำเนินการบนโปรเซส (Operation on Process) การจัดการโปรเซส การดำเนินการบนโปรเซส (Operation on Process) การเอ็กซิคิวต์ (พร้อมกัน หรือรอให้โปรเซสลูกเสร็จก่อนแม่จึงเอ็กซิคิวต์) แอ็ดเดรส (โปรเซสลูกสำเนาจากโปรเซสแม่ หรือโหลดแอ็ดเดรสให้ตัวเอง) http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

Thread การจัดการโปรเซส Thread เป็นส่วนย่อยของโปรเซสที่เรียกว่า “Lightweight Process” แต่ละโปรเซสอาจจะมีหนึ่งเทรด หรือมีหลายเทรดก็ได้ ข้อดีของการมีหลายเทรด(Multithreaded process) เช่น การตอบสนอง การใช้ทรัพยากรร่วมกัน ความประหยัด การเอื้อประโยชน์ของสถาปัตยกรรมมัลติโปรเซสเซอร์ http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

Thread การจัดการโปรเซส http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

Thread การจัดการโปรเซส http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

Thread การจัดการโปรเซส ส่วนประกอบของ Thread หมายเลข Thread ตัวนับ : ติดตามให้ทราบคำสั่งต่อไปที่จะเอ็กซิคิวต์ ชุดของรีจิสเตอร์ : เก็บค่าตัวแปรที่ทำงานอยู่ สแต็ก : เก็บประวัติการเอ็กซิคิวต์ http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

Thread การจัดการโปรเซส โมเดลของ MultiThread Many-to-One : 1 Kernel กับหลาย User thread การจัดการ threadอยู่ในพื้นที่ของผู้ใช้ซึ่งมีประสิทธิภาพ แต่ถ้า thread บล็อก system call จะทำให้โปรเซสถูกบล้อกไปด้วย http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

Thread การจัดการโปรเซส โมเดลของ Multithread One-to-One : 1 Kernel กับ 1 User thread ทำงานได้พร้อมกันดีกว่าแบบแรก โดยยอมให้ thread อื่นรันได้เมื่อ thread บล็อก system call ต้องคำนึงการสร้าง kernel และ user thread ต้องสัมพันธ์กัน การสร้าง kernel thread เป็นประสิทธิภาพของโปรแกรม http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

Thread การจัดการโปรเซส โมเดลของ Multithread Many-to-many : User thread มากว่าหรือเท่ากับ Kernel thread ได้ kernel thread กำหนดแอปพลิเคชันMany-to-One ยอมให้ผู้พัฒนา สร้าง user thread ได้ตามต้องการ แต่ไม่สามารถรันได้พร้อมกัน เนื่องจาก Kernel จัดเวลาให้ครั้งละ thread http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

การประสานเวลาของโปรเซส การจัดการโปรเซส การประสานเวลาของโปรเซส P0 : read a ; //อ่านค่าตัวแปร a a = a + 1 ; //เพิ่มค่าตัวแปร a print a ; //พิมพ์ค่าตัวแปร a P1 : read b ; // อ่านค่าตัวแปร b b = b + 1 ; // เพิ่มค่าตัวแปร b print b ; // พิมพ์ค่าตัวแปร b ตัวอย่างการทำงานของโปรเซสที่ไม่ส่งผลกระทบต่อกัน เป็นอิสระต่อกัน http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

การประสานเวลาของโปรเซส การจัดการโปรเซส การประสานเวลาของโปรเซส P0 : read x ; //อ่านค่าตัวแปร x x = x + 1 ; //เพิ่มค่าตัวแปร x print x ; //พิมพ์ค่าตัวแปร x P1 : read x ; // อ่านค่าตัวแปร x x = x + 1 ; // เพิ่มค่าตัวแปร x print x ; // พิมพ์ค่าตัวแปร x ตัวอย่างการทำงานของโปรเซสที่ส่งผลกระทบต่อกัน ไม่เป็นอิสระต่อกัน http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

Buffer กับการแสดงข้อมูล การจัดการโปรเซส Buffer กับการแสดงข้อมูล กำหนดให้ Buffer มีขนาดเท่ากับ 7 ให้แสดงข้อมูลที่บรรจุใน Buffer และค่าของตัวแปร Full และ Buffer เมื่อ N = 7 Full = 0 Empty = N = 7 http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

Buffer กับการแสดงข้อมูล การจัดการโปรเซส Buffer กับการแสดงข้อมูล Process Programmer นำอักขระ “A” บรรจุใน Buffer Full = 0 + 1 = 1 Empty = 7 – 1 = 6 A http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.

Buffer กับการแสดงข้อมูล การจัดการโปรเซส Buffer กับการแสดงข้อมูล Process User นำอักขระ “A” ออกจาก Buffer Full = 1 -1 = 0 Empty = 6 + 1 = 7 A http://pws.npru.ac.th/Kunlayacha Reference : สุจิตรา อดุลย์เกษม,ทฤษฎีระบบปฏิบัติการ.กรุงเทพฯ:โปรวิชั่น,2552.