การเลื่อน Cell และคำสั่งใน Macro

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Microsoft Office Excel 2010
Advertisements

การประยุกต์ใช้โปรแกรม MS-Excel
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
การใช้งาน vi การเรียกโปรแกรม การทำงานของโปรแกรม vi ชื่อไฟล์
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโปรแกรม Microsoft Office Access 2003
Visual Basic 6 By Samaporn Yendee VB6.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียนโปรแกรม GUI
องค์ประกอบพื้นฐาน ของโปรแกรม Visual Basic
VBA : Properties and Method of Ranges
Visual Basic บทที่ 1.
โปรแกรม Microsoft Access
การใช้สูตร Excel x ให้พิมพ์ใน cell ว่า =5.7*1E+6
เรื่อง คีย์ลัดที่ควรทราบ จัดทำโดย ด. ช. ธีธัช สุวัณณวะยัคฆ์ ชั้น ม.2/4 เลขที่ 1 เสนอ อ. ภานุมาศ ชาติทองแดง โรงเรียนวชิรธรรมสาธิต.
Visual Basic .NET 2010 (ทบทวนเรื่อง โปรแกรมควบคุม Control)
การรักษาความปลอดภัยของเอกสาร
เครื่องมือในการจัดการและวิเคราะห์ข้อมูล
Introduction to Flowchart
การใช้งานโปรแกรม Excel เบื้องต้น
Microsoft Excel
บทที่ 9 การส่ง ข้อมูลจาก MS Excel ไปยัง MS Word. การ Add Control ให้
Microsof t Office Excel คุณสมบัติของ โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007  สร้างและแสดงรายงานของข้อมูล ตัวอักษร และ ตัวเลข  อํานวยความสะดวกในด้านการคํานวณต่าง.
Microsoft Excel อาจารย์ผู้สอน :. Section5: การปรับแต่งงานสมุดงาน เบื้องต้น 2 เปิดไฟล์ section5.xlsx.
กิจกรรมอบรมความรู้ด้าน ICT เพื่อส่งเสริมความเท่าเทียม.
ปี 2559 โปรแกรมบันทึกและประมวลผล ข้อมูล จปฐ. และข้อมูลพื้นฐาน
๒๘ มิถุนายน ๒๕๕๙ โดย ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี ๕๗ หมู่ ถ. ชลประทาน ต. โขมง อ. ท่าใหม่ จ.
หนังสือคู่มือของบริษัท เพิ่มสัญลักษณ์ของบริษัทที่นี่ เพื่อที่จะแทรกสัญลักษณ์ ของบริษัท ลงบน ภาพนิ่งนี้ จากเมนู ‘ แทรก ’ ให้เลือก ‘ รูปภาพ ’ ระบุตำแหน่งแฟ้ม.
บทที่ 6 การใช้คำสั่ง อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร.
บทที่ 8 การใช้งาน Control อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร.
Excel for Business Computer สุริเยนทร์ แดงทองดี เอกสารประกอบการอบรม Excel.
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
Microsoft Excel เบื้องต้น
บทที่ 5 การประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์สำนักงาน 2.
การจัดการและวิเคราะห์ข้อมูล
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดสตูล
O365 คืออะไร ? Office 365 คือบริการการใช้งานโปรแกรม Office บนเครื่องคอมพิวเตอร์ และมือถือ และบริการพื้นที่ ออนไลน์ฟรีในการเก็บข้อมูล OneDrive การสื่อสารผ่าน.
บทที่ 7 การสร้างกล่องรับข้อความ และ User Form
บทที่ 5 การใช้คำสั่ง Select Case , For Next และ Do While
Microsoft Visual Basic 2010
การเลื่อน Cell และคำสั่งใน Macro
บทที่ 10 การเชื่อมต่อฐานข้อมูล
บทที่ 3 การพัฒนาโปรแกรมโดยเขียนคำสั่ง VBA
Introduction to VB2010 EXPRESS
สื่อการสอนรายวิชา ง30204 โปรแกรมภาษาชี ภาษาคอมพิวเตอร์และโปรแกรม
เมื่อเข้าสู่โปรแกรมจะแสดงหน้าจอสำหรับตรวจสอบสิทธิผู้ปฏิบัติงาน รหัสที่ใช้ต้องเป็นรหัสนายทะเบียนหรือผู้ช่วยนายทะเบียน และต้องมีสิทธิในการใช้งานฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร.
การใช้งานโปรแกรม Microsoft Access
พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
EXCEL (intermediate) By Nuttapong S..
วิธีการคำนวณค่าระดับเสียงเฉลี่ย
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการฝึกอบรมครู
บทที่ 4 ฐานข้อมูล.
อ่านทั้งหมด Microsoft ข่าวสาร SharePoint
บทที่ 9 ระบบปฏิบัติการ Windows
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา
การรัน-การใช้ IntelliSense-แก้ข้อผิดพลาด
Learning Tableau: Chapter 5
ปฏิบัติการที่ 05 การดำเนินการกับเมทริกซ์
Academic Search Premier
โปรแกรมย่อย (Sub Program)
ปฏิบัติการที่ 06 การใช้ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ และการสร้างมาโครใน Excel
ปฏิบัติการที่ 10 การหาค่าเหมาะที่สุดโดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
สอนอย่างมืออาชีพ หยุดยั้งพฤติกรรมเสี่ยง
อุทธรณ์,ฎีกา.
หลักการคำนวณค่าทางสถิติพื้นฐาน
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
Basic Excel for data management
CIT2205 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการฐานข้อมูล
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเลื่อน Cell และคำสั่งใน Macro บทที่ 2 การเลื่อน Cell และคำสั่งใน Macro อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

VBA และ Macro VBA (Visual Basic for Application) เป็นเครื่องมือที่ใช้พัฒนา Application ใน Microsoft Office โดยใช้ภาษา Visual Basic แมโคร (Macro) เป็นสามารถบันทึกการทำงานที่เกิดขึ้นจริงก่อน แล้วจึงเรียกมาใช้งานภายหลัง ซึ่งโปรแกรมจะสร้างคำสั่งเป็นภาษา VBA ให้อัตโนมัติ โดยสามารถแก้ไขเพิ่มเติมคำสั่งได้ Form การทำงานในรูปแบบที่เป็น Graphic มากขึ้นสามารถใช้ Form มารับค่าต่างๆ และนำไปประมวลผล และนำมาจัดการกับ Cell ต่างๆใน Excel ได้ ซึ่งภาษาที่ใช้พัฒนา Application คือ VBA โดยผู้พัฒนาสามารถเขียนคำสั่งเองทั้งหมด

โพรซีเยอร์ (Procedures) เป็นชุดคำสั่งที่ควบคุมการทำงานใน Application แบ่งเป็น 2 ชนิดคือ 1. ซับโพรซีเยอร์ (Sub Procedure) 2. ฟังก์ชันโพรซีเยอร์ (Function Procedure) การบ้านให้ไปหาว่า 1. ซับโพรซีเยอร์ (Sub Procedure) และ ฟังก์ชันโพรซีเยอร์ (Function Procedure) ต่างกันอย่างไร

การไปที่รายการถัดไป การไปที่รายการแบบ Absolute คือการไปที่ Cell เดิมเสมอไม่ว่าจะ Run Macro กี่ครั้ง การไปที่รายการแบบ Relative คือการไปที่ Cell หรือบรรทัดถัดจากข้อมูลที่มีอยู่ในการ Run Macro

ให้นิสิตดูขั้นตอนการสร้าง Macro

ขั้นตอนการไปแบบ Absolute 1. Click Mouse ที่cell A1 2. Click ปุ่ม Record Macro 3. ตั้งชื่อ Macro “ AbsoluteMove” > OK 4. Click Mouse ที่ B2 5. กด End > กด ลูกศรเลื่อนลง 6. ไม่เลือก Relative Reference (กำหนดการไปแบบ Absolute) 7. กดลูกศรลงอีกครั้ง 8. Stop Recording 9. สร้างปุ่มให้ Macro เลือก Macro ชื่อ AbsoluteMove

ขั้นตอนการไปแบบ Relative 1. Click Mouse ที่cell A1 2. Click ปุ่ม Record Macro 3. ตั้งชื่อ Macro “ RelativeMove” > OK 4. Click Mouse ที่ B2 5. กด End > กด ลูกศรเลื่อนลง 6. เลือก Relative Reference (กำหนดการไปแบบ Relative ) 7. กดลูกศรลงอีกครั้ง 8. Stop Recording 9. สร้างปุ่มให้ Macro เลือก Macro ชื่อ RelativeMove

การ Copy ผลรวมไปไว้ด้านล่าง 2 บรรทัด (1) บันทึกข้อมูลใน Excel ตามหน้าจอ

การ Copy ผลรวมไปไว้ด้านล่าง 2 บรรทัด (2) ขั้นตอน 1. Click Mouse ที่cell A1 2. Click ปุ่ม Record Macro 3. ตั้งชื่อ Macro “ CopyFormula” > OK 4. กำหนดการทำงานให้เป็นแบบ Absolute (นั่นคือไม่เลือกปุ่ม Relative Reference ) 5. Click Mouse ที่ B2 6. กด End > กด ลูกศรเลื่อนลง 7. เลือก Relative Reference (กำหนดการไปแบบ Relative ) 8. กด Shift ค้างไว้ + กด End + กด ลูกศรไปทางขวา จากนั้นปล่อย Shift 9. กด Ctrl + c 10. กดลูกศรลง 2 ครั้ง 11. Click เมนู Edit > Past Special.. > Value > OK 12. กด Esc > Click ยกเลิกการเลือก Relative Reference (กำหนดการไปแบบ Absolute ) > Click Mouse ไปที่cell A1 13. Stop Recording 14. สร้างปุ่มให้ Macro เลือก Macro ชื่อ CopyFormula

การ Copy ผลรวมไปไว้ด้านล่าง 2 บรรทัด (3) การทดสอบ Macro แบบที่ 1 1. ให้ลบข้อมูล Cell B8:F8 แล้วกดปุ่ม Copy Formula จะพบว่า Cell B8:F8 กลับมาเหมือนเดิม การทดสอบ Macro แบบที่ 2 1. ให้แทรกรายการเช่น ค่าอาหาร ค่าที่พัก แล้วค่าใช้จ่ายรวมจะคำนวณใหม่ 2. ลบ Cell B10:F10 ตามรูป 3. กดปุ่ม Copy Formula จะพบว่า Cell B10:F10 กลับมาเหมือนเดิม โดยจะเป็นค่าที่ถูกคำนวณขึ้นมาใหม่โดยเป็นค่าใช้จ่ายรวมที่ถูกต้อง

คำสั่งใน Excel Range(“Cell”).Select คือ เลือกช่วงของ Cell เช่น Range(“B2”).Select Range(“A1,A2,B1,B2”).Select Rang(“A1:D1”).Select

ให้นิสิตเริ่มทำความเข้าใจคำสั่งที่ Macro สร้างขึ้น และให้ดูว่าคำสั่งต่อไปนี้เป็นคำตอบของแบบฝึกหัดใด 1. Range("B2:H4").Select 2. Range("B2").Select 3. Range("B2,D2,D4,F2,H2").Select Range("H2").Activate

แบบฝึกหัด 1 1. Click Mouse ที่cell A1 2. Click ปุ่ม Record Macro 3. ตั้งชื่อ Macro “ Rang_01” > OK 4. Click Mouse ที่ B2 5. Stop Recording 6. ให้ดูคำสั่งแล้วเติมคำตอบ

แบบฝึกหัด 2 1. Click Mouse ที่cell A1 2. Click ปุ่ม Record Macro 3. ตั้งชื่อ Macro “ Rang_02” > OK 4. Click Mouse ที่ B2 5. กด Ctrl แล้วเลือก D2, D4,F2, H2 6. Stop Recording 7. ให้ดูคำสั่งแล้วเติมคำตอบ

แบบฝึกหัด 3 1. Click Mouse ที่cell A1 2. Click ปุ่ม Record Macro 3. ตั้งชื่อ Macro “ Rang_03” > OK 4. Click Mouse ที่ B2 5. กด Shift แล้วเลือก B2 ถึง H4 6. Stop Recording 7. ให้ดูคำสั่งแล้วเติมคำตอบ

ให้นิสิตทำแบบฝึกหัดและสังเกตุคำสั่งที่เกิดขึ้น และดูความหมายของคำสั่ง

การเลื่อน Cell แบบ Absolute (Macro1) 1. Range("C11").Select เริ่มเลือกที่ Cell C11 2. Selection.End(xlDown).Select กด End แล้วกด Down 1 ครั้ง 3. Range("C14:D14").Select เลือกใน Mode Absolute โดย (กด Ship + >) ความหมายของโปรแกรมคือเลือกเท่านั้น เหตุการณ์ในการทำงาน 1. ไปที่ A1 2. Record Macro (Macro1) 3. เริ่มต้นเลือกที่ Cell C11 4. กด End แล้ว กดลูกศรลง 5. กด Ship + ลูกศรไปทางขวา (เลือก Cell C14:D14) 6. Stop Recording

การเลื่อน Cell แบบ Absolute (Macro2) Range("C11").Select Selection.End(xlDown).Select Range(Selection, Selection.End(xlToRight)).Select เหตุการณ์ในการทำงาน 1. ไปที่ A1 2. Record Macro (Macro2) 3. เริ่มต้นเลือกที่ Cell C11 4. กด End แล้ว กดลูกศรลง 5. กด Ship + End + ลูกศรไปทางขวา 6. Stop Recording

การเลื่อน Cell แบบ Relative (Macro3) Range("C11").Select Selection.End(xlDown).Select ActiveCell.Range("A1:B1").Select เหตุการณ์ในการทำงาน 1. ไปที่ A1 2. Record Macro (Macro3) 3. เริ่มต้นเลือกที่ Cell C11 4. กด End แล้ว กดลูกศรลง ทำให้ ActiveCell อยู่ที่ C14 5. เลือก Relative Reference 6. กด Ship + ลูกศรไปทางขวา (เลือก Cell C14:D14) 7. Stop Recording

การเลื่อน Cell แบบ Relative (Macro4) Range("C11").Select Selection.End(xlDown).Select Range(Selection, Selection.End(xlToRight)).Select เหตุการณ์ในการทำงาน 1. ไปที่ A1 2. Record Macro (Macro4) 3. เริ่มต้นเลือกที่ Cell C11 4. กด End แล้ว กดลูกศรลง ทำให้ ActiveCell อยู่ที่ C14 5. เลือก Relative Reference 6. กด Ship +End+ ลูกศรไปทางขวา (เลือก Cell C14:D14) 7. Stop Recording

การเคลื่อนย้ายไปยัง Cell ที่ว่างหลังข้อมูลแบบ Relative Sub GotoNewCellRelative() Range("B2").Select Selection.End(xlDown).Select ActiveCell.Offset(1, 0).Range("A1").Select End Sub เหตุการณ์ในการทำงาน 1. ไปที่ A1 2. Record Macro (GotoNewCellRelative) 3. เริ่มต้นเลือกที่ Cell B2 4. กด End แล้ว กดลูกศรลง ทำให้ ActiveCell อยู่ที่ B6 5. เลือก Relative Reference 6. เลื่อนลูกศรลงอีกครั้ง 7. Stop Recording

การเคลื่อนย้ายไปยัง Cell ที่ว่างหลังข้อมูลแบบ Absolute Sub GotoNewCellAbsolute() Range("B2").Select Selection.End(xlDown).Select Range("B7").Select End Sub ขั้นตอนในการทำงาน 1. ไปที่ A1 2. Record Macro (GotoNewCellAbsolute) 3. เริ่มต้นเลือกที่ Cell B2 4. กด End แล้ว กดลูกศรลง ทำให้ ActiveCell อยู่ที่ B6 5. เลือก Relative Reference เพื่อยกเลิก (เพราะต้องการให้เป็น absolute แต่ถ้าเป็น Absolute อยู่ก่อนแล้ว คือปุ่มนั้นไม่ได้เลือกอยู่ก่อนแล้วให้ข้ามไปไม่ต้องเลือกอะไรเลย) 6. เลื่อนลูกศรลงอีกครั้ง 7. Stop Recording

สรุปคำสั่ง Activecell = Cell ที่กำลังทำงานอยู่ Activecell.offset(1,0).Range(“A1”).Select เป็นคำสั่งให้กระโดดไปแบบ Relative โดยที่ใน (1,0) หมายถึง ให้เลื่อนไป 1 Row 0 Column จากที่ Activecell ตำแหน่ง(Row,Column) Row เป็นบวก จะเลื่อนลง Row เป็นลบ จะเลื่อนขึ้น Column เป็นบวก จะเลื่อนไปทางขวามือ Column เป็นลบ จะเลื่อนไปทางซ้ายมือ นั่นคือ ถ้าตัวเลขเป็นบวก จะเป็นการเลื่อนลง หรือไปทางขวามือ ถ้าตัวเลขเป็นลบ จะเป็นการเลื่อนขึ้นหรือไปทางซ้ายมือ

สรุปคำสั่ง กดปุ่ม End แล้วกดปุ่มลูกศรลง - Selection.End(xlDown).Select - Selection.End(xlUp).Select กดปุ่ม End แล้วกดปุ่มลูกศรไปทางขวา - Selection.End(xlToRight).Select กดปุ่ม End แล้วกดปุ่มลูกศรไปทางซ้าย - Selection.End(xlToLeft).Select

สรุปคำสั่ง คำสั่งบอกตำแหน่ง Cell ActiveCell.Address

หนังสืออ้างอิง เรียนลัด VBA บน Excel, วิศัลย์ พัวรุ่งโรจน์ Excel VBA Programming, วิชา ศิริธรรมจักร์ และสุรเชษฐ์ วงศ์ชัยพรพงษ์