อุปกรณ์จับยึด และปะเก็นกันรั่ว

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
อยู่ใกล้กันมากขึ้นและมีความบางของวงมากขึ้น B)
Advertisements

โครงสร้างทางอิเล็กตรอนของโมเลกุล และชนิดของ Transitions
a Specific rotation polarimeter a [a] = c.l Sample cell t temperature
แบบฝึกหัดท้ายบทที่ 2 1. ในแต่คู่ต่อไปนี้ ไออนใดมีขนาดใหญ่กว่าและทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ก. N3- and F- ข. Mg2+ and Ca2+ ค. Fe2+ and Fe3+ ง. K+ and Li+
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
ภาพรวม ระบบการรับรองคุณภาพผลิตภัณฑ์ ของประเทศญี่ปุ่น
โมเมนตัมเชิงมุม เมื่ออนุภาคเคลื่อนที่ โดยมีจุดตรึงเป็นจุดอ้างอิง จะมีโมเมนตัมเชิงมุม โดยโมเมนตัมเชิงมุมหาได้ตามสมการ ต่อไปนี้ มีทิศเดียวกับ มีทิศเดียวกับ.
การทดลองที่ 9 การศึกษาจลนพลศาสตร์ของปฏิกิริยาสำหรับการวิเคราะห์ระดับแอลกอฮอล์ จากลมหายใจ (A Kinetic Study of “Breathalyzer” Reaction )
หน่วยที่ 6 การแทรกสอดของคลื่นแสง
UMD™ Universal Media Disc. Born of UMD™  UMD (Universal Media Disc) แจ้งเกิดพร้อมเครื่องเล่นเกมพกพา PSP เมื่อกลางปี 2004 โดยบริษัท SONY เป็นผู้คิดค้นขึ้น.
Protein Isolation and Amino acid sequencing
การเกิดผลึกและสเตอริโอไอโซเมอร์ในเทอร์โมพลาสติก
กระบวนการคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
สถานการณ์โรคระบาดอำเภอเมืองสตูล
ประกาศคณะกรรมการควบคุมมลพิษ เรื่อง วิธีตรวจวัดค่าความเข้มกลิ่นโดยวิธีการวิเคราะห์กลิ่นด้วยการดม (sensory test) และการขึ้นบัญชีรายชื่อผู้ทดสอบกลิ่นของกรมควบคุมมลพิษ.
(สถิตยศาสตร์วิศวกรรม)
Section-2 Product Design for Environment
ความหมายของเครื่องปรับอากาศ
การจุดบั้งไฟ การปล่อยโคมลอย. ข้อมูล Date and time Place Radius High Name, Position, Telephone.
ตราสัญลักษณ์ผลิตภัณฑ์มาตรฐาน จังหวัดนครราชสีมา
การถ่ายภาพ 1 หลักการทางฟิสิกส์เกี่ยวกับระบบแสงของกล้องถ่ายรูปในกรณีทั่วไป น้ำยาเคมีบนฟิล์มและระบบความไวของฟิล์ม กล้องถ่ายรูป เอ็กซ์โพสเซอร์
ทัศนศาสตร์กายภาพ การแทรกสอด (Interference / superposition)
การตรวจซ่อม ชุดคลัตช์รถยนต์
Stepper motor.
DC motor.
การบันทึกข้อมูล สุรพล บุญลือ ภาควิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร การศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี ม. เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ตราสัญลักษณ์ผลิตภัณฑ์มาตรฐาน จังหวัดนครราชสีมา
Hardware แนะนำ วิชา MIS อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล.
คุณสมบัติ Product Code:BX80637I53550 Generation : Generation 3 ชื่อซีพียู : Core i ความเร็ว : 3.30 GHz แพลตฟอร์ม : LGA 1155 แคช : 6 MB SC เทคโนโลยี
MECH 0230 MECHANICAL DRAWING
คร. อนุรัตน์ วิศิษฏสรอรรถ เนคเทค Micromachined Diamond microtip with nano-size apex r 2 = 5nm SEM pictures of arrays of diamond microtip with nano-size.
การกำกับดูแล ตนเองที่ดี สรวิชญ์ เปรมชื่น ที่ปรึกษา สมาคมส่งเสริม ผู้ประกอบการวิสาหกิจ.
เชื้อเพลิงและการเผาไหม้
ผู้อำนวยการกลุ่มงานยุทธศาสตร์ความปลอดภัยแรงงาน สำนักความปลอดภัยแรงงาน
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
ที่มาของระบบคุณภาพ ISO 9000
ของแข็ง ของเหลว แก๊ส อาจารย์กนกพร บุญนวน.
ฟิสิกส์ (Physics) By Aueanuch Peankhuntod.
มาตรฐานบังคับ (Official Standard)
Chapter 4 ข้อความสั่ง เลือกทำ.
Electrical Wiring & Cable
ความรู้เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ และ การติดตั้งอุปกรณ์ตกแต่งรถยนต์
เครื่องวัดไฟฟ้าแบบชี้ค่า (เชิงอนุมาน)
Physics4 s32204 ElectroMagnetic
สสารและสมบัติของสาร Witchuda Pasom.
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
วันวัยหมดระดูโลก 2014 วิธีการป้องกันโรค หลังวัยหมดระดู
กล้องจุลทรรศน์และการย้อมสี
การสร้าง in vivo Transcript จากโคลน cDNA เต็มสายของ เชื้อไวรัสใบด่างจุดวงแหวนมะละกอ (PRSV-P) สายพันธุ์ไทย (Construction of in vivo Full Length Transcripts.
กลศาสตร์ของไหล Fluid Mechanics
ความเค้นและความเครียด
ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมโตโยต้า
โดย นายอัษฎาวุธ วัยเจริญ แผนกวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง
การจำแนกสารรอบตัว โดย ครูวนิดา สวนดอกไม้
ความยืดหยุ่น Elasticity
ฟิสิกส์ ว ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 5
สมบัติเชิงกลของสสาร Mechanical Property of Matter
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
งานและพลังงาน (Work and Energy) Krunarong Bungboraphetwittaya.
งาน (Work) คือ การออกแรงกระท าต่อวัตถุ แล้ววัตถุ
ศูนย์การศึกษาและฝึกอบรมโตโยต้า
แสง และการมองเห็น.
การสังเคราะห์ด้วยแสง
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต นำเสนอโดย ผศ.ดร.สมาน แก้วไวยุทธ.
ความดัน (Pressure).
การสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกนาม เอกนามคล้าย การบวกลบเอกนาม การคูณและหารเอกนาม
เลขออกซิเดชัน 5. ธาตุออกซิเจนในสารประกอบทั่วไปจะมีเลขออกซิเดชัน -2
Prolonged expression of TrkB at the cell surface induced by neuronal activity depends on the NMDA receptor and CaMKII. Prolonged expression of TrkB at.
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อุปกรณ์จับยึด และปะเก็นกันรั่ว หน่วยที่ 1 อุปกรณ์จับยึด และปะเก็นกันรั่ว

จุดมุ่งหมายของหน่วยเรียน 1. อธิบายสาระสำคัญประจำหน่วยได้ 2. อธิบายวิธีการผลิตสกรูและคุณภาพสกรูได้ 3. อธิบายมาตรฐานหัวสกรูและหัววัดเกลียวได้ 4. อธิบายประเภทนอตล็อกและแหวนล็อกกันคลายเองได้ 5. อธิบายประเภทปะเก็นแผ่นและปะเก็นเหลวได้ 6. เพื่อให้มีกิจนิสัยที่ดีในการทำงาน รับผิดชอบ ประณีต รอบคอบ ตรงต่อเวลา สะอาด ปลอดภัยและรักษาสภาพแวดล้อม

สตัต นอต สกรู สกรูหัว 6 เหลี่ยม ตาปูควงหัวกรวยนูน สกรูหัวฝัง สกรูมีแหวนล็อกในตัว สกรูพิเศษ เช่น สกรูฝาครอบแบริ่ง สกรูหัว 6 เหลี่ยม ตาปูควงหัวกรวยนูน สกรูไม่มีหัว

เครื่องหมายคุณภาพสกรูระบบเมตริก 1. เครื่องหมายคุณภาพเมตริก 2. เครื่องหมายหัวสกรูเมตริกมาตรฐานญี่ปุ่น (JIS)

มาตรฐานหัวสกรูและหวีวัดเกลียว 2. หัวสกรูนิ้วอเมริกัน 3. หัวสกรูนิ้วอังกฤษ 4. หวีวัดเกลียว 11/16” 1. หัวสกรูเมตริก 17 มม.

ปิ้นและแหวนล็อกกันคลาย แหวนล็อกแบบต่าง ๆ ปิ้นและแหวนล็อกกันคลาย ปิ้น แหวนล็อกฟันนอก แหวนล็อกฟันนอก แหวนล็อก 2 ปาก นอตสปริงล็อก แผ่นเหล็กล็อก นอตล็อกในตัวและนอตสปริง พับผิด พับถูก

กิจกรรมที่ 1.1 จงเขียนชื่อและการใช้งานของสกรูลักษณะต่าง ๆ ในตารางต่อไปนี้ ลักษณะ ชื่อ สำหรับการใช้งาน สกรูหัว 6 เหลี่ยม ใช้จับยึดงานได้แน่นดีและแข็งแรง ………………………………. ……………………………………………………..

กิจกรรมที่ 1.1 ลักษณะ ชื่อ สำหรับการใช้งาน ลักษณะ ชื่อ สำหรับการใช้งาน ………………………………. ……………………………………………………..

กิจกรรมที่ 1.2 ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มทดสอบความแข็งแรงของสกรู ขันสกรูร้อยชิ้นงานด้วยประแจทอร์ก แล้วเขียน กราฟผลการทดลอง 1. แรงขันแน่นขึ้นอยู่กับขนาดสกรู ขนาดสกรู M6 M8 M10 พิกัดขันแน่น Nm 11 30 54 สกรูคุณภาพสูง สกรูคุณภาพปานกลาง สกรูคุณภาพต่ำ Nm Nm 50 50 40 40 30 30 20 20 10 10 แรงขันแน่น

กิจกรรมที่ 1.2 2. แรงขันแน่นขึ้นอยู่กับคุณภาพสกรู 2. แรงขันแน่นขึ้นอยู่กับคุณภาพสกรู คุณภาพสกรูขนาด M8 5.6 (ต่ำ) 8.8 (ปานกลาง) 10.9 (สูงมาก) พิกัดขันแน่น Nm 30 40 45 ขันจนขาด ขันเพียง 1 ใน 2 ของพิกัด ขันเพียง 1 ใน 3 Nm Nm 50 50 40 40 30 30 20 20 10 10 แรงขันแน่น

กิจกรรมที่ 1.3 จงตอบคำถามการขันสกรูและการถอนสกรูขาด ดังต่อไปนี้ จงตอบคำถามการขันสกรูและการถอนสกรูขาด ดังต่อไปนี้ 1. จงเขียนคำอธิบายผลกระทบของการขันสกรูดังต่อไปนี้ 1.1 ขันแน่นเกินไป การขันแน่นเกิน อาจทำให้สกรูหรือ เกลียวขาด ………….. หรือขาด ………….. เป็นสาเหตุให้ชิ้นงาน …………...….. หรือ ………….….. ใช้งาน ………………...…...….. 1.2 ขันแน่นไม่พอ จะเป็นอันตรายต่อชิ้นส่วนเครื่องยนต์ ยิ่งกว่าการขัน …………..….. เพราะสกรู ขาด ………….. ถ้าไม่แน่น จะรู้เมื่อสกรู ………………….….. ได้เอง ...ทำให้เกิดการ ……………………………………………………..…..

กิจกรรมที่ 1.3 2. จงเขียนสาเหตุที่ทำให้สกรูขาดคารูตามภาพข้างล่าง 2. จงเขียนสาเหตุที่ทำให้สกรูขาดคารูตามภาพข้างล่าง ใช้สกรูยาวกว่าความลึกเกลียวสกรู ขันจน แน่นก็ยัง ………………….…….. สุดท้ายสกรูจึง …………………………………………………………...….. 3. จงเขียนคำอธิบายเทคนิคการถอนสกรู ขาดคารูต่อไปนี้ 1. ตอกน้ำศูนย์แล้วเจาะนำรูด้วย 2. เจาะคว้านรูด้วยดอกสว่านที่ 3. ตอกเหล็กถอนเข้าให้สุดแล้วใช้ ………………….……………………..….. ลำตัวเท่า …………………...…….. ………………….……………………….…..

กิจกรรมที่ 1.4 จงเขียนคำแนะนำการถอนสกรูขาดออกจากชิ้นงาน เหล็กส่ง สกรูหัก คีมล็อก 1. ถอนด้วยเหล็กส่ง ทำอย่างไร สกรูขนาดใหญ่ที่ไม่ติดแน่นนักใช้เหล็กส่งตอกขอบ ให้หมุนออกทีละน้อยพอคีมหมุนได้ …………….………. …………….……………………………………………………………...…. ข้อควรจำ สกรูหักคาเสื้อสูบที่ถอดไม่ออกให้ใช้ลวดเชื่อม ไฟฟ้าเชื่อมต่อให้ …………….………………………...…. 2. ถอนด้วยคีมล็อก ทำอย่างไร สกรูที่หักคารู แต่โผล่ขึ้นพ้นรูหรือยาวพอที่ใช้คีม หมุนออกได้ให้ใช้ …………….………………………...……….

กิจกรรมที่ 1.4 3. ถอนด้วยเหล็กหลายเหลี่ยม ทำอย่างไร 3. ถอนด้วยเหล็กหลายเหลี่ยม ทำอย่างไร ให้เจาะเกลียวที่หักคารูด้วยดอกสว่านขนาด …………….………. นำด้วยปลอกนำให้ตรงศูนย์ แล้วเลือกดอกสว่านที่พอเหมาะกับเหล็กถอน เกลียวเจาะลงไปอีกครั้ง จึง …………..….………… …………….…………………………………………………….…. 4. ถอนด้วยเหล็กถอนแบบเกลียวซ้าย ทำอย่างไร ตัวถอนที่ทำด้วยเหล็กผสมเหนียวพิเศษ ใช้ ถอนสกรูที่หักคารูแบบเกลียวซ้าย โดยใช้ ดอกสว่านเจาะรูนำก่อนแล้วใช้ …………….….… …………….……………………………………..……………....

ปะเก็นเหลว 1. ลักษณะหลอดปะเก็นเหลว 2. ลักษณะปะเก็นเหลวถูกอัด 1. ลักษณะหลอดปะเก็นเหลว 2. ลักษณะปะเก็นเหลวถูกอัด แรงยึดของนอตสกรู แรงอัด ภายใน ชิ้นส่วนเครื่องยนต์ ปะเก็น เหลว ชิ้นส่วนเครื่องยนต์ 3. อ่างน้ำมันเครื่องกันรั่วด้วยปะเก็นเหลว 4. เสื้อเกียร์กันรั่วด้วยปะเก็นเหลว ทาปะเก็น

กิจกรรมที่ 1.5 เรื่องอุปกรณ์จับยึดและปะเก็นกันรั่ว ตอนที่ 1 จงเติมข้อความในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. สตัดมีลักษณะอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. การผลิตนอตสกรูอุตสาหกรรมใช้วิธีผลิตอย่างไร เพราะอะไร 3. การเรียกชื่อสกรู 2 ตัว ต่อไปนี้หมายถึงอะไร M 12 ……………………………………………………………………………………………………. M 16 x 1 ……………………………………………………………………………………………………. 4. เครื่องมือตรวจสอบเกลียวคืออะไร 5. ทำไมปะเก็นอ่างน้ำมันเครื่องที่เป็นยางจึงไม่บวม

กิจกรรมที่ 1.5 ตอนที่ 2 จงทำเครื่องหมายถูก ( ) หน้าข้อย่อยที่ถูกที่สุด ตอนที่ 2 จงทำเครื่องหมายถูก ( ) หน้าข้อย่อยที่ถูกที่สุด 1. ทำไม ไม่แนะนำ ให้ผลิตสกรูใช้เอง ก. ต้นทุนการผลิตต่ำ ข. ต้นทุนการผลิตสูง ค. ขาดทักษะ ง. ขาดเครื่องจักร 2. เกลียวที่ใช้มากที่สุดเป็นเกลียวอะไร ก. เกลียวหยาบ ข. เกลียวละเอียด ค. เกลียวซ้าย ง. เกลียวขวา 3. สกรูทั่วไปเป็นหัวอะไร ก. หัว 4 เหลี่ยม ค. หัว 6 เหลี่ยม ค. หัว 8 เหลี่ยม ง. หัว 9 เหลี่ยม 4. หัวสกรูมีเครื่องหมาย 4T เป็นมาตรฐานอะไร ก. อังกฤษ ค. อเมริกัน ค. เยอรมัน ง. ญี่ปุ่น 5. ขนาดปากประแจเมตริกเท่ากับอะไร ก. ความกว้างเส้นทแยงหัวสกรู ข. ความกว้างเส้นขนาดหัวสกรู ค. ขนาดเกลียวสกรู ง. ขนาดตัวสกรู 6. ขนาดปากประแจนิ้วอังกฤษเท่ากับอะไร 7. ทำไมชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหวกันคลายด้วย ปิ้นร้อย ก. กันคลายได้ดีที่สุด ข. กันสะเทือนได้ ค. กันหลุดได้ ง. กันคลายได้นาน

กิจกรรมที่ 1.5 8. สกรูที่ใช้งานเครื่องยนต์มากคือแบบใด 8. สกรูที่ใช้งานเครื่องยนต์มากคือแบบใด ก. หัว 4 เหลี่ยม ข. หัว 6 เหลี่ยม ค. หัว 8 เหลี่ยม ง. ถูกทุกข้อ 9. ทำไม ไม่ใช้ สกรูงานช่างยนต์ในงานไม้ ก. ไม่มีความแข็งแรงพอ ข. ไม่มีความยาวพอเหมาะ ค. ไม่มีเหลี่ยมกันหมุนตาม ง. ไม่มีความสวยงาม 10. การขันเกลียวให้แน่นหมุนอย่างไร ก. หมุนตามเข็มนาฬิกา ข. หมุนทวนเข็มนาฬิกา ค. หมุนด้วยประแจปากตาย ง. หมุนด้วยประแจแหวน 11. ปะเก็นทนความร้อนมีใช้งานที่ใด ก. ท่อร่วมไอดี ข. ท่อร่วมไอเสีย ค. ท่อน้ำเทอร์โมสตัด ง. ท่อน้ำมันเครื่อง 12. ปะเก็นเหลวใช้งานได้ที่ใด ก. ผิวเรียบ ข. ผิวไม่เรียบ ค. ผิวหยาบ ง. ทุกผิว ตอนที่ 3 ตอบคำถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. อุปกรณ์จับยึดเครื่องยนต์หมายถึงอะไร 2. หวีวัดเกลียวใช้สำหรับอะไร ใช้งานอย่างไร 3. นอตล็อกในตัวกันคลายได้อย่างไร 4. ปะเก็นในงานเครื่องยนต์ทำหน้าที่อะไร 5. จงเขียนคุณลักษณะปะเก็นเหลวป้องกันการรั่วซึมมา 4 ข้อ