ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
Advertisements

(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
ระบบจำแนกตำแหน่งและค่าตอบแทนใหม่
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
แผนการดำเนินงาน Highlight ปี 2559
ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
Rabie Free Zone สภาพปัญหา นโยบายการขับเคลื่อน เป้าหมายดำเนินการ ปี2560
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
ขอต้อนรับ อธิบดีกรมควบคุมโรค
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี (Good Governance)
สรุปงานและทิศทางการพัฒนางานควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อและปัจจัย เสี่ยง
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
การขับเคลื่อน บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล : Governance Excellence
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
แนวทางการพัฒนางานป้องกันควบคุมโรค ของกรมควบคุมโรค
แผนพัฒนาเศษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
แนวทางการพัฒนาระบบข้อมูลกรมอนามัย ปีงบประมาณ 2561
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ถ่ายทอดเกณฑ์ และแนวทางการประเมิน การพัฒนาสมรรถนะช่องทางเข้าออกประเทศ
ความก้าวหน้าการดำเนินงานตามนโยบายตัวชี้วัดวัณโรค
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
จุดเน้นและแนวทางการดำเนินงานฯ Cluster CD และระบบควบคุมโรค
กรมควบคุมโรค 59 นพ.อำนวย กาจีนะ รก.อธิบดีกรมควบคุมโรค 15 ต.ค. 58.
ประชุมร่วมแลกเปลี่ยนถ่ายทอดนโยบายทิศทางการทำงานงาน NCDs
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
การบูรณาการ สมรรถนะที่ ก.พ. กำหนด สมรรถนะ M.O.P.H.
ระบบการตรวจราชการและนิเทศงานกรมอนามัย
นโยบายการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การบริหารและขับเคลื่อน
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
นายแพทย์ธนรักษ์ ผลิพัฒน์ รองอธิบดีกรมควบคุมโรค
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
แผนที่ 4. การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
ทิศทาง นโยบาย และเป้าหมายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล รองอธิบดีกรมควบคุมโรค.
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
วันที่ 29 สิงหาคม 2562 นายบรรเจิด เดชาศิลปชัยกุล เภสัชกรเชี่ยวชาญ
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
การเปลี่ยนแปลงเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
ตัวชี้วัดตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ (Performance Agreement: PA)
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดฉะเชิงเทรา
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระบบการกำกับ ติดตามประเมินผล กรมควบคุมโรค ปีงบประมาณ พ.ศ.2560 พรทิพย์ ศิริภานุมาศ ผู้อำนวยการกองแผนงาน 19 ตุลาคม 2559

นโยบายท่านอธิบดีกรมควบคุมโรค ปี 2560 ให้ความสำคัญสูงสุดต่อโครงการตามพระราชดำริและโครงการเฉลิมพระเกียรติ : หนอนพยาธิ, พยาธิใบไม้ตับ เร่งรัดดำเนินการให้ได้ตามเป้าหมายยุทธศาสตร์บูรณาการชาติ กระทรวง และ กรม : กลุ่มวัย พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ ดิจิทัล ขยะ & สิ่งแวดล้อม วิจัย ปราบปรามทุจริต บังคับใช้กฎหมาย ATM, EOC, SAT ดำเนินการเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง/พื้นที่เสี่ยง ตามจุดเน้นแผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยง โรคจากอาชีพและสิ่งแวดล้อม โรคติดต่อ และการพัฒนาเชิงระบบ ดำเนินการตามกรอบ 36 แผนปฏิบัติราชการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค ให้ได้ตามเป้าหมาย พัฒนาศูนย์ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดทุกจังหวัด เร่งรัดพัฒนารูปแบบการควบคุมโรคในเขตเมืองให้สามารถขยายผลทันสถานการณ์ปัญหาเมืองใหญ่ บูรณการอำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งกับระบบสุขภาพอำเภอในการลดโรคที่เป็นปัญหาสำคัญเชิงคุณภาพ ขับเคลื่อนพ.ร.บ.โรคติดต่อ 2558 ให้การดำเนินงานเป็นรูปธรรม มีประสิทธิภาพระดับจังหวัด & อำเภอ บริหารความเสี่ยงให้ Small Success 3, 6, 9, 12 เดือน บรรลุตามเป้าหมายตัวชี้วัดคำรับรอง การปฏิบัติราชการของกรมฯ และหน่วยงาน เร่งรัดติดตามผลงานและการเบิกจ่ายงบประมาณให้ได้ตาม พ.ร.บ.งบประมาณรายจ่ายปี 2560 และมาตรการเพิ่มประสิทธิภาพของรัฐบาล

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 การพัฒนาเชิงระบบ จุดเน้น 5 ปี และกรอบการจัดทำแผนปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค 2557-2561 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ผลสัมฤทธิ์คุณภาพการป้องกันควบคุมโรค ตามระบบสุขภาพอำเภอ : “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน ” (DHS/DC) แผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยง ลดการเข้าถึงปัจจัยเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อ , จัดการข้อมูลเฝ้าระวังสอบสวนโรค , ป้องกันชุมชน สถานบริการสาธารณสุข ป้องกันและลดการตายจากการจราจรทางถนน ,ขับเคลื่อน Big City RTI , พัฒนาการสอบสวนและนำข้อมูลไปใช้ สร้างทีม Merit Maker และสื่อสารประชาสัมพันธ์ ควบคุมการเข้าถึงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ , ควบคุมโฆษณาและส่งเสริมการขาย , สื่อสารสาธารณะ เพื่อปรับเปลี่ยนค่านิยม ,มาตรการระดับชุมชน, คัดกรอง บำบัดรักษา โรคจากอาชีพ&สิ่งแวดล้อม จัดบริการอาชีวอนามัยแรงงานในชุมชน พัฒนาเครือข่ายลดปัจจัยเสี่ยงการทำงานของแรงงานในชุมชนและนอกระบบ สนับสนุนสถานประกอบการดูแลสุขภาพผู้ประกอบอาชีพตามเกณฑ์ สนับสนุนสถานประกอบการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร เฝ้าระวัง คัดกรองสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม ผ่านบริการเวชกรรมสิ่งแวดล้อมของหน่วยบริการฯ บูรณาการดำเนินงานป้องกันผลกระทบต่อสุขภาพจากมลพิษสิ่งแวดล้อม โรคติดต่อ ป้องกันควบคุมไข้เลือดออก/ไข้ซิกาเชิงรุกในพื้นทีเสี่ยง ป้องกันควบคุมโรควัณโรคเชิงรุก ในพื้นที่เป้าหมาย : คัดกรองCXR กลุ่ม HIV/DM ผู้ต้องขัง ต่างด้าว ผู้สูงอายุ รักษา กินยาครบ ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ : RRTTR/ลดการตีตรา ป้องกันควบคุมโรคตับอักเสบจากไวรัส: เข้าถึงการรักษา ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เน้นประชากรกลุ่มเสี่ยง โครงการพระราชดำริ Malaria ในโรงเรียน ตชด 196 รร. คัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ โรคหนองพยาธิ ในพื้นที่ทุรกันดาร การพัฒนาเชิงระบบ บริหารแผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศด้านควบคุมโรคของประเทศ พ.ศ. 2560 – 2564 (Mega project) แผนงานพัฒนาระบบควบคุมโรคเพื่อความมั่นคงของประเทศ : ควบคุมโรคในช่องทางเข้าออกประเทศ ด่านฯ จว.ชานแดน / SEZ / Travel Medicine แผนงานพัฒนาศูนย์ความเป็นเลิศด้านป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ : พัฒนา EOC ให้เกิดประสิทธิภาพเชื่องโยงระดับเขตและจังหวัด แผนงานสนับสนุนการพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ขับเคลื่อน พรบ.โรคติดต่อ 2558 ให้เป็นรูปธรรมและเกิดประสิทธิภาพในระดับจังหวัดและอำเภอ บริหารจัดการงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ จุดเน้นการพัฒนางานกรมควบคุมโรค 2557 เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในประสิทธิภาพและประสิทธิผลการควบคุมโรค การพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ โดยเน้นพัฒนา/สร้างความเข้มแข็งให้เกิด ดังนี้ 1) ระบบเน้น - พัฒนา “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน” ต่อเนื่อง โดยมุ่งเน้นให้เกิดพื้นที่การควบคุมโรคต้นแบบ ที่มีความเข้มแข็งของการจัดการป้องกันควบคุมโรคที่ยั่งยืน โดยสามารถลดโรคและภัยสุขภาพในพื้นที่ตนเอง อย่างน้อย 10 โรค (ทั้งนโยบายและพื้นที่) ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ในระยะ 5 ปี พัฒนากลไกการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ ทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน สร้าง/พัฒนาความเข้มแข็งด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D, KM, HTA) ผลิตภัณฑ์กรมควบคุมโรคให้ได้มาตรฐาน ที่ผ่านการทดสอบ ทดลองว่าได้ผล ในบริบทต่างๆ พัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เป็นตัวแทนของกรมควบคุมโรคที่ได้รับการยอมรับด้านวิชาการ มีผลงานเชิงประจักษ์ (ในแต่ละปี) 2) ประเด็นโรคเน้น เพื่อการป้องกันควบคุมโรค ดังนี้ กลุ่มโรคติดต่อ - ป้องกัน ควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงรุกในพื้นที่เสี่ยง - ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในประชากรกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ - ป้องกันควบคุมโรควัณโรคเชิงรุก ในพื้นที่เป้าหมาย - ป้องกันควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ ในพื้นที่เสี่ยง - ป้องกันควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ เน้นประชากรกลุ่มเสี่ยง กลุ่มโรคไม่ติดต่อ และปัจจัยเสี่ยง - ลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดและเบาหวาน - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ต่อการบาดเจ็บ และโรคมะเร็ง - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงการบริโภคยาสูบ ต่อการเกิดโรคสำคัญ เช่น โรคถุงลมปอดอุดกั้น โรคมะเร็ง - ป้องกันควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่อการบาดเจ็บ ใน 3 เรื่องหลัก ได้แก่ การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนน ความรุนแรงในครอบครัว จมน้ำตาย โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม - วัยทำงานปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข => ในภาคอุตสาหกรรม => ในภาคเกษตรกรรม 3

กรอบการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค ปชก. 65 ล้านคน แผนฯ สศช นโยบายรัฐบาล / สงป. นโยบายกระทรวงฯ สถานการณ์ฯ Government policy Administration POLICY 1 งบ + คน + .... PI : Performance indicators 2 แผนปบัติราชการประจำปี 2557 กรมควบคุมโรค ราชการประจำปี 2557 กรมควบคุมโรค แผนปฏิบัติราชการประจำปี 2560 กรมควบคุมโรค PI 1 PI 2 PI 3 PI 4 PI 5 3 KPI 4 5 6 1.M&E By Performance/Budget 2. M&E focus by Small Success / PA Strategies * Q 1 * Q 2 Q 3 Q 4 นโยบายเร่งด่วน พระราชดำริ / เฉลิมพระเกียรติ บูรณาการชาติ/กระทรวง/ กรม HL Cluster / 36 กรอบแผนฯ ปก คค โรคเขตเมือง พรบ.ต 58 ……………. 4 Small Success Purpose

ม.23 พรบ.ม.23

ความเชื่อมโยง การพัฒนาแผนป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ (RDCP) กับการบริการจัดการแผนงบประมาณ กรมควบคุมโรค ปี 2560 ระดับชาติ ยุทธศาสตร์จัดสรร พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน สร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จัดการน้ำและสร้างการเติบโตฯ ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร รายการค่าดำเนินการภาครัฐ นโยบายจัดสรร/แผนงาน 3.3 แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาด้านสาธารณสุขฯ 3.5 แผนงานพื้นฐานด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน 3.5.3 แผนงานรองพัฒนาด้านสาธารณสุขฯ (บู) 2.3 แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาพื้นที่เขนเศรษฐกิจพิเศษ (บู) 2.5แผนงานยุทธศาสตร์พัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล (บู) 2.3 แผนงานยุทธศาสตร์ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา (บู) 5.1แผนงานยุทธศาสตร์บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม (บู) 1.12 แผนงานยุทธศาสตร์ป้องกัน ปราบปรามทุจริตและประพฤติมิชอบ (บู) 7.1 แผนงานบุคลากรภาครัฐ 7.1.25แผนงานรองบุคลากรภาครัฐพัฒนาด้าน สธ.ฯ ระดับกระทรวง เป้าหมายการให้บริ การกระ ทรวง ปชช.ได้รับบริการก้านการแพทย์และสธ.ที่มีคุณภาพมาตรฐาน 9.ปชช.ทุกคนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ได้รับการควบคุมป้องกันโรคและคุ้มครองผู้บริโภค 8.ปชช.ทุกกลุ่มวัยได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิต 5.ระบบบริการสุขภาพและด้านสธ.มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานฯรองรับเขตเศรษฐกิจพิเศษ ปชช.เข้าถึงการใช้ประโยชน์จากข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศฯ 2. ปชช.มีสุขภาพดีเข้าถึงบริการและเทคโนโลยีด้านสุขภาพที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพอย่างเท่าเทียมโดยใช้งานวิจัยเป็นฐาน 12.ปชช.ทุกกลุ่มวัยได้รับการดูแลสุขภาพจากปัญหาขยะและสิ่งแวดล้อม 13.ปชช.ได้รับบริการที่ดีมีความพึงพอใจ เชื่อมมั่นและศรัทธาต่อการบริหารราชการฯ เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการดำเนินการภาครัฐด้าน สธ. ระดับกรม เป้าหมายการให้บริ การกรม 1. เครือข่ายเป้าหมายมีศักยภาพในการเฝ้าระวัง ฯ 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถปฏิบัติตัว ในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อสำคัญ ฯ 11.ประชาชนกลุ่มเป้าหมายสามารถปฏิบัติตัว ป้องกันไข้มาลาเรีย วัณโรค เอดส์ฯ 3. ช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศและจว.ชายแดนมีระบบเฝ้าระวังฯเชื่อมโยงระดับภูมิภาคฯ 4.เครือข่ายเป้าหมายมีศักยภาพการเฝ้าระวัง ฯตามกลุ่มวัย 7.ช่องทางเข้าออกประเทศและจว.ชายแดนมีระบบเฝ้าระวังฯเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษฯ 8. ระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านสารสนเทศเพื่อการป้องกันฯ 9.ผลงานวิจัยด้านการป้องกันควบคุมโรคฯนำไปใช้ในการพัฒนางาน สธ. 6. มีการเฝ้าระวังสุขภาพเชิงรุก และบริการอาชีวอนามัย เวชกรรมสิ่งแวดล้อมที่มีคุณภาพสำหรับปชช.ฯ 7. มีระบบการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบฯ 10.มีงบประมาณเพียงพอในการสนับสนุนบุคลากรในการเฝ้าระวังฯ ผลผลิต ผ1. ผลิตภัณฑ์ฯ ผ2. สนับสนุน เสริมสร้าง ศักยภาพฯ ผ3. เฝ้าระวังโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ ผ4. บริการรักษาและฟื้นฟูฯ ผ5. กำจัดโรคไข้มาลาเรีย TB AIDs ผ6. เฝ้าระวัง โรคติดต่อที่เชื่อมโยงในระดับภูมิภาค ผ7. กลุ่มวัย ผ10. เขตเศรษฐกิจพิเศษ ผ11. IT ผ12. วิจัย ผ8. สิ่งแวดล้อม ผ9.ปราบปรามทุจริต ผ13. คชจ.บุคลากร กิจกรรมหลัก ก1.1 ผลิตภัณฑ์และจัดการความรู้ (26 เรื่อง) ก2.1 ระบบเฝ้าระวัง (5 ระบบ) ก 3.1 บริการเฝ้าระวัง (4,103,300 ราย) ก4.1 บริการรักษาและฟื้นฟู (261,000 ราย) ก4.1 บริการรักษาและฟื้นฟู (261,000 ราย) ก5.1 Malaria (836 อำเภอ) ก5.1 Malaria (836 อำเภอ) ก6.1 ช่องทางและ จว.ชายแดน จว. ชายแดน = 21 จว.) (ช่องทาง=42 แห่ง ก6.1 ช่องทางและ จว.ชายแดน จว. ชายแดน = 21 จว.) (ช่องทาง=42 แห่ง *ก7.1 วัยเด็ก (30,045 หน่วยงาน) ก10.1 ช่องทางและ จว.ชายแดนเขตเศรษฐกิจพิเศษ (ช่องทาง=26 แห่ง จว. ชายแดน = 10 จว.) ก11.1 IT เศรษฐกิจดิจิทัล (89 แห่ง) ก12.1 วิจัย (34 เรื่อง) *ก8.1 ขยะ (ร้อยละ 80) ก9.1 ปราบปรามทุจริต (ร้อยละ 90) ก13.1คชจ.บุคลากร (ร้อยละ 90) ก2.2 เครือข่าย (2,084 หน่วยงาน) ก3.2 ถ่ายทอดความรู้ (ร้อยละ 87) ก5.2 TB (82,025 ราย) ก5.2 TB (82,025 ราย) ก6.2 ศูนย์ฝึกอบรม (ระดับ 5) *ก7.2 วัยเรียน (436หน่วยงาน) *ก8.2 มลพิษทางอากาศ (ร้อยละ 80) ก2.3 มาบตาพุต (1เรื่อง) ก5.3 AIDs (82,025 ราย) ก5.3 AIDs (303,789ราย) *ก7.3 วัยรุ่น (113หน่วยงาน) 15 เป้าหมาย 17 ผลผลิต (4 ผลผลิต 13 โครงการ) 56 กิจกรรมหลัก ก2.4 ตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน (31 แห่ง) *ก7.4 วัยทำงาน (461หน่วยงาน) ก2.6 IT &สื่อสาร (3 ระบบ) คำขอ กิจกรรมนำส่ง RDCP ชุดกิจกรรมนำส่ง (PI)

ภารกิจยุทธศาสตร์ / บุรณาการชาติ พรบ.งบประมาณ ปี 2560 (3,981.79 ลบ.) ยุทธศาสตร์การจัดสรร งปม. FUNCTION ภารกิจพื้นฐาน AGENDA ภารกิจยุทธศาสตร์ / บุรณาการชาติ แผนบูรณาการชาติ 210.05 ลบ. 38.5 แผนยุทธศาสตร์กรม 335.47 ลบ. 61.5% 545.52 ลบ. / 13.7 % 3,436.27 ลบ. / 86.3 % แผนบุคลากร 1,877.9 ลบ. 47.16 % 2 โครงการ แผนพื้นฐาน 1,558.36 ลบ. 39.14 % 4 ผลผลิต 6 โครงการ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ  ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค & ภัยสุขภาพ ที่เป็นปัญหาสำคัญ ไม่น้อยกว่า 5.9 ล้านราย  เครือข่ายมีศักยภาพในการดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค ฯ ตาม แนวทาง & ได้มาตรฐานตามที่กำหนด ไม่น้อยกว่า 2,804 หน่วยงาน  ช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ 68 แห่ง & จังหวัดชายแดน 31 จ. มีระบบ เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ โรคอุบัติใหม่ ฯ ตามมาตรฐาน IHR 2005  มีมาตรฐาน มาตรการ องค์ความรู้ด้านการป้องกันควบคุมโรค 28 เรื่อง  งานวิจัยด้านการป้องกันควบคุมโรค ฯ นำไปใช้ในการพัฒนางาน 44 เรื่อง  มีระบบศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) & ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) ที่มีความพร้อมปฏิบัติงาน 24 ชม. 7 วันได้อย่างรวดเร็ว เป็นระบบ เป็นเอกภาพ จากการดำเนินงานดังกล่าว มีผลที่คาดว่าจะได้รับ ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค & ภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญ ไม่น้อยกว่า 5.9 ล้านราย เครือข่ายมีศักยภาพในการดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค ฯ ตามแนวทาง & ได้มาตรฐานตามที่กำหนด ไม่น้อยกว่า 1,566 หน่วยงาน ช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ 68 แห่ง & จังหวัดชายแดน 31 จ. มีระบบเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ โรคอุบัติใหม่ ฯ ตามมาตรฐาน IHR 2005 มีมาตรฐาน มาตรการ องค์ความรู้ด้านการป้องกันควบคุมโรค 28 เรื่อง งานวิจัยด้านการป้องกันควบคุมโรค ฯ นำไปใช้ในการพัฒนางาน 44 เรื่อง มีระบบศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operations Center: EOC) & ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (Incidence Command System: ICS) ที่มีความพร้อมปฏิบัติงานทุกวันตลอด 24 ชม. (24/7) สามารถรับมือโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างรวดเร็ว เป็นระบบ เป็นเอกภาพ เชื่อมโยงกับหน่วยปฏิบัติการควบคุมโรคติดต่อ 1,030 หน่วย เพื่อสร้างความเชื่อมั่นของประเทศ 8

เป้าหมาย : ลดปัญหาโรค & ภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค 16 ต.ค.59 เป้าหมาย : ลดปัญหาโรค & ภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค 16 ต.ค.59 โรคติดต่อสำคัญ 1 โปลิโอ รักษาสถานะปลอดโปลิโอ (ปลอดโปลิโอ ตั้งแต่ปี 40) 2 โรคพิษสุนัขบ้า ปี 63 ไม่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคพิษสุนัขบ้า 3 โรคเรื้อน ปี 63 ผป. โรคเรื้อนรายใหม่ ไม่เกิน 100 ราย 4 มาลาเรีย ปี 67 ทุกอำเภอของประเทศไทยปลอดจากโรคมาลาเรีย 5 เอดส์ ปี 73 ยุติปัญหาเอดส์ : No เด็กคลอดมาติดเชื้อ & ผู้ใหญ่ติดเชื้อรายใหม่ ไม่เกินปีละ 1,000 ราย 6 วัณโรค ปี 63  อุบัติการณ์วัณโรคลง 20% โรคไม่ติดต่อ 7 บาดเจ็บจากการจราจร ปี 63 ควบคุมอัตราตาย  50% จากปี 54 8 โรคไม่ติดต่อ ปี 68  ตายก่อนวัยอันควรจาก NCDs ลง 25% ควบคุมปัจจัยเสี่ยง แอลกอฮอล์ ปี 68  ปริมาณการดื่มแอลกอฮอล์ต่อหัว ปชก. ต่อปี ลง 10% 10 ยาสูบ ปี 68  การบริโภคยาสูบลง 30 % 11 ความดันโลหิตสูง ปี 68  ความชุกภาวะความดันโลหิตสูงลง 25 % 12 เบาหวาน ปี 68 ความชุกของเบาหวานและโรคอ้วน ไม่ให้เพิ่มขึ้น แผนการดำเนินงานในปี 60 กรมยังคงยึด เป้าหมายป้องกันควบคุมโรค เพื่อการลดโรคและภัยสุขภาพ ซึ่งเป็นแผนระยะยาว ทั้งโรคติดต่อที่สำคัญ โรคไม่ติดต่อ การควบคุมปัจจัยเสี่ยง และโรคประกอบอาชีพ โรคจากการประกอบอาชีพฯ 13 เกษตรกรรม ปี 63 อัตราป่วยด้วยโรคพิษสารกำจัดศัตรูพืชในเกษตรกร ไม่เกิน 9 : แสน ปชก.

วิสัยทัศน์กรมควบคุมโรค เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายในปี 2563 ยุทธศาสตร์ (59 - 63) ค่านิยมองค์การ I SMART ย.1 พัฒนา ร่วมมือกับเครือข่ายภาคีภายในและนานาชาติ ย.2 พัฒนานวัตกรรม มาตรการ มาตรฐานและวิชาการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ย.4 สื่อสารสาธารณะ ประชาสัมพันธ์ ทั่วถึง ได้ผล ย.5 เตรียมพร้อม ตอบโต้สถานการณ์ฉุกเฉิน ภัยพิบัติอย่างรวดเร็ว ย.6 บริหารจัดการองค์กรแนวใหม่ ย. 3 พัฒนาบทบาทการนำด้านนโยบาย และยุทธศาสตร์ และกฎหมายในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เป็นหลัก ของประเทศ Integrity Service mind Mastery/ Expertise Achievemt motivation Relationship Teamwork

กรอบการวิเคราะห์ เพื่อจัดทำแผนงาน/โครงการดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคและภัยสุขภาพ รายหน่วยงาน.............................. Performance Indicator: PI เชื่อมโยงตัวชี้วัดเอกสารงบประมาณ และภารกิจกรม -โรคและภัย - ระบบ เป้าหมายลดปัญหาโรคภัย & ระบบ เครือข่าย องค์ความรู้ สื่อสารฯ จัดการภาวะฉุกเฉินฯ ประเมิน พัฒนาองค์กร Agenda A 10% a X  / B 3,000 ราย c H Y C 30 อำเภอ h J D จำนวน ..... แรงงานต่างด้าว q Z เขตเมือง กกกก x F Travel Medicine ขขขข P โรคป้องกันด้วยวัคซีน คคคค M S PHL จจจจ จัดกลุ่มกิจกรรม นำสู่การจัดทำแผนงาน/โครงการเพื่อบริหารเงินจากเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณ

ตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ปี 2560 ยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุข คำรับรอง สธ PA 6/29 คำรับรองหน่วยงาน กรม 4 มิติ ตัวชี้วัดปี 2560 กรมควบคุมโรค 6 ยุทธศาสตร์การดำเนินงาน กรม สู่ เป้าหมาย การลดโรคภัย (36 แผน) ผลผลิต สงป17 ผลผลิต มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพ

ตัวชี้วัด 17 ผลผลิตกรมควบคุมโรค ที่ต้องส่งมอบให้กับสำนักงบประมาณ ปีงบประมาณ 2560

พ.ร.บ. งบประมาณ ปี 2560 กรมควบคุมโรค 3,981.79 ล้านบาท 17 ผลผลิต พ.ร.บ. งบประมาณ ปี 2560 กรมควบคุมโรค ผ.13 ศก. วิจัย 25 ลบ.. ผ.1 องค์ความรู้ 227 ลบ. ผ.7 วัยเด็ก 7 ลบ. ผ.2 เครือข่าย 750 ลบ. ผ.14 ขยะ 14.9 ลบ. ผ.8 วัยเรียน 10 ลบ. ผ.15 มลพิษ ทางอากาศ 2.5 ลบ. ผ.3 เฝ้าระวัง 208 ลบ. ผ.9 วัยรุ่น 6 ลบ.. ผ.10 วัยทำงาน 42.7 ลบ. ผ.4 รักษาฯ 372 ลบ. ผ.16 ปราบปราม 5.3 ลบ. ผ.5 ATM 281.3 ลบ. ผ.11 ศก. พิเศษ 53.7 ลบ.. ผ.17 รายจ่าย 1,877.9 ลบ. ผ.6 เชื่อมโยงภูมิภาค 54 ลบ. ผ.12 ศก. ดิจิทัล 46.6 ลบ.

ตัวชี้วัด 17 ผลผลิต พ.ร.บ. งบประมาณ ปี 60 กรมควบคุมโรค ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ จำนวน 1.องค์ความรู้ จำนวนผลิตภัณฑ์ด้านการเฝ้าระวังป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 28 เรื่อง 2. เครือข่าย จำนวนเครือข่ายเป้าหมายที่ได้รับการสนับสนุน เสริมสร้างศักยภาพและความเข้มแข็งในการจัดการระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 2,840หน่วยงาน 3. เฝ้าระวัง จำนวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคที่เป็นปัญหาสำคัญ 4,102,300 ราย 4. รักษา จำนวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการรักษาและฟื้นฟูสภาพเฉพาะโรคในกลุ่มโรคติดต่อสำคัญ โรคอุบัติใหม่และภัยสุขภาพ 261,000 ราย 5. ATM จำนวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับบริการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคในการเร่งรัดกำจัดโรคไข้มาลาเรีย วัณโรค และยุติปัญหาเอดส์ 1,816,700 ราย 6. เชื่อมโยง ภูมิภาค จำนวนช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศได้รับการพัฒนาตามแนวทาง กฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 42 แห่ง จำนวนจังหวัดชายแดนที่ได้รับการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดต่อตามแนวชายแดนตามมาตรฐานที่กำหนด 21จังหวัด 7. วัยเด็ก จำนวนเครือข่ายเป้าหมายที่ได้รับการสนับสนุนการดำเนินงานการป้องกันควบคุมโรคติดต่อและสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคในกลุ่มวัยเด็ก 30,045 แห่ง 8. วัยเรียน จำนวนเครือข่ายเป้าหมายที่ได้รับการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและพัฒนาทักษะชีวิตในกลุ่มวัยเรียน 436 หน่วยงาน 9. วัยรุ่น จำนวนเครือข่ายเป้าหมายที่ได้รับการพัฒนาและขับเคลื่อนกฎหมายเพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงในกลุ่มวัยรุ่น 113 หน่วยงาน 10. วัย ทำงาน จำนวนเครือข่ายเป้าหมายที่ได้รับการสนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและปัจจัยเสี่ยงในกลุ่มวัยทำงาน 461 หน่วยงาน

ตัวชี้วัด 17 ผลผลิต พ.ร.บ. งบประมาณ ปี 60 กรมควบคุมโรค จำนวน 11.เศรษฐกิจ พิเศษ จำนวนช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศที่รองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษได้รับการพัฒนาตามแนวทางกฎอนามัยระหว่างประเทศ พ.ศ.2548 26 แห่ง 12.เศรษฐกิจ ดิจิทัล จำนวนครั้งของเหตุการณ์ผิดปกติทางสาธารณสุขที่ได้รับการตรวจจับและรายงานผลการวิเคราะห์ความเสี่ยงภายใน 1 ระยะฟักตัว 25 ครั้ง จำนวนหน่วยงานส่วนภูมิภาคสามารถนำข้อมูลไปใช้ตอบโต้ภาวะฉุกเฉินเพื่อรองรับการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 89 แห่ง 13. วิจัย จำนวนผลงานวิจัยด้านการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 44 เรื่อง 14. ขยะ จำนวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่เสี่ยงปัญหาขยะ ได้รับการคัดกรองความเสี่ยงทางสุขภาพ 7,000 ราย 15. มลพิษ จำนวนเครือข่ายเป้าหมายที่ได้รับการสนับสนุนการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพจากมลพิษทางอากาศ 6 หน่วยงาน 16. ปราบ ปรามทุจริต ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรคผ่านเกณฑ์ประเมินความโปร่งใสในการดำเนินงาน ร้อยละ 90 17. ค่า ใช้จ่าย ร้อยละของการเบิกจ่ายของรายการค่าใช้จ่ายบุคลากรในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ร้อยละ 90

การดำเนินงานตามภารกิจกรมควบคุมโรค ตัวชี้วัดกรอบคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ มิติประสิทธิผล-1.1.1 การดำเนินงานตามภารกิจกรมควบคุมโรค ร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการบรรลุเป้าหมายความสำเร็จของแผนงานควบคุมโรคระดับชาติ 18 แผน+1ระบบ

ตัวชี้วัดกรอบคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ลำดับ แผนงาน ตัวชี้วัด 1 แผนงานที่ควบคุมโรคที่ป้องกันดัวยวัคซีน ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อเร่งรัดความครอบคลุมการได้รับวัคซีนในเด็กกลุ่มเป้าหมาย 2 แผนงานควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนการดำเนินงานเพื่อลดเหตุการณ์ระบาดโรคอาหารเป็นพิษในโรงเรียน 3 แผนงานควบคุมโรคติดต่อจากสัตว์และคน ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคพิษสุนัขบ้า 4 แผนงานควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ ระดับความสำเร็จของการป้องกันและควบคุมโรคไข้หวัดใหญ่ ระดับความสำเร็จของการป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ 5 แผนงานควบคุมโรคไข้เลือดออก ระดับความสำเร็จของการลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๑๖ ของค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕ ปี (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) 6 แผนงานควบคุมโรคไข้มาลาเรีย ระดับความสำเร็จของจำนวนอำเภอไม่มีการแพร่เชื้อมาลาเรีย 7 แผนงานควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล 8 แผนงานควบคุมโรคเอดส์ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อลดการติดเชื้อเอชไอวีในหญิงรับบริการฝากครรภ์ อายุ 15- 24 ปี 9 แผนงานควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเพื่อลดอัตราป่วยโรคหนองใน ในกลุ่มอายุ 15-24 ปี

ตัวชี้วัดกรอบคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ลำดับ แผนงาน ตัวชี้วัด 10 แผนงานควบคุมวัณโรค อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ 11 แผนงานควบคุมโรคเรื้อน ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานลดจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อนรายใหม่ที่มีความพิการระดับ 2 (Grade 2 disability) 12 แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ อัตราผู้ป่วยรายใหม่จากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง 13 แผนงานควบคุมการบาดเจ็บ จำนวนผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่ดำเนินการมาตรการชุมชน ๔๐ อำเภอเสี่ยง (DHS/DC) ลดลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๒๐ 14 แผนงานควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ 15-19ปี ไม่เพิ่มขึ้นจากผลการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง (BSS) ในปี 2558 15 แผนงานควบคุมการบริโภคยาสูบ ร้อยละของอัตราการบริโภคยาสูบในวัยรุ่น อายุ 15 – 18 ปี ไม่เกินร้อยละ ๙ 16 แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้หน่วยบริการสุขภาพปฐมภูมิในพื้นที่สามารถจัดบริการอาชีวอนามัยให้กับแรงงานในชุมชน ตั้งแต่ระดับเริ่มต้นขึ้นไป ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้สถานประกอบการที่พนักงานมีโอกาสรับสัมผัสปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคและภัยสุขภาพสำคัญมีการจัดบริการอาชีวอนามัยครบวงจร

ตัวชี้วัดกรอบคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ลำดับ แผนงาน ตัวชี้วัด 17 แผนงานยุทธศาสตร์บริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนให้โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป สามารถจัดบริการอาชีวอนามัยและเวชกรรมสิ่งแวดล้อม 18 ระบบงานระบาดวิทยา ร้อยละของอำเภอที่สามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ได้ 19 แผนงานควบคุมโรคเขตเมือง ร้อยละของอำเภอที่สามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ได้ ระดับความสำเร็จของการสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชนแนวตั้ง ระดับความสำเร็จของการสร้างเครือข่ายการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในชุมชนแนวตั้ง

Performance Agreement : PA กรมควบคุมโรค ไม่เกิน 14 ต่อแสนประชากร 6 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ร้อยละ 80 ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง ร้อยละ 85 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำ ร้อยละ 80 ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ)  ร้อยละ 90 4. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD Risk) PA กรมควบคุมโรค 6 ตัวชี้วัด ประกอบด้วย 1. ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง เป้าหมายร้อยละ 80 2. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ เป้าหมายร้อยละ 85 3. ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ในตับ (โครงการพระราชดำริ) เป้าหมายร้อยละ 80 4. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด(CVDs) เป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 5. อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน เป้าหมายไม่เกิน 14 ต่อประชากรแสนคน 6. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ เป้าหมายอัตราเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลงร้อยละ 0.25 ไม่เกิน 14 ต่อแสนประชากร 5. อัตราเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน ลดลงร้อยละ 0.25 6. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่

การ M&E ของกรมควบคุมโรค (ปี 2560) ดำเนินการ นิเทศ ติดตาม ประเมินผล กำหนดกรอบการนิเทศงานและการติดตามและประเมินผล ทุกหน่วยงาน 1.รายงานความก้าวหน้าแผนงานควบคุมโรคฯ Q 1 - 4 ผลงาน : PA,จุดเน้น, ผ1-17, ยุทธศาสตร์ที่ 1- 6 ความสำเร็จตามแผนยกระดับฯ (2560-64) ผลการเบิกจ่ายงบประมาณ 2. สรุปผลงาน ปัญหาอุปสรรคข้อเสนอแนะ ใน ESM 1. ทุกหน่วยงาน 2. สรุปผล ปัญหา อุปสรรคข้อเสนอแนะ 1. สน./สบ./สคร./กอง ประเมินผลแผนงาน/มาตรการ/โครงการสำคัญเพื่อสนับสนุนการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 2. ผลักดันให้ทุกหน่วยงานสร้างความเข้มแข็งกลไกการติดตามและประเมินผลของหน่วยงาน/แผนงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ข้อเสนอแนะ สู่การปฏิบัติ ปี 2561 ต่อไป การติดตามงาน การตรวจเยี่ยม & นิเทศงาน การประเมินผล ทบทวน แผนงาน/โครงการ/มาตรการ การ M&E ของกรมควบคุมโรค (ปี 2560)

การติดตามและประเมินผลกรมควบคุมโรค ปี 2560 1. กำกับติดตามเข้มข้น: - แผนงาน/โครงการลดโรคและภัยสุขภาพ (Small Success) Q 1-4 - เป้าหมายการให้บริการกรมฯ (PSA) รอบ 12 เดือน - ผลผลิตที่ 1 – 9 ของกรมฯ (SDA) ทุกเดือน - โครงการแก้ไขปัญหาพิเศษ (Hot Issue) เฉพาะพื้นที่ 2. ระบบบันทึกผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ (Estimates SM) 3. ระบบกำกับติดตามผล การเบิกจ่ายงบประมาณ (GFMIS) 4. การนิเทศงาน/ตรวจเยี่ยม หน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค

การติดตามผลงานหน่วยงาน สังกัดกรมควบคุมโรค ประเด็นรายงาน ความถี่ หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบรายงาน รายเดือน รายไตรมาส ปีละครั้ง ความก้าวหน้าโครงการสำคัญ/โครงการในพระราชดำริฯ ตัวชี้วัดผลผลิต (SDA) ตัวชี้วัดPSA ยุทธศาสตร์กรมฯ/กระทรวง เป้าหมายลดโรค นโยบายกรมฯ แผนงานป้องกันควบคุมโรค (small success)  สน/สบ หน่วยงานที่ได้รับถ่ายทอดเป้า แผนยกระดับความเป็นเลิศฯ นโยบายรัฐบาล ผลงานตามรัฐธรรมนูญ/แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ สน/สบ/สคร

การประเมินผลงาน หน่วยงานสังกัดกรมควบคุมโรค ประเด็นการประเมินผล หน่วยงานที่รับผิดชอบ หมายเหตุ นโยบาย /ยุทธศาสตร์/การบังคับใช้กม. แผนงานป้องกันควบคุมโรค/งานเชิงระบบ มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพ โรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาในเขตบริการสุขภาพ โครงการสำคัญ สน/สบ/สคร. สน/สบ สคร. สน/สบ/หน่วยงานสายบริหาร การประเมินผลขึ้นอยู่แผนที่หน่วยงานกำหนดตามบริบทที่เหมาะสม

Q&A

ขอบพระคุณค่ะ

ที่มา : สนย สป มอบนโยบาย กทสธ ปี 2560, 15 กย 59 Achievement Motivation Mastery/ Expertise Integrity Service Mind Relationship Teamwork I SMART ที่มา : สนย สป มอบนโยบาย กทสธ ปี 2560, 15 กย 59

กรอบการนำเสนอ งบประมาณตาม พรบ.งบประมาณ ม.23 36 กรอบแผนปฏิบัติการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค การบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค ภายใต้แผนยุทธศาสตร์ชาติ/กระทรวง 20 ปี ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ # 12 ปี 2560-2564

การติดตามผลงานหน่วยงาน สังกัดกรมควบคุมโรค สิ่งที่หน่วยงานต้องดำเนินการรายงาน ประเด็นรายงาน ความถี่ หน่วยงานหลักที่รับผิดชอบรายงาน รายเดือน ราย ไตรมาส ปีละ 1 ครั้ง ความก้าวหน้าโครงการสำคัญ/โครงการในพระราชดำริฯ ตัวชี้วัดผลผลิต (SDA) ตัวชี้วัดPSA ยุทธศาสตร์กรมฯ/กระทรวง เป้าหมายลดโรค นโยบายกรมฯ แผนงานป้องกันควบคุมโรค(small success)  สน/สบ หน่วยงานที่ได้รับถ่ายทอดเป้า แผนยกระดับความเป็นเลิศฯ นโยบายรัฐบาล ผลงานตามรัฐธรรมนูญ/แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ สน/สบ/สคร รายงานผลการดำเนินงานในส่วนที่เกี่ยวข้องในความรับผิดชอบ ตามกำหนดระยะเวลา หมายเหตุ ทั้งนี้ความถี่ในการรายงานอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามนโยบาย/ข้อสั่งการของผู้บริหารหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบหลัก TEXT Add text

การประเมินผลงานหน่วยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค หมายเหตุ ประเด็นการประเมินผล หน่วยงานที่รับผิดชอบประเมินผล นโยบาย /ยุทธศาสตร์/การบังคับใช้กม. แผนงานป้องกันควบคุมโรค/งานเชิงระบบ มาตรการลดโรค/ภัยสุขภาพ โรคและภัยสุขภาพที่ เป็นปัญหาในเขตบริการสุขภาพ -โครงการสำคัญ สำนักวิชาการ/สถาบันในส่วนกลาง/สคร, สำนักวิชาการ/สถาบันในส่วนกลาง สำนักวิชาการ/สถาบันในส่วนกลาง/สคร. สคร. สำนักวิชาการ/สถาบันในส่วนกลาง/หน่วยงานในสายบริหาร การประเมินผลต่างๆขึ้นอยู่แผนการประเมินผลที่หน่วยงานกำหนดไว้หรือหน่วยงานจะเลือกในการประเมินผล ตามบริบทที่เหมาะสม TEXT Add text

(เดิม) ตัวชี้วัด กรมควบคุมโรค ปี 2560 ตัวชี้วัดกรอบคำรับรองการปฏิบัติราชการของหน่วยงาน กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ 4 มิติ ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสุขจุดเน้นปี 2560 ที่เกี่ยวข้องกับ กรมควบคุมโรค 20 ปี 14/96 ตัวชี้วัด ปี 2560: เป็นตัวชี้วัด PA สธ. 6/29 ตัวชี้วัดปี 2560 กรมควบคุมโรค ตัวชี้วัดผลผลิต 17 ผลผลิต ตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์

มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ผังความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ สู่แผนงานป้องกันควบคุมโรคฯ มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ยุทธฯชาติ การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ การสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำของสังคม คนในสังคมทุกช่วงวัยมีทักษะความรู้ และความสามารถเพิ่มขึ้น คนไทยมีสุขภาวะดีขึ้น เพิ่มโอกาสเข้าถึงบริการพื้นฐานทางสังคมภาครัฐ เป้าฯ ชาติ เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี วิสัยทัศน์ สธ. Promotion Prevention Excellence Service Excellence People Excellence Governance Excellence ยุทธฯ สธ. เป้าฯ สธ. ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชน จากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายในปี 2563 วิสัยทัศน์ คร. พัฒนาร่วมมือกับเครือข่ายฯ พัฒนานวัตกรรม มาตรการ มาตรฐานฯ พัฒนาบทบาทการนำด้านนโยบายฯ สื่อสารสาธารณะ ประชาสัมพันธ์ฯ เตรียมพร้อมตอบโต้ สถานการณ์ฉุกเฉินฯ บริหารจัดการองค์กรแนวใหม่ ยุทธฯ คร. เป้าฯ คร. เป้าหมายการลดโรค: ประชาชนสุขภาพดี ลดเสี่ยง ลดโรค ลดตาย แผนฯ คร. แผนพัฒนาระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพแห่งชาติ 2560-2564 แผนยุทธศาสตร์กลุ่มโรค / รายโรค กลุ่มแผนคร. แผน CD แผน SALT แผน NATI แผน EN OCC

(ร่าง) ภาพรวมการติดตามประเมินผลกระทรวงสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับกรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ตัวชี้วัด ประเภทตัวชี้วัด PA ปลัด สตป PA กรม แผนงานควบคุมโรค แผนยกระดับฯ 1.ร้อยละของจังหวัดมีศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC) และทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ที่สามารถปฏิบัติงานได้จริง : ร้อยละ80 √ 2.อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ : ร้อยละ 85 3.ร้อยละของกลุ่มประชากรหลักที่เข้าถึงบริการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เชิงรุก : ร้อยละ 85 4.ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ตับ (โครงการในพระราชดำริ) : ร้อยละ 80 5.อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุน้อยกว่า 15 ปี : น้อยกว่าหรือเท่ากับ 5 ต่อ ปชก.แสนคน 6.อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน : ไม่เกิน 14 ต่อ ปชก.แสนคน 7.อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ : อัตราการเพิ่มของผู้ป่วยรายใหม่ลดลง ร้อยละ 0.25 8.ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป : ร้อยละ 19 9.ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ต่อ ปชก.อายุ 15 ปีขึ้นไป : 6.81 ลิตรของแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อคนต่อปี 10.ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ Green&Clean Hospital (ร่วมกับกรมอนามัย) 11.จำนวนจังหวัดที่มีระบบจัดการปัจจัยเสี่ยงจากสิ่งแวดล้อมเพื่อสุขภาพอย่างบูรณาการมีประสิทธิภาพและยั่งยืน (ร่วมกับกรมอนามัย) 12.ร้อยละของผู้ป่วย DM/HT ที่ควบคุมได้: DM เพิ่มขึ้นอย่างน้อย 5% จากปี 59 หรือ > 40%/ HTเพิ่มขึ้นอย่างน้อย5% จากปี59 หรือ> 50% 13.ร้อยละของผู้ป่วย DM/HT ที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมิน CVD risk : มากกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 90 14.ร้อยละการผ่านเกณฑ์ของหน่วยบริการสาธารณสุข สำหรับการจัดบริการอาชีวอนามัย และเวชกรรมสิ่งแวดล้อมในเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ ตามเกณฑ์ที่กำหนด

กรอบแผนปฏิบัติราชการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 : ประชาชนสุขภาพดี ลดเสี่ยง ลดโรค ลดตาย แผนงานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ การพัฒนาเชิงระบบ (Backbone) กลไกเฝ้าระวัง ตอบสนองต่อโรคและภัยสุขภาพ ภาวะปกติและฉุกเฉิน การจัดการความรู้ การรับรองมาตรฐาน และการประเมินเทคโนโลยี การพัฒนาสมรรถนะกำลังคนด้านการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ Cluster CD แผนงานควบคุมโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน แผนงานควบคุมโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ แผนงานควบคุมโรคติดต่อจากสัตว์และคน แผนงานควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ แผนงานควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง แผนงานควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล แผนงานควบคุมโรคหนอนพยาธิ Cluster SALT แผนงานการดำเนินงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคเอดส์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ แผนงานควบคุมวัณโรค แผนงานควบคุมโรคเรื้อน โครงการป้องกันและควบคุมโรคตับอักเสบจากไวรัส Cluster NATI แผนงานควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง แผนงานควบคุมการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ แผนงานควบคุมการบริโภคยาสูบ แผนงานควบคุมการบาดเจ็บ Cluster Env/Occ แผนงานควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพ 2. แผนงาน ยุทธศาสตร์ บริหารจัดการขยะ และสิ่งแวดล้อม กลไกการขับเคลื่อน : “อำเภอควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืนภายใต้ระบบสุขภาพอำเภอ” (DHS/DC)

กรอบการ M&E กระทรวงฯ และกรมควบคุมโรค ปี 2560 ยุทธศาสตร์ชาตีระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) องค์กรการประเมินผล ระดับชาติ สศช.,สคลสลน.,สปง. แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐและนโยบายรัฐบาล ครม. แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ 12 ยุทธศาสตร์/นโยบาย ระดับกระทรวงสาธารณสุข เร่งรัด แก้ไขปัญหา ปรับปรุง ทบทวนนโยบายและยุทธศาสตร์ ข้อมูลประกอบการจัดสรรงบประมาณ พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 รัฐธรรมนูญ พ.ศ...... แผนปฏิบัติราชการกระทรวง สธ. ผลการประเมินระดับกระทรวง แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ติดตามประเมินผล รายเดือน : และรายไตรมาส การนำยุทธศาสตร์/นโยบาย สู่การปฏิบัติ นโยบายรัฐบาล/แผนการบริหารราชการแผ่นดิน รมว./รมช./ ปลัดกระทรวง สธ. กรอบการประเมิน ระบบติดตามประเมินผล ระดับกระทรวง สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ผลกระทบ สถานะ สุขภาพ เป้าหมายการให้บริการกรมฯ (PSA)/ ผลผลิตที่ 1 – 17 (SDA) ติดตามประเมินผล ระดับกระทรวง นโยบาย/ยุทธศาสตร์ /แผนงานควบคุมโรค (Small Success) เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ / นโยบายระดับกระทรวง ผลลัพธ์ การติดตาม ประเมินผลระดับกรม คำรับรองการปฏิบัติราชการกรมฯ (PA) แผนยกระดับความมั่นคงและความเป็นเลิศด้านควบคุมโรคของประเทศ (พ.ศ.2560-2564)

ความเชื่อมโยงแผนงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กับการบริหารจัดการงบประมาณ 2560 ปกป้อง ปชช. จากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศด้านวิชาการ แผนปฏิบัติการ 2560 แผนคำขอ งปม ปี 60 ร่างคำขอ งปม ปี 60 1. ยุทธศาสตร์ประเทศ 20 ปี 2. แผนฯ 12 3. นโยบายจัดสรร 4. นโยบายรัฐบาล 5. นโยบาย สธ 6. นโยบายกรมฯ จัดทำแผนงาน/โครงการเพื่อขอ งปม 60 โครงการชุด/กิจกรรม ตามนโยบาย จุดเน้น และแผนการลดโรค นำส่งเป้าหมาย/ผลผลิต ตามเอกสาร งปม. เท่านั้น กรอบคำขอ 1.วิเคราะห์สถานการณ์โรคและภัย 2.GAP จาก RDCP 3.ปัญหาพื้นที่ กรอบทำแผนฯ 1. ทบทวน/จุดเน้นเป้าหมายมาตรการลดโรคชัดเจนและเป็นรูปธรรม 2. จัดทำแผนงาน/โครงการ ปิด GAP สอดคล้องกับกรอบ งปม 3. จัดสรร งปม. รัฐบาล / สนชสงป พ.ย. – ธ.ค. 58 ก.พ. – ก.ย. 59 ผู้บริหาร/ผู้ทรงฯ PM แผนลดโรค (สน/สถ) และสคร. (พื้นที่) เสนอคำขอ พิจารณา งปม. จัดสรร+นำส่งผลผลิต

แผนที่ยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค ปี 2559 - 2563 วิสัยทัศน์ ประสิทธิผล “เป็นองค์กรชั้นนำระดับนานาชาติ ที่สังคมเชื่อถือและไว้วางใจ เพื่อปกป้องประชาชนจากโรคและภัยสุขภาพ ด้วยความเป็นเลิศทางวิชาการ ภายใน ปี 2563 ” ประสิทธิผล ยุทธศาสตร์ที่ 1 สร้างความร่วมมือและสนับสนุนภาคีเครือข่ายภายในประเทศและนานาชาติ เป้าประสงค์ 1.1 ภาคีเครือข่ายระดับประเทศและนานาชาติร่วมมือเพื่อพัฒนางานด้านการป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ เป้าประสงค์ 1.2 ภาคีเครือข่ายระดับพื้นที่ (ทั้งภาคสาธารณสุขและนอกภาคสาธารณสุข : Health & non- health sector) มีเป้าหมายร่วมกันและร่วมดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน คุณภาพ การให้บริการ ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนา นวัตกรรม มาตรการ มาตรฐาน และวิชาการ เฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาบทบาทการนำด้านนโยบายและยุทธศาสตร์ การป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพที่เป็นหลักของประเทศ เป้าประสงค์ 2.1 เป็นศูนย์กลาง นวัตกรรม มาตรการ มาตรฐาน งานวิจัย วิชาการ และข้อมูลอ้างอิง(Evidence Base) ด้านการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ที่ได้มาตรฐานสากล เป้าประสงค์ 2.2 เป็นศูนย์การเรียนรู้และฝึกอบรมด้านการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรค เป้าประสงค์ 3.1 เป็นองค์กรหลักที่กำหนดและผลักดันนโยบายกฎหมาย และยุทธศาสตร์การเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ เป้าประสงค์ 3.2 เป็นศูนย์กลางในการกำกับ ติดตาม ประเมินผล และควบคุมคุณภาพการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพของประเทศ ประสิทธิภาพของ การปฏิบัติราชการ ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาการสื่อสารความเสี่ยงและประชาสัมพันธ์เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 5 เตรียมความพร้อมและการจัดการในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพตามมาตรฐานสากล เป้าประสงค์ 4.1 ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องในการป้องกันควบคุมโรค และภัยสุขภาพ เป้าประสงค์ 4.2 กรมควบคุมโรคมีภาพลักษณ์ที่ดี เป้าประสงค์ 5.1 มีระบบการเฝ้าระวัง เตือนภัย และการพยากรณ์โรคและภัยสุขภาพในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉินที่มีประสิทธิภาพ เป้าประสงค์ 5.2 มีกลไกการจัดการเตรียมความพร้อมและบูรณาการระบบตอบโต้ภาวะฉุกเฉินด้านโรคและภัยสุขภาพที่ได้มาตรฐานสากล (EOC; Staff-Stuff-System) การพัฒนาองค์กร ยุทธศาสตร์ที่ 6 บริหารจัดการองค์การแนวใหม่ เป้าประสงค์ 6.1 ระบบบริหารจัดการองค์การมีธรรมาภิบาลได้มาตรฐานสากลและบุคลากรมีขีดสมรรถนะสูง 39

เป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบสุขภาพยั่งยืน 4 Excellence Strategies 1.Promotion & Prevention Excellence 2.Service Excellence 3.People Excellence 4.Governance Excellence ยุทธศาสตร์ที่ 1 ของแผน 12 (2560-2564) : การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ แผนยุทธศาสตร์ด้านสาธารณสุขเพื่อรองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. 2561-2565 ยุทธศาสตร์เตรียมความพร้อม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคติดต่ออุบัติใหม่แห่งชาติ (พ.ศ.2560 – 2564) ยุทธศาสตร์วัณโรคระดับชาติ พ.ศ.2560-2564 ยุทธศาสตร์ป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์แห่งชาติ พ.ศ.2560-2573 ยุทธศาสตร์การกำจัดโรคไข้มาลาเรียประเทศไทย พ.ศ.2560-2569 แผนปฏิบัติการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อหรือโรคระบาด พ.ศ.2559-2561 แผนพัฒนางานป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพแห่งชาติ ภายใต้แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 1 การพัฒนาภารกิจ โครงสร้าง และกลไกการขับเคลื่อนนโยบายและบริหารจัดการระบบป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 2 การพัฒนาระบบข้อมูลบูรณาการ เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 3 การพัฒนามาตรการที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 4 การพัฒนาความเข้มแข็งแผนงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ 5 การพัฒนาระบบและกลไกรองรับโรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาใหม่ และตอบโต้โรคและภัยสุขภาพทางสาธารณสุขในภาวะฉุกเฉิน 6 การพัฒนากำลังคนเพื่อรองรับระบบการป้องกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

การปฏิรูปบทบาทกระทรวงสาธารณสุข National Health Authority 1. กำหนดนโยบายยุทธศาสตร์กลางของประเทศบนข้อมูล และฐานความรู้ (NHA 1) 2. การสร้างและจัดการความรู้ด้านสุขภาพ และการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ 3. การประเมินนโยบายและเทคโนโลยีด้านสุขภาพ 4. การกำหนดมาตรฐานบริการต่างๆ 5. การพัฒนาระบบกลไกการเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 6. การพัฒนากลไกด้านกฎหมายเพื่อเป็นเครื่องมือพัฒนา และดูแลสุขภาพประชาชน 7. การพัฒนางานสุขภาพโลก และความร่วมมือระหว่าง ประเทศ 8. การกำกับดูแล ติดตาม และประเมินผลของ ภาครัฐ ท้องถิ่น และเอกชน (NHA 8) 9. การให้ข้อคิดเห็นต่อระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพ ของประเทศ 10. การพัฒนาข้อมูลข่าวสารให้เป็นระบบเดียว มีคุณภาพ ใช้งานได้ 11. การกำหนดนโยบายและจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ 12. การพัฒนาเขตสุขภาพ HEALTH SERVICES HEALTH PROMOTION แพทย์ แผนไทย สบส. สุขภาพจิต อนามัย สป. กรมแพทย์ อย. วิทย์ฯ ควบคุมโรค DISEASE CONTROL CONSUMER PROTECTION

กรอบการบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ กรมควบคุมโรค แผนปฏิบัติราชการประจำปี ปชก. 65 ล้านคน แผนฯ สศช นโยบายรัฐบาล / สงป นโยบายกระทรวงฯ สถานการณ์ฯ Government policy Administration POLICY 1 งบ + คน + .... PI : Performance indicators 2 แผนปบัติราชการประจำปี 2557 กรมควบคุมโรค ราชการประจำปี 2557 กรมควบคุมโรค แผนปฏิบัติราชการประจำปี กรมควบคุมโรค PI 1 PI 2 PI 3 PI 4 PI 5 3 KPI 4 5 6 1.M&E By Performance/Budget 2. M&E focus by QUICK WIN / PA Strategies นโยบายเร่งด่วน แก้ปัญหาเขตเมือง, Travel Medicine การป้องกันโรคด้วยวัคซีน, ตับอักเสบ, PHL, รบนอกบ้าน, วิจัยเพื่อพัฒนา ........ * Q 1 * Q 2 Q 3 Q 4 42 QUICK WIN Purpose

จบการนำเสนอ