การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ตัวชี้วัดที่ 2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานพัฒนาฝีมือแรงงานในภาพรวมของภาค (ผลการดำเนินงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาคและศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานที่อยู่ในเครือข่าย)
Advertisements

M&E Systems Strengthening Tool
Health System Reform.
SELF-ASSESSMENT REPORT Department of Medicine. SAR Plan-Do-Follow-Evaluate-Improve.
เกณฑ์การประเมิน ผู้บริหารสถานศึกษา วิทยฐานะผู้อำนวยการชำนาญ การพิเศษ / เชี่ยวชาญ.
การประเมินผลงาน เพื่อ เลื่อนระดับชำนาญ การ และ การขอรับเงินประจำ ตำแหน่ง.
Report การแข่งขัน.
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
แนวทางการจัดทำรายงานการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
การคิด/หาหัวข้อวิจัย (วิทยานิพนธ์/การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง)
การประเมินศักยภาพองค์กรลุ่มน้ำ ( Self-Assessment and Reporting : SAR)
สิริพินท์ ศิริโสภาพงษ์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ
ผู้อำนวยการสำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษาแนวใหม่
สถานวิทยาศาสตร์พรีคลินิก
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
1 Discharge Summary Completeness Discharge Summary Completeness สูตรการคำนวณ จำนวนผู้ป่วยในที่แพทย์ขียนใบสรุปการรักษาผู้ป่วยทันทีที่ผู้ป่วยจำหน่าย.
แนวทางการตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง (Self-Assessment)
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
ณ ห้องประชุมสำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม
แพทย์หญิง ฐนิตา สมตน เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี
การชี้แจงตัวชี้วัดของหน่วยงาน
ผลการดำเนินการ PMQA หมวด 6 กรมอนามัย
การวิเคราะห์การถดถอย และสหสัมพันธ์อย่างง่าย
ร้อยละของการรับรู้เรื่องการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ดร.ณัฐวัฒน์ นิปกากร, DMS. Excellence Training Institution
การสร้างการเรียนรู้การใช้ SPA in Action เพื่อจุดประกายการพัฒนาคุณภาพ
Roadmap AUNQA หลักสูตร
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based รอบที่ 1
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based
ประชุมหารือการตามจ่าย เงินกันและOP Refer
แผนกลยุทธ์ กรมชลประทาน
แนวทางการดำเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ปีการศึกษา 2560
หนังสือรายงานผลการประเมิน ITA ต่อนายกรัฐมนตรี(ต่อ)
ชี้แจงการตอบคำถาม/ ค่าคะแนน แบบสำรวจ Evidence - based ปีงบประมาณ พ. ศ
ITA Integrity and Transparency Assessment
คุณค่าของระบบนิเวศต่อภาคธุรกิจ (The corporate ecosystem valuation)
SEA Strategic Environmental Assessment E S A
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลด้านคุณธรรมและความโปร่งใส
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ถ่ายทอดเกณฑ์ และแนวทางการประเมิน การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงประสิทธิภาพ/ คุณภาพการทำงาน
รายงานการประเมินตนเอง
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
Function Based ตัวชี้วัดที่ 17
กลุ่มควบคุมโรงฆ่าสัตว์ภายในประเทศ
หลักเกณฑ์การประเมินผลงานวิชาการ กลุ่มงานประเมินบุคคลและวิชาการ
กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 25๖๑
การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและค่าตอบแทนเชิงกลยุทธ์
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานของภาครัฐ
การฝึกปฏิบัติตรวจประเมินองค์กรด้วยตนเอง ตามแนวทาง SEPA สำหรับปี 2554
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
การพัฒนาเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
แนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice)
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
ด้านผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ในด้านเรียนการสอน
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
ด้านการประกันคุณภาพการศึกษา
การดำเนินงานตามนโยบายปฏิรูป ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
จำนวนรายการยาเฉลี่ยต่อผู้ป่วยที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอก แยกตามภาควิชา (ไม่รวม ER) สูตรการคำนวณ = จำนวนรายการยาทั้งหมดที่สั่งจ่ายให้แก่ผู้ป่วยนอก.
ตัวชี้วัด 2.4 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน
Introduction to Structured System Analysis and Design
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
การรวบรวมข้อมูลข่าวสารการตลาด (The Marketing Information Gathering)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ. 2559-2563 การประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ (พ.ศ. 2559-2563 นางธิติกาญจน์ กุลพัฒน์เศรษฐ ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผล สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดพะเยา

หลักการ แนวคิด และทิศทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่ 1. การประเมินใช้ รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นข้อมูลพื้นฐาน 2. ผู้ประเมินมีจรรยาบรรณการประเมินแบบเรียบง่าย 3. ไม่เน้นเอกสาร เน้นสภาพจริง งดการต้อนรับแบบอลังการและสร้างภาพ เพื่อไม่ต้องการเพิ่มภาระให้กับสถานศึกษา 4. เน้นการประเมินที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา และเป็นการประเมิน เชิงคุณภาพ 5. การประเมินรอบสี่ ไม่มีตัวบ่งชี้มีแต่ประเด็นการพิจารณาสอดคล้องกับ ประกันภายในของสถานศึกษา

จากวิสัยทัศน์ เชื่อมโยงสู่การประเมิน จากวิสัยทัศน์ เชื่อมโยงสู่การประเมิน 1. เรียบง่ายด้วยใจ 1. การบริหารองค์กรภายใน 2. การประเมินเรียบง่ายโดยใช้ SAR ของสถานศึกษา 3. จรรยาบรรณ และวัฒนธรรมการประเมิน 2. พอเพียงต่อความต้องการ ระบบการประเมินคุณภาพภายนอก ◊ ด้าน ◊ องค์ประกอบ พอเพียง ◊ ประเด็นพิจารณา 3. จรรยาบรรณ และวัฒนธรรมการประเมิน

จากวิสัยทัศน์ เชื่อมโยงสู่การประเมิน จากวิสัยทัศน์ เชื่อมโยงสู่การประเมิน 3. ลดงานด้วยเทคโนโลยี (AQA) 1. ลดเอกสาร 2. เชื่อมโยงฐานข้อมูลอัจฉริย (Dig Data + Learner Analytics) ยืดหยุ่นกับทุกคน ทุกองค์กร ทุกเวลา ต่อยอดจาก การประกันคุณภาพภายใน 4. ยืดหยุ่นทุกคน 5. เชื่อมโยงทุกอย่าง เชื่อมโยงองค์กร บุคคล ทรัพยากรทั้งภายในสมศ. และ องค์กรที่เกี่ยวข้องด้วยหลักธรรมาภิบาลและเทคโนโลยี

จากวิสัยทัศน์ เชื่อมโยงสู่การประเมิน จากวิสัยทัศน์ เชื่อมโยงสู่การประเมิน 6. ร่วมมือสู่มาตรฐาน การศึกษา ร่วมพัฒนากับหน่วยงานต้นสังกัด สถานบัน ชุมชน 7. อย่างเป็นสุขและยั่งยืน ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องได้รับความพึงพอใจ สถานศึกษา มีคุณภาพ

จุดเปลี่ยนการประเมินคุณภาพภายนอก รอบสี่ 1. ลดเอกสาร เพิ่มเทคโนโลยี เชื่อมโยงสอดคล้องกับการประกันภายใน 2. ประเมินเชิงคุณภาพ (Holistic Assessment) โดยผู้เชี่ยวชาญ (Expert judgment) 3. ประเมินโดย T-Based Assessment 4. การประเมินคุณภาพตั้งอยู่บนเกณฑ์และมาตรฐานการศึกษาของ การประกันคุณภาพภายใน

คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายนอก ประกอบด้วยบุคคล 3 ประเภท ดังนี้ 1. ผู้ทรงคุณวุฒิจากสมศ. 2. ผู้แทนจากหน่วยงานต้นสังกัด 3. ผู้บริหารสถานศึกษาที่เป็นอิสระจากการประเมิน

หลักเกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ มีระดับคุณภาพ ๕ ระดับ ในแต่ละระดับคุณภาพเป็นการตัดสินเชิงคุณภาพที่สะท้อนผล การดำเนินงานที่เกิดขึ้น ดังนี้ ดีเยี่ยม ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง

การประเมินระดับสถานศึกษา (Institution) ไม่มีการ “รับรอง” หรือ “ไม่รับรอง” สถานศึกษา แต่เป็นการประเมินเพื่อพัฒนา

วิธีดำเนินการประเมินคุณภาพภายนอก ก่อนประเมิน ประกาศรายชื่อสถานศึกษา ที่จะได้รับการประเมิน จัดคณะกรรมการประเมินตามเกณฑ์ที่สมศ.กำหนดผ่านระบบ AQA เสนอผอ.สมศ.เห็นชอบรายชื่อผู้ประเมินและสถานศึกษาที่จะประเมิน ระหว่างประเมิน คณะผู้ประเมินดำเนินการประเมินตามกระบวนการที่สมศ.กำหนด (วิธีการที่หลากหลาย) และรายงานด้วยวาจา ขั้น per-Analysis วิเคราะห์ SAR สถานศึกษา Non visit, Partial, Full visit สมศ. ประกาศรายชื่อสถานศึกษาและคณะ ผู้ประเมินภายนอก

วิธีดำเนินการประเมินคุณภาพภายนอก หลังประเมิน คณะผู้ประเมินสรุปผลการประเมินตรวจสอบคุณภาพ รายงาน (e-Report) แล้วนำส่งพร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้อง (e-Document) เข้าระบบ AQA สถานศึกษาตรวจสอบ (ร่าง) รายงานผลการประเมิน และประเมินคณะผู้ประเมินผ่านระบบ AQA

ระยะที่ ๑ สมศ. ระยะที่ ๒ ต้นสังกัด ประเมินเพื่อพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ติดตาม เพื่อพัฒนา และยกระดับ คุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา เป้าหมายการประเมิน

3 Levels of i i1 : Internal Correction แก้ไขปัญหาตนเอง i2 : Improvement การปรับปรุงให้ดีขึ้น i3 : Innovation นวัตกรรม

ขอบคุณ และสวัสดีค่ะ