แผนยุทธศาสตร์และการบริหารโครงการ โดย นางสาววรรณี วุฒิฤทธากุล หัวหน้ากลุ่มงานแผนงานยุทธศาสตร์ กองวิชาการและแผนงาน กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง
กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) “มั่นคง” ความมั่นคง 1 2 3 4 5 6 การสร้าง ความสามารถ ในการแข่งขัน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และเท่าเทียมกัน ทางสังคม การสร้าง การเติบโต บนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตร ต่อสิ่งแวดล้อม การปรับสมดุลและพัฒนาระบบ การบริหารจัดการภาครัฐ วิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” “ยั่งยืน” “มั่งคั่ง” กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง
วิสัยทัศน์ : สู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ความมั่งคั่ง ความยั่งยืน การมีความมั่นคงปลอดภัยจากภัยและการ เปลี่ยนแปลงทั้งภายในประเทศและภายนอกประเทศใน ทุกระดับทั้งระดับประเทศ สังคม ชุมชน ครัวเรือน และ ปัจเจกบุคคล ความมั่นคงในทุกมิติ ทั้งมิติเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และการเมือง ประเทศมีความมั่นคงในเอกราชและ อธิปไตยมีสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ที่ เข้มแข็งเป็นศูนย์กลางและเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจของ ประชาชน ระบบการเมืองที่มั่นคงเป็นกลไกที่นำไปสู่การ บริหารประเทศที่ต่อเนื่องและโปร่งใสตามหลักธรรมาภิ บาล สังคมมีความปรองดองและความสามัคคี สามารถ ผนึกกำลังเพื่อพัฒนาประเทศ ชุมชนมีความเข้มแข็ง ครอบครัวมีความอบอุ่น ความมั่นคงของอาหาร พลังงาน และน้ำ ประชาชนมีความมั่นคงในชีวิต มีงานและรายได้ที่มั่นคง พอเพียงกับการดำรงชีวิต มีที่อยู่อาศัยและความปลอดภัย ในชีวิตทรัพย์สิน ประเทศไทยมีการขยายตัวของเศรษฐกิจ อย่างต่อเนื่องจนเข้าสู่กลุ่มประเทศรายได้สูง ความเหลื่อมล้ำของการพัฒนาลดลง ประชากรได้รับ ผลประโยชน์จากการพัฒนาอย่างเท่าเทียมกันมาก ขึ้น เศรษฐกิจมีความสามารถในการแข่งขัน สูง สามารถสร้างรายได้ทั้งจากภายในและภายนอก ประเทศ สร้างฐานเศรษฐกิจและสังคมแห่งอนาคต และเป็นจุดสำคัญของการเชื่อมโยงในภูมิภาคทั้งการ คมนาคมขนส่ง การผลิต การค้า การลงทุน และการ ทำธุรกิจ มีบทบาทสำคัญในระดับภูมิภาคและระดับ โลก เกิดสายสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการค้าอย่าง มีพลัง ความสมบูรณ์ในทุนที่จะสามารถสร้าง การพัฒนาต่อเนื่อง ได้แก่ ทุนมนุษย์ ทุนทาง ปัญญาทุนทางการเงิน ทุนที่เป็นเครื่องมือเครื่องจักร ทุนทางสังคม และทุนทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้ และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจที่ไม่ใช้ ทรัพยากรธรรมชาติเกินพอดี ไม่สร้างมลภาวะต่อ สิ่งแวดล้อมจนเกินความสามารถในการรองรับและ เยียวยาของระบบนิเวศน์ การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม และสอดคล้องกับกฎระเบียบของ ประชาคมโลกซึ่งเป็นที่ยอมรับร่วมกัน ความอุดม สมบูรณ์ขอทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมี คุณภาพดีขึ้น คนมีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความ เอื้ออาทร เสียสละเพื่อผลประโยชน์ส่วนรวม มุ่งประโยชน์ส่วนรวมอย่างยั่งยืน ให้ ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกภาค ส่วนในสังคมยึดถือและปฏิบัติตามปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาในระดับอย่างสมดุล มี เสถียรภาพ และยั่งยืน ที่มา : nesdb.go.th
อนาคตประเทศไทย ปี 2579 : ร่วมมือกันขับเคลื่อนประเทศให้ก้าวไปสู่.......... เศรษฐกิจและสังคมไทย มีการพัฒนาอย่างมั่นคงและยั่งยืน เศรษฐกิจและสังคมพัฒนา อย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สังคมไทยเป็นสังคมที่เป็นธรรม มีความเหลื่อมล้ำน้อย ระบบการบริหารภาครัฐมีประสิทธิภาพ ทันสมัย รับผิดชอบ โปร่งใส ตรวจสอบได้และประชาชนมีส่วนร่วม ระบบเศรษฐกิจมีความเป็นชาติการค้า บนฐานการขยายตัวของการค้าส่งค้าปลีกและเศรษฐกิจดิจิทัลที่เข้มข้น คนไทยในอนาคต มีศักยภาพในการร่วมกันพัฒนาประเทศ สามารถปรับตัวรองรับบริบทการพัฒนาในอนาคต ที่มา : nesdb.go.th
กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 1. ด้านความมั่นคง 1 เสริมสร้างความมั่นคงของสถาบันหลักและการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 2 ปฏิรูปกลไกการบริหารประเทศและพัฒนาความมั่นคงทางการเมือง ขจัดคอร์รัปชั่น สร้างความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม 3 การรักษาความมั่นคงภายในและความสงบเรียบร้อยภายใน/การบริหารจัดการความมั่นคงชายแดนและชายฝั่งทะเล 4 การพัฒนาระบบ กลไก มาตรการและความร่วมมือระหว่าง ประเทศทุกระดับ การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกกำลังป้องกันประเทศ/การรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ /สร้างความร่วมมือกับ ประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศ 5 การพัฒนาระบบการเตรียมพร้อมแห่งชาติและระบบบริหารจัดการภัยพิบัติ/รักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 6 7 การปรับกระบวนการทำงานของกลไกที่เกี่ยวข้องจากแนวดิ่งสู่แนวระนาบมากขึ้น กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง
2. ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 1 การพัฒนาสมรรถนะทางเศรษฐกิจ 2 การพัฒนาภาคการผลิตและบริการ บนฐานการพัฒนานวัตกรรมและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 3 การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจชุมชน 4 การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษและเมือง การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ด้านการขนส่ง พลังงาน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร และการวิจัยและพัฒนา 5 6 การเชื่อมโยงกับภูมิภาคและเศรษฐกิจโลก กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง
3. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง 1 การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิตให้สนับสนุนการเจริญเติบโตของประเทศ 2 การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ เท่าเทียม และทั่วถึง 3 การปลูกฝังระเบียบวินัย คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ 4 การเสริมสร้างให้ทุกคนมีสุขภาวะที่ดี การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย เสริมสร้างบทบาทของสถาบันครอบครัวในการบ่มเพาะจิตใจ ให้เข้มแข็ง 5 กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง
4. ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาค และเท่าเทียมกันทางสังคม 1 การสร้างความมั่นคงและการลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ 2 การพัฒนาระบบบริการและระบบบริหารจัดการสุขภาพ 3 การสร้างสภาพแวดล้อมและนวัตกรรมที่เอื้อต่อการดำรงชีวิตในสังคมสูงวัย 4 การสร้างความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคม ทุนทางวัฒนธรรมและความเข้มแข็งของชุมชน การพัฒนาการสื่อสารมวลชนให้เป็นกลไกในการสนับสนุนการพัฒนา 5 กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง
5. ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1 การจัดระบบอนุรักษ์ ฟื้นฟู และป้องกันการทำลายทรัพยากรธรรมชาติ 2 การวางระบบบริหารจัดการน้ำให้มีประสิทธิภาพทั้ง 25 ลุ่มน้ำ เน้นการปรับระบบการบริหารจัดการอุทกภัยอย่างบูรณาการ 3 การพัฒนาและใช้พลังงานที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 4 การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ และเมืองที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การพัฒนาเสริมสร้างศักยภาพการผนึกกำลังป้องกันประเทศ/การรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ /สร้างความร่วมมือกับ ประเทศเพื่อนบ้านและมิตรประเทศ 5 6 การใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์และนโยบายการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง
6. ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ การบริหารจัดการภาครัฐ 1 การปรับปรุงโครงสร้าง บทบาท ภารกิจ ของหน่วยงานภาครัฐให้มีขนาดที่เหมาะสม 2 การวางระบบบริหารราชการแบบบูรณาการ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนและพัฒนาบุคลากรภาครัฐ 4 การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ การปรับปรุงกฎหมายและระเบียบต่างๆ ให้ทันสมัย เป็นธรรม และเป็นสากล 5 6 การพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ 7 การปรับปรุงการบริหารจัดการรายได้และรายจ่ายภาครัฐ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) รูปภาพจาก http://www.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1431614976 กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง
หลักการสำคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ปรับรากฐานเพื่อเป็นคานงัด สู่การต่อยอด การพัฒนา เพื่อให้เกิดการบูรณาการการพัฒนาในทุกมิติอย่างสมเหตุสมผล มีความพอประมาณ และมีระบบคุ้มกันและการบริหารจัดการความเสี่ยงที่ดี หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง คนไทยให้เป็นพลังสำคัญในการพัฒนาประเทศ โดยมีลักษณะสำคัญ 5 ประการได้แก่ มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน มีทักษะในการคิดเชิงสังเคราะห์ มีความคิดสร้างสรรค์ มีความเคารพในความแตกต่าง และมีจุดยืนทางจริยธรรม คนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา วิสัยทัศน์ “ประเทศไทยมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” คติพจน์ประจำชาติ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” วิสัยทัศน์ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี นำยุทธศาสตร์ 20 ปีมาเป็นกรอบในการกำหนดเป้าหมายที่จะบรรลุใน 5 ปีแรกและเป้าหมายในระดับย่อยลงมา โดยที่เป้าหมายและตัวชี้วัดในด้านต่างๆ มีความสอดคล้องกับกรอบเป้าหมายที่ยั่งยืน(SDGs) เป้าหมายอนาคตประเทศไทย ปี 2479 สร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่มีความครอบคลุมทั่วถึงเพื่อเพิ่มขยายฐานกลุ่มประชากรชนชั้นกลางให้กว้างขึ้น การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่ลดความเหลื่อมล้ำ และขับเคลื่อนการเจริญเติบโตจากการเพิ่มผลผลิตบนฐานของการใช้ภูมิปัญญาและนวัตกรรม ใช้กลไกประชารัฐในการบูรณาการการพัฒนาที่มีลำดับความสำคัญสูง กำหนดแผนงาน/โครงการสำคัญที่จะตอบสนองต่อเป้าหมายการพัฒนา รวมถึงการกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดที่หลากหลายมิติมากยิ่งขึ้น หลักการนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่เป็นเป้าหมายระยะยาว
* จุดเน้นและประเด็นพัฒนาหลักในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 * ด้านการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและนวัตกรรม ด้านกำลังคนและการเสริมสร้างศักยภาพของประชากรในทุกช่วงวัย เตรียมความพร้อม ความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำ ความเชื่อมโยงระหว่างภาคการผลิต ขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจบริการและการท่องเที่ยวที่มีศักยภาพให้เติบโตและสนับสนุนภาคการผลิต เน้นการปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ความมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและยกระดับคุณภาพสิ่งแวดล้อมการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศให้เข้มข้นและส่งผลต่อการพัฒนาอย่างเต็มที่ การสร้าง นวัตกรรมและการนำมาใช้เป็นปัจจัยขับเคลื่อนการพัฒนาในทุกมิติเพื่อยกระดับศักยภาพของประเทศในทุกด้าน วิสาหกิจขนาดย่อย ขนาดเล็กและขนาดกลาง วิสาหกิจชุมชน และวิสาหกิจเพื่อสังคม โครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิสติกส์ของประเทศ เพื่อขยายขีดความสามารถและพัฒนาคุณภาพการให้บริการเพื่อรองรับการขยายตัวของเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจหลักและส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของทุกกลุ่มในสังคม ภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ การพัฒนา
* จุดเน้นและประเด็นพัฒนาหลักในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 * (ต่อ) การปรับ โครงสร้างการผลิตและการสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจในแต่ละช่วงของห่วงโซ่มูลค่า การปรับระบบการผลิตการเกษตรให้สอดคล้องกับพันธกรณีในด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและศักยภาพของพื้นที่ ภาคการเงินของไทยให้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและให้สามารถแข่งขันได้ สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจกระแสใหม่ การลงทุนไทยในต่างประเทศ (Outward Investment) การส่งเสริม การฟื้นฟูพื้นฐานด้านความมั่นคงที่เป็นปัจจัยสำคัญต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและการสร้าง ธรรมาภิบาลในสังคมไทย การปฏิรูปด้านการคลังและงบประมาณ และ
เป้าหมายรวม แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 คนไทยมีคุณลักษณะเป็นคนไทยที่สมบูรณ์ ความเหลื่อมล้ำทางด้านรายได้และความยากจนลดลง ระบบเศรษฐกิจมีความเข้มแข็งและแข่งขันได้ ทุนทางธรรมชาติและคุณภาพสิ่งแวดล้อมสามารถสนับสนุนการเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มีความมั่นคงทางอาหาร พลังงาน และน้ำ มีความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย สังคมปลอดภัย สามัคคี สร้างภาพลักษณ์ที่ดี และเพิ่มความเชื่อมั่นของนานาชาติต่อประเทศไทย มีระบบบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ ทันสมัย โปร่งใส ตรวจสอบได้ กระจายอำนาจและมีส่วนร่วมจากประชาชน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ประเด็นยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย 1 6 ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสังคม 2 7 ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบ โลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 3 8 ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อมเพื่อ การพัฒนาอย่างยั่งยืน 4 9 ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ที่ 10 ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความมั่นคง แห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่ง และยั่งยืน 10 5 ที่มา : nesdb.go.th
เป้าหมายสำคัญตามยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้ำในสังคม ประชากรอายุ 13 ปีขึ้นไปมีกิจกรรมการปฏิบัติตนที่สะท้อน การมีคุณธรรมจริยธรรมเพิ่มขึ้น และคดีอาญามีสัดส่วนลดลง เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 เด็กวัยเรียนและวัยรุ่นมี IQ ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 มี EQ ไม่ต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน วัยแรงงานมีความรู้และทักษะตามความต้องการของตลาดงาน ผู้เรียนในระบบทวิภาคีเพิ่มร้อยละ 30 ต่อปี ผู้ที่ได้รับการรับรองคุณวุฒิวิชาชีพและผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติเพิ่มขึ้น และผู้สูงอายุ (อายุ 60-69 ปี) มีงานทำเพิ่มขึ้น ผลคะแนนสอบ PISA ไม่ต่ำกว่า 500 มีการใช้อินเทอร์เน็ตหาความรู้เพิ่มขึ้น มีการอ่านเพิ่มขึ้นร้อยละ 85 และแรงงานเทียบโอนวุฒิ ปวช. และ ปวส.เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ต่อปี อายุ 15-79 ปีมีน้ำหนักเกินลดลง มีจำนวนการตายจากอุบัติเหตุทางถนนต่ำกว่า 18 คนต่อประชากรแสนคน การคลอดในผู้หญิงกลุ่มอายุ 15-19 ปีลดลง ในรายจ่ายสุขภาพไม่เกินร้อยละ 5 ของGDP และผู้สูงอายุอาศัยในบ้านที่มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมร้อยละ20 รายได้เฉลี่ยต่อหัวของกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่ำสุด เพิ่มขึ้นไม่ต่ำกว่าร้อยละ 15 ต่อปี ค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาค (Gini Coefficient) ด้านรายได้ลดลงเหลือ 0.41 การถือครองสินทรัพย์ทางการเงินของกลุ่มประชากรร้อยละ 40 ที่มีรายได้ต่ำสุดเพิ่มขึ้น สัดส่วนประชากรที่อยู่ใต้เส้นความยากจนลดลงเหลือร้อยละ 6.5 อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานร้อยละ 90 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาร้อยละ 50 สัดส่วนแรงงานนอกระบบที่อยู่ภายใต้ประกันสังคม (ผู้ประกันตนตามมาตรา 40) และที่เข้าร่วมกองทุนการออมแห่งชาติต่อกำลังแรงงานเพิ่มขึ้น ความแตกต่างของสัดส่วนบุคลากรทางการแพทย์ต่อประชากรระหว่างพื้นที่ลดลง และกลุ่มประชากรฐานะยากจนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมเพิ่มขึ้น ครัวเรือนเข้าถึงแหล่งเงินทุนเพิ่มขึ้น ชุมชนเข้มแข็งเพิ่มขึ้นในทุกภาค และมีมูลค่าสินค้าชุมชนเพิ่มขึ้น
เป้าหมายสำคัญตามยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ (ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขันได้อย่างยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน การขยายตัวทางเศรษฐกิจไม่ต่ำกว่าร้อยละ 5 มีรายได้ต่อหัวไม่ต่ำกว่า 8,200 ดอลลาร์ และรายได้ของรัฐบาลต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ(GDP) ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 19.0 มีการลงทุนภาครัฐไม่ต่ำกว่าร้อยละ 10 ต่อปี และภาคเอกชนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 7.5 ต่อปี มีมูลค่าการส่งออกเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 4.0 ผลิตภาพการผลิตของปัจจัยการผลิตไม่ต่ำกว่าร้อยละ 2.5 ต่อปี แรงงานไม่ต่ำกว่าร้อยละ 2.5 ต่อปี อัตราเงินเฟ้อระยะปานกลางอยู่ที่ร้อยละ 2.5 ± 1.5 หนี้สาธารณะคงค้าง ไม่เกินร้อยละ 55 ของGDP ดุลบัญชีเดินสะพัดไม่เกินร้อยละ 2 ต่อ GDP มีการลงทุนจากความร่วมมือภาครัฐและภาคเอกชนในการพัฒนาโครงการโครงสร้างพื้นฐานเฉลี่ยปีละ 47,000 ล้านบาท และอันดับความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศโดย IMD เลื่อนขึ้นไปอยู่ในกลุ่ม 1 ใน 25 ของประเทศแรก อัตราการขยายตัวของภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ (นอกเหนือจากบริการภาครัฐ) ขยายตัวเฉลี่ยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 3 , 4.5 และ 6 ต่อปี ตามลำดับ รายได้เงินสดทางการเกษตรเพิ่มเป็น 49,460 บาทต่อครัวเรือน พื้นที่การทำเกษตรกรรมยั่งยืนเพิ่มขึ้นเป็น 5,000,000 ไร่ พัฒนาสู่เมืองอุตสาหกรรมนิเวศจำนวน15 พื้นที่ มีรายได้จากการท่องเที่ยวไม่ต่ำกว่า 3 ล้านล้านบาท การแข่งขันด้านการท่องเที่ยว (The Travel Tourism Competitiveness Index: TTCI) ไม่ต่ำกว่าอันดับที่ 30 สัดส่วนGDPของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมต่อGDP ทั้งประเทศไม่น้อยกว่าร้อยละ 45 เพิ่มปริมาณการใช้บริการชาระเงินทางเล็กทรอนิกส์เป็น 200 ครั้ง/ปี/คน เพิ่มพื้นที่ป่าไม้เป็นร้อยละ 40 ของพื้นที่ประเทศ พื้นที่ป่าชายเลนเพิ่มจาก 1.43 ล้านไร่เป็น 1.58 ล้านไร่ พื้นที่ปลูกและฟื้นฟูป่าต้นน้ำเพิ่มขึ้น และแผนที่แนวเขตที่ดินของรัฐ (โครงการ One Map) ที่แล้วเสร็จมีการประกาศใช้ มีระบบประปาหมู่บ้านครบทุกหมู่บ้าน มีแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำอย่างสมดุลใน 25 ลุ่มน้ำ และพื้นที่ชลประทานเพิ่มขึ้นปีละ 350,000 ไร่ นำขยะมูลฝอยชุมชนไปใช้ประโยชน์ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 ของเสียอันตรายชุมชนที่ได้รับการการจัดไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 และกากอุตสาหกรรมอันตรายทั้งหมดเข้าสู่ระบบการจัดการที่ถูกต้อง คุณภาพน้ำของแม่น้ำสายหลักที่อยู่ในเกณฑ์ดีเพิ่มขึ้น คุณภาพอากาศในพื้นที่วิกฤติหมอกควันได้รับการแก้ไขและมีค่าอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน การปล่อยก๊าซเรือนกระจกในภาคพลังงานและคมนาคมขนส่งลดลง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 7 ของการปล่อยปกติ มีระบบพยากรณ์และเตือนภัยล่วงหน้าสำหรับภาคเกษตรและการจัดการภัยพิบัติทางธรรมชาติในพื้นที่เสี่ยงภัย มีการจัดตั้งเครือข่ายเฝ้าระวังภัยธรรมชาติ
เป้าหมายสำคัญตามยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ(ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริตประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย ความไม่มีเสถียรภาพทางการเมืองลดลง (ดัชนีสันติภาพโลกของ The Institute for Economics and Peace: IEP) จำนวนผู้เสียชีวิตจากความขัดแย้งภายในประเทศลดลง (ดัชนีสันติภาพโลก) มูลค่าความเสียหายและจำนวนการก่อเหตุร้ายที่มีมูลเหตุจากความไม่สงบลดลง รายได้ครัวเรือนเฉลี่ยต่อคนและจำนวนปีการศึกษาเฉลี่ยในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีกิจกรรมสาธารณประโยชน์ที่ประชาชนทุกศาสนาร่วมดำเนินการเพิ่มขึ้น อันดับความเสี่ยงจากการก่อการร้ายต่ำกว่าอันดับที่ ๒๐ ของโลก (ดัชนีความเสี่ยงของโลกของ WEF) อันดับความเสี่ยงจากการโจมตีด้านไซเบอร์/ต่ำกว่าอันดับที่ ๑๐ ของโลก (ดัชนีความปลอดภัยไซเบอร์ของโลกของ International Telecommunication Union: ITU) ประสิทธิภาพภาครัฐ จัดทำโดยสถาบันการจัดการนานาชาติ อยู่ในอันดับสองของอาเซียน และความยากง่ายในการดำเนินธุรกิจ จัดทำโดยธนาคารโลกอยู่ในอันดับสองของอาเซียน และสัดส่วนค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรของรัฐต่องบประมาณรายจ่ายประจำปีลดลง อปท. ได้รับรางวัลการบริหารจัดการที่ดีต่อ อปท. ทั้งหมดเพิ่มขึ้น ข้อร้องเรียนและคดีเกี่ยวกับการดำเนินงานของ อปท.ลดลง ระดับคะแนนของดัชนีการรับรู้การทุจริตสูงกว่าร้อยละ ๕๐ จำนวนคดีที่รัฐดำเนินคดีกับผู้มิได้กระทาความผิดซึ่งต้องชดเชยความเสียหายลดลง
เป้าหมายสำคัญตามยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ(ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ 7 การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบ โลจิสติกส์ ยุทธศาสตร์ที่ 8 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม การใช้พลังงานขั้นสุดท้ายต่อGDP ลดลงเป็น 7.70 พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ/พันล้านบาท ต้นทุนโลจิสติกส์ลดลงร้อยละ 12 ของGDP ต้นทุนค่าขนส่งสินค้าต่ำกว่าร้อยละ 7 ของGDP การขนส่งสินค้าทางรางเพิ่มร้อยละ 4 และการขนส่งสินค้าทางน้ำเพิ่มร้อยละ 15 ผู้ใช้ระบบรถไฟฟ้าในเขต กทม.และปริมณฑลร้อยละ15 ท่าอากาศยานในประเทศรองรับปริมาณผู้โดยสารเพิ่มขึ้นเป็น 120 และ 55 ล้านคนต่อปี ตามลำดับ ธุรกรรมการให้บริการการนำเข้าและส่งออกด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นร้อยละ 100ปริมาณสินค้าที่ผ่านเข้า-ออก ณ ด่านการค้าชายแดนไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 ต่อปี การใช้พลังงานทดแทนเพิ่มร้อยละ 17.34 การใช้ก๊าซธรรมชาติในการผลิตไฟฟ้าลดลงเป็นร้อยละ 47 หมู่บ้านมีอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงเข้าถึงมากกว่าร้อยละ 85 มีผู้ประกอบการธุรกิจดิจิทัลเพิ่ม 1,000 ราย ภาครัฐมีระบบความมั่นคงปลอดภัยทางไซเบอร์ มากกว่าร้อยละ 80 อีกทั้งครัวเรือนในเขตนครหลวงได้รับบริการน้ำร้อยละ 100และครัวเรือนในเขตภูมิภาค/เทศบาลได้รับบริการน้ำประปาร้อยละ 80 มีหมู่บ้านทั่วประเทศได้รับบริการน้ำสะอาดร้อยละ 100 อัตราน้ำสูญเสียในระบบส่งและจำหน่ายน้ำในเขตนครหลวงน้อยกว่าร้อยละ 20 และในเขตภูมิภาค/เทศบาลน้อยกว่าร้อยละ 25 บุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนาเพิ่มเป็น 25 คนต่อประชากร 10,000 คน ความสามารถการแข่งขันโครงสร้างพื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยีจัดโดย IMD อยู่ในลำดับ 1 ใน 30 ผลงานวิจัยและเทคโนโลยีพร้อมใช้ที่ถูกนำไปใช้ในการสร้างมูลค่าเชิงพาณิชย์ให้กับภาค การผลิตและบริการ และภาคธุรกิจ ร้อยละ 30 ของผลงานทั้งหมด มูลค่าการลดหย่อนภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับค่าใช้จ่ายวิจัยและพัฒนา เพิ่มขึ้นร้อยละ 20 ต่อปี นวัตกรรมทางสังคมและนวัตกรรมสำหรับผู้สูงอายุและผู้พิการที่ผลิตได้เองภายในประเทศ มีจำนวนเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 1 เท่าตัว
เป้าหมายสำคัญตามยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ(ต่อ) ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ยุทธศาสตร์ที่ 10 ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อการพัฒนา ค่าเฉลี่ยสารอินทรีย์ระเหยง่ายในพื้นที่อุตสาหกรรมหลักบริเวณมาบตาพุดไม่เกินเกณฑ์มาตรฐาน มูลค่าการลงทุนในพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษชายแดนเพิ่มขึ้นร้อยละ 20 และสถานประกอบการที่จดทะเบียนในพื้นที่เศรษฐกิจใหม่เพิ่มขึ้น มีโครงข่ายความเชื่อมโยงทางด้านโลจิสติกส์ ที่ครอบคลุมทางบก ทางราง ทางน้ำ ทางอากาศ ภายในภูมิภาค ระบบห่วงโซ่มูลค่าในอนุภูมิภาคและภูมิภาคอาเซียนเพิ่มขึ้น และประเทศไทยเป็นหุ้นส่วนการพัฒนาที่สำคัญทั้งในทุกระดับทั้งการให้ความช่วยเหลือและการทำโครงการพัฒนาร่วมกัน
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง (พ.ศ. 2560 – 2564) กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง
แผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง (พ.ศ. 2560 – 2564) Vision ประชาชนมีรากฐานการดำรงชีวิตและพัฒนาสู่อนาคตได้อย่างมั่นคงและสมดุล ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 1. รักษาความสงบเรียบร้อย ความปลอดภัย และความมั่นคง Mission 2. เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเศรษฐกิจฐานราก 3. ส่งเสริมการพัฒนาเมืองและโครงสร้างพื้นฐาน 4. ส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารราชการในระดับพื้นที่ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง
Strategic Issue แผนยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2560 – 2564) 1. การเสริมสร้างสังคมเข้มแข็งและพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก 2. การเพิ่มศักยภาพการพัฒนาสภาพแวดล้อมสู่อนาคต Strategic Issue ๓. การเสริมสร้างความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายใน 4. การวางรากฐานการพัฒนาองค์กรอย่างสมดุล 5. การพัฒนาภูมิภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง
แผนยุทธศาสตร์กรมการปกครอง กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง (พ.ศ. 2560 – 2564) กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง
แผนยุทธศาสตร์กรมการปกครอง กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง (พ.ศ. 2560 – 2564) การบริหารราชการในระดับพื้นที่มีความเข้มแข็ง เพื่อความมั่นคงและการพัฒนาอย่างยั่งยืน Vision กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง
แผนยุทธศาสตร์กรมการปกครอง กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง (พ.ศ. 2560 – 2564) Mission 1. บูรณาการการบริหารราชการ การปกครองท้องที่ อำนวยความเป็นธรรม การรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายในทุกระดับ ในพื้นที่ ให้สอดคล้องกับความต้องการของประชาชน นโยบายรัฐบาล การพัฒนาประเทศและกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศ 2. ปกป้องเทิดทูนสถาบันหลักของชาติและการเสริมสร้างความปรองดองสมานฉันท์ในระดับพื้นที่ให้มีความเข้มแข็ง และมีศักยภาพ 3. อำนวยการบังคับใช้กฎหมายในด้านการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายใน การอำนวยความเป็นธรรม ในภารกิจกรมการปกครอง 4. บริการประชาชนด้านงานทะเบียนราษฎร บัตรประจำตัวประชาชน ทะเบียนทั่วไปและทะเบียนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง กับการรักษาความสงบเรียบร้อยและความมั่นคงภายใน 5. บริหารจัดการระบบเทคโนโลยีการปฏิบัติงาน การบริการ และพัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง ให้มีคุณภาพ เพื่อการใช้ประโยชน์ร่วมกันอย่างบูรณาการของภาครัฐและภาคเอกชน รวมถึงการเชื่อมโยงฐานข้อมูลระหว่างประเทศ 6. พัฒนาองค์กรให้มีสมรรถนะสูง บนฐานธรรมาภิบาล 7. ส่งเสริมบทบาทหน้าที่ของฝ่ายปกครองในการประสานงาน สนับสนุน และการตรวจสอบ กำกับดูแล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและส่วนราชการระดับภูมิภาค กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง
แผนยุทธศาสตร์กรมการปกครอง กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง (พ.ศ. 2560 – 2564) 2. การรักษาความสงบเรียบร้อย และอำนวยความเป็นธรรมให้สังคมสงบสุข 1. การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการแบบบูรณาการ ในระดับพื้นที่ ให้มีความเข้มแข็ง Strategic Issue 3. การเสริมสร้างความมั่นคงภายในทุกระดับในพื้นที่ให้เข้มแข็ง มีเอกภาพ 5. การบริหารจัดการสู่ความเป็นเลิศ ยึดหลักธรรมาภิบาล และพัฒนาบุคลากร ให้มีสมรรถนะสูง 4. การพัฒนาระบบบริการและข้อมูลบุคคล ให้ทันสมัย มีคุณภาพ เพื่อความมั่นคง และการพัฒนาประเทศ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง
การบริหารโครงการ คือ กระบวนการจัดการ การใช้ทรัพยากรต่างๆ ที่มีอยู่อย่างเหมาะสมและสมบูรณ์ที่สุด เพื่อให้การดำเนินโครงการบรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ โดย “ทรัพยากร” ในที่นี้ หมายถึง บุคลากร รวมถึงความเชี่ยวชาญและความสามารถที่มีอยู่ ความร่วมมือของทีมงาน เครื่องมือเครื่องใช้และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ ตลอดจนข้อมูล ระบบงาน เทคนิค เงินทุน และเวลา ที่มา : http://kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/article/2555/out-05.pdf
ประโยชน์การบริหารโครงการ สามารถกำหนดงานต่างๆ ที่ต้องทำก่อนเริ่มโครงการ เพื่อให้มีเวลาในการศึกษาทำความเข้าใจเกี่ยวกับงานก่อนเริ่มลงมือปฏิบัติจริง ช่วยให้สามารถคาดการณ์ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นและสามารถหาทางแก้ไขไว้ล่วงหน้าได้ ทำให้ทราบข้อมูลที่ต้องการเพิ่มเติมในการจัดทำโครงการขั้นตอนต่างๆ ที่มา : http://kmcenter.rid.go.th/kmc10/data/article/2555/out-05.pdf
กระบวนการบริหารโครงการ 1. การกำหนดและการจัดตั้งโครงการ 3. การบริหารการดำเนินโครงการ 4. การปิดโครงการ/ประเมินผล 2. การวางแผนโครงการ กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง
ยกระดับมาตรฐานเดิมให้สูงขึ้น กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง Deming Cycle PDCA เครื่องมือปรับปรุง กระบวนการทำงาน มาตรฐาน ยกระดับมาตรฐานเดิมให้สูงขึ้น มาตรฐาน มาตรฐาน กองวิชาการและแผนงาน กรมการปกครอง