ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2559.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 3 Data Representation (การแทนข้อมูล)
Advertisements

ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การสอนภาษาอังกฤษเพื่อ วิชาการและงานอาชีพ
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนเศรษฐกิจ พอเพียงบ้านซ่อง อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา
สาระที่ ๒ การเขียน.
การบริหารจัดการโครงการ และการเบิกจ่ายงบประมาณ
ศึกษาข้อมูลท้องถิ่นบ้านสนาม
Application of Electron Paramagnetic Resonance (EPR)
Lubna Shamshad (Ph.D Student) Supervisor Dr.GulRooh
Q n° R n°.
อาคารสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา (สพป./สพม.)
อ. ปิยวรรณ โถปาสอน
Chapter 3 Design of Discrete-Time control systems Frequency Response
ยินดีต้อนรับ นสต. ภ.๙.
การส่งเสริมจริยธรรมและคุณธรรม เพื่อการป้องกันการทุจริต
พอช.องค์การมหาชนของชุมชนไทย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
หน่วยที่ 2 การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
Multiple Input Multiple Output (MIMO)
บทที่ 7 TAS 17 (ปรับปรุง 2558): สัญญาเช่า (Leases)
หลักการสร้างมาตรวัดทางจิตวิทยา
โครงการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพงาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แนวการตรวจสอบภายใน การตรวจสอบรถราชการ
ทะเบียนราษฎร.
นายธนวิทย์ โพธิ์พฤกษ์ เลขที่ 8 นายอนุสรณ์ ขำหลง เลขที่ 29
เรื่อง การบริหารการศึกษาตาม พ.ร.บ ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ
เอกสารประกอบการบรรยายครั้ง ๒ วิชาซื้อขาย - เช่าทรัพย์ - เช่าซื้อ
ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
บทที่ 12 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์และการถดถอย
DATA STRUCTURES AND ALGORITHMS
ขั้นตอนการจัดตั้งกลุ่มส่งเสริมอาชีพ จังหวัดนครราชสีมา ปี ๒๕๕๘/๕๙
หลักการจัดกิจกรรมนันทนาการ
การประชุมผู้บริหารระดับสูงกระทรวงวัฒนธรรม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๐
การเบิกจ่ายเงินเกี่ยวกับค่าใช้จ่าย ในการบริหารงานของส่วนราชการ
การแก้ไขปัญหา สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนคลองจั่น จำกัด
ขั้นตอนของกิจกรรม : ปฏิบัติเป็นประจำ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ตอนที่ 2.๒ บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรระดับอำเภอ
บทที่ 4 การกระจาย อำนาจด้านการคลัง
งานเงินสมทบและการตรวจสอบ
ยินดีต้อนรับเข้าสู่บทเรียนคอมพิวเตอร์ วัยรุ่นไทยใส่ใจวัฒนธรรม เรื่อง
การพัฒนาระบบบริหารจัดการกำลังคนด้านสุขภาพ “การพัฒนาบุคลากร”
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ในโครงการฯ
วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม 2559 วิทยาลัยเทคโนโลยีอักษรพัทยา
วิชาสังคมศึกษา ม.3 สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม.
มหาวิยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยาง รายย่อยเพื่อประกอบอาชีพเสริม
ความหมายของหนี้สาธารณะ
การจัดการชั้นเรียน.
การบริหารการเงิน ในสถานศึกษา
องค์ประกอบและผลกระทบของธุรกิจไมซ์
โคลง ร่าย และ โดยครูธาริตา นพสุวรรณ
Matrix 1.Thamonaporn intasuwan no.7 2.Wannisa chawlaw no.13 3.Sunita taoklang no.17 4.Aungkhana mueagjinda no.20.
สมาชิกโต๊ะ 1 นายสุรวินทร์ รีเรียง นายภาณุวิชญ์ อนุศรี
นำเสนอ วัดเกาะชัน ด.ช.ปกรณ์ ร้อยจันทร์ ม.2/7 เลขที่ 19
รศ.ดร.อนันต์ จันทรโอภากร
การเขียนวิจารณ์วรรณกรรม ๒
การยืมเงิน จากแหล่งเงินงบประมาณรายได้
วิชา หลักการตลาด บทที่ 7 การออกแบบกลยุทธ์ราคา
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘ สาระสำคัญพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ พ.ศ.๒๕๕๘.
การบัญชีตามความรับผิดชอบและ การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ตำบลหนองพลับ ประวัติความเป็นมา
แบบทดสอบ เรื่อง ความน่าจะเป็น.
การปฏิรูประบบศาลยุติธรรม หลังรัฐประหาร 2557
ธาตุ สารประกอบ และปฏิกิริยาเคมี
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
การบริหารหลักสูตร ความหมาย : การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการทำหลักสูตร และเอกสารประกอบหลักสูตร ไปสู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริงหรือกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามเป้าหมายที่กำหนดไว้ในหลักสูตรโดยอาศัยการสนับสนุนและร่วมมือจากบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการใช้หลักส
PHYSICS by P’Tum LINE
การพิจารณาสัญชาติของบุคคล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน “สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน” วันอังคารที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2559

ปรัชญา วิสัยทัศน์ ส่งเสริมวิชาการ รักษามาตรฐาน บริการด้วยน้ำใจ ส่งเสริมวิชาการ รักษามาตรฐาน บริการด้วยน้ำใจ วิสัยทัศน์ สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน เป็นองค์กรที่ทันสมัย ให้บริการถูกต้อง รวดเร็ว

พันธกิจ ส่งเสริมการจัดการศึกษาทั้งในระดับปริญญาตรี และบัณฑิตศึกษา พัฒนาระบบงานให้บริการวิชาการ

ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สรุปผลการดำเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2558

ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมที่ 1 ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของหน่วยงานเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจกลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ของหน่วยงาน ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมที่ 1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมที่ 2 ร้อยละความพึงพอใจการให้บริการในภาพรวม ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมที่ 3 ร้อยละความสำเร็จของการนำเข้าข้อมูลนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาขึ้นฐานข้อมูล สกอ. ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมที่ 4 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา APR-NSRU

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของหน่วยงานเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจกลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ของหน่วยงาน ข้อที่ เกณฑ์การประเมิน การดำเนินงาน 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน รวมทั้งสอดคล้องกับกลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ของหน่วยงาน และพัฒนาไปสู่แผนกลยุทธ์ทางการเงินและแผนปฏิบัติการประจำปีตามกรอบเวลาเพื่อให้บรรลุตามตัวบ่งชี้และเป้าหมายของแผนกลยุทธ์และเสนอผู้บริหารระดับสถาบันเพื่อพิจารณาอนุมัติ ดำเนินการ 3 ดำเนินงานตามแผนบริหารความเสี่ยงที่เป็นผลจากการวิเคราะห์และระบุปัจจัยเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากปัจจัยภายนอก หรือปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ที่ส่งผลต่อการดำเนินงานตามพันธกิจและให้ระดับความเสี่ยงลดลงจากเดิม 4 บริหารงานด้วยหลักธรรมาภิบาลอย่างครบถ้วนทั้ง 10 ประการ ที่อธิบายการดำเนินงานอย่างชัดเจน ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต คำอธิบาย 1. การให้บริการถือเป็นภาระงานตามพันธกิจหลักของสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ในฐานะหน่วยงานสนับสนุนการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ซึ่งการให้บริการต่างๆผ่านเคาน์เตอร์ของหน่วยงานปัจจุบันมีมากกว่า 12 รายการ ซึ่งจำเป็นจะต้องรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ นักศึกษาผู้รับบริการ 2. ระดับคะแนนพิจารณาจากระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยของผู้รับบริการที่ได้รับบริการตามรอบระยะเวลามาตรฐาน โดยเปรียบเทียบกับผู้รับบริการทั้งหมดในแต่ละกระบวนงาน 3. รอบระยะเวลามาตรฐาน หมายถึง ระยะเวลาให้บริการตามที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด ซึ่งได้มาจากผลการวิเคราะห์ระยะเวลาการให้บริการที่ทุกมหาวิทยาลัยสามารถดำเนินการลดได้จริง และได้แจ้งระยะเวลาให้บริการดังกล่าวเป็นผลการปฏิบัติราชการ ณ สิ้นปีงบประมาณ 4. ตามแบบฟอร์ม 1 ที่สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนคัดเลือกกระบวนงานเพื่อนำมาประเมินผล สำนักส่งเสริมวิชาการต้องขอเพิ่มเติมเงื่อนไขในกระบวนงาน ดังนี้ การให้บริการเอกสารที่ต้องมีการเสนอเซ็นต่อผู้บริหารโดยจะไม่นับระยะเวลาในการรอเซ็นอนุมัติเอกสาร

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 การบริหารของหน่วยงานเพื่อการกำกับติดตามผลลัพธ์ตามพันธกิจกลุ่มสถาบันและเอกลักษณ์ของหน่วยงาน ข้อที่ เกณฑ์การประเมิน การดำเนินงาน 5 ค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีจากความรู้ทั้งที่มีอยู่ในตัวบุคคล ทักษะของผู้มีประสบการณ์ตรง และแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ ตามประเด็นความรู้ อย่างน้อยครอบคลุมพันธกิจด้านการผลิตบัณฑิตและด้านการวิจัย จัดเก็บอย่างเป็นระบบโดยเผยแพร่ออกมาเป็นลายลักษณ์อักษรและนำมาปรับใช้ในการปฏิบัติงานจริง ดำเนินการ 6 การกำกับติดตามผลการดำเนินงานตามแผนการบริหารและแผนพัฒนาบุคลากรสายวิชาการและสายสนับสนุน 7 ดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในตามระบบและกลไกที่เหมาะสมและสอดคล้องกับพันธกิจและพัฒนาการของคณะที่ได้ปรับให้การดำเนินงานด้านการประกันคุณภาพเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารงานคณะตามปกติที่ประกอบด้วย การควบคุมคุณภาพ การตรวจสอบคุณภาพ และการประเมินคุณภาพ ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต คำอธิบาย 1. การให้บริการถือเป็นภาระงานตามพันธกิจหลักของสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ในฐานะหน่วยงานสนับสนุนการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ซึ่งการให้บริการต่างๆผ่านเคาน์เตอร์ของหน่วยงานปัจจุบันมีมากกว่า 12 รายการ ซึ่งจำเป็นจะต้องรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ นักศึกษาผู้รับบริการ 2. ระดับคะแนนพิจารณาจากระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยของผู้รับบริการที่ได้รับบริการตามรอบระยะเวลามาตรฐาน โดยเปรียบเทียบกับผู้รับบริการทั้งหมดในแต่ละกระบวนงาน 3. รอบระยะเวลามาตรฐาน หมายถึง ระยะเวลาให้บริการตามที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด ซึ่งได้มาจากผลการวิเคราะห์ระยะเวลาการให้บริการที่ทุกมหาวิทยาลัยสามารถดำเนินการลดได้จริง และได้แจ้งระยะเวลาให้บริการดังกล่าวเป็นผลการปฏิบัติราชการ ณ สิ้นปีงบประมาณ 4. ตามแบบฟอร์ม 1 ที่สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนคัดเลือกกระบวนงานเพื่อนำมาประเมินผล สำนักส่งเสริมวิชาการต้องขอเพิ่มเติมเงื่อนไขในกระบวนงาน ดังนี้ การให้บริการเอกสารที่ต้องมีการเสนอเซ็นต่อผู้บริหารโดยจะไม่นับระยะเวลาในการรอเซ็นอนุมัติเอกสาร

จุดแข็ง มีการวางนโยบาย และแนวทางในการปฏิบัติงานอย่างชัดเจน เป็นรูปธรรม เปิดโอกาสให้บุคลากรเข้ามามีส่วนร่วมในการกำหนดทิศทาง และวางแผนการดำเนินงาน มีการมอบหมายงานตรงกับความสามารถของบุคลากร และส่งเสริมให้มีการดำเนินงานเป็นทีม ข้อเสนอแนะ ควรมีการกำกับติดตามการดำเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม ควรเพิ่มเติมความรู้ความเข้าใจด้านการประกันคุณภาพการศึกษาภายในแก่บุคลากรทุกคนให้ เกิดความเข้าใจในการดำเนินงานที่ถูกต้อง ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต คำอธิบาย 1. การให้บริการถือเป็นภาระงานตามพันธกิจหลักของสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ในฐานะหน่วยงานสนับสนุนการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ซึ่งการให้บริการต่างๆผ่านเคาน์เตอร์ของหน่วยงานปัจจุบันมีมากกว่า 12 รายการ ซึ่งจำเป็นจะต้องรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ นักศึกษาผู้รับบริการ 2. ระดับคะแนนพิจารณาจากระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยของผู้รับบริการที่ได้รับบริการตามรอบระยะเวลามาตรฐาน โดยเปรียบเทียบกับผู้รับบริการทั้งหมดในแต่ละกระบวนงาน 3. รอบระยะเวลามาตรฐาน หมายถึง ระยะเวลาให้บริการตามที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด ซึ่งได้มาจากผลการวิเคราะห์ระยะเวลาการให้บริการที่ทุกมหาวิทยาลัยสามารถดำเนินการลดได้จริง และได้แจ้งระยะเวลาให้บริการดังกล่าวเป็นผลการปฏิบัติราชการ ณ สิ้นปีงบประมาณ 4. ตามแบบฟอร์ม 1 ที่สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนคัดเลือกกระบวนงานเพื่อนำมาประเมินผล สำนักส่งเสริมวิชาการต้องขอเพิ่มเติมเงื่อนไขในกระบวนงาน ดังนี้ การให้บริการเอกสารที่ต้องมีการเสนอเซ็นต่อผู้บริหารโดยจะไม่นับระยะเวลาในการรอเซ็นอนุมัติเอกสาร ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน คะแนนที่ได้ หมายเหตุ 5 ข้อ 6 ข้อ 5 คะแนน

ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมที่ 1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ ตารางและสูตรการคำนวณ : 𝑥1∗100 𝑦1 + 𝑥2∗100 𝑦2 + 𝑥3∗100 𝑦3 + 𝑥4∗100 𝑦4 โดยที่ : X1…4 หมายถึง จำนวนผู้รับบริการที่ได้รับบริการตามรอบระยะเวลามาตรฐานตามไตรมาส Y1…4 หมายถึง จำนวนผู้รับบริการทั้งหมดที่ได้รับบริการในแต่ละงานตามไตรมาส เกณฑ์การให้คะแนน ใช้การเทียบบัญญัติไตรยางศ์ กำหนดร้อยละ 80 เท่ากับ 5 คะแนน ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต คำอธิบาย 1. การให้บริการถือเป็นภาระงานตามพันธกิจหลักของสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ในฐานะหน่วยงานสนับสนุนการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ซึ่งการให้บริการต่างๆผ่านเคาน์เตอร์ของหน่วยงานปัจจุบันมีมากกว่า 12 รายการ ซึ่งจำเป็นจะต้องรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ นักศึกษาผู้รับบริการ 2. ระดับคะแนนพิจารณาจากระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยของผู้รับบริการที่ได้รับบริการตามรอบระยะเวลามาตรฐาน โดยเปรียบเทียบกับผู้รับบริการทั้งหมดในแต่ละกระบวนงาน 3. รอบระยะเวลามาตรฐาน หมายถึง ระยะเวลาให้บริการตามที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด ซึ่งได้มาจากผลการวิเคราะห์ระยะเวลาการให้บริการที่ทุกมหาวิทยาลัยสามารถดำเนินการลดได้จริง และได้แจ้งระยะเวลาให้บริการดังกล่าวเป็นผลการปฏิบัติราชการ ณ สิ้นปีงบประมาณ 4. ตามแบบฟอร์ม 1 ที่สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนคัดเลือกกระบวนงานเพื่อนำมาประเมินผล สำนักส่งเสริมวิชาการต้องขอเพิ่มเติมเงื่อนไขในกระบวนงาน ดังนี้ การให้บริการเอกสารที่ต้องมีการเสนอเซ็นต่อผู้บริหารโดยจะไม่นับระยะเวลาในการรอเซ็นอนุมัติเอกสาร

ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมที่ 1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ กระบวนงานที่ประเมิน จำนวน 11 กระบวนงาน ดังนี้ 1. (นว.05)-คำร้องขอลาป่วยหรือลากิจ 2. (นว.07)-คำร้องขอยืนยันการลงทะเบียนเรียน 3. (นว.08)-คำร้องขอจองรายวิชาล่าช้า 4. (นว.09)-คำร้องขอถอนรายวิชา 5. (นว.10)-คำร้องขอยกเลิกวิชาเรียน 6. (นว.11)-คำร้องขอเปลี่ยนรหัสวิชา 7. (นว.12)-คำร้องขอคืนสภาพนักศึกษา 8. (นว.13)-คำร้องขอลาพักการเรียนตลอดภาคการศึกษา 9. (นว.14)-คำร้องขอลาออกจากการเป็นนักศึกษา 10. (นว.15)-คำร้องขอใบแทนบัตร,ใบ นว.3,ใบแสดงผลการเรียน,คำอธิบายรายวิชา 11. (นว.23)-คำร้องขอเพิ่มรายวิชา ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต คำอธิบาย 1. การให้บริการถือเป็นภาระงานตามพันธกิจหลักของสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ในฐานะหน่วยงานสนับสนุนการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ซึ่งการให้บริการต่างๆผ่านเคาน์เตอร์ของหน่วยงานปัจจุบันมีมากกว่า 12 รายการ ซึ่งจำเป็นจะต้องรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ นักศึกษาผู้รับบริการ 2. ระดับคะแนนพิจารณาจากระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยของผู้รับบริการที่ได้รับบริการตามรอบระยะเวลามาตรฐาน โดยเปรียบเทียบกับผู้รับบริการทั้งหมดในแต่ละกระบวนงาน 3. รอบระยะเวลามาตรฐาน หมายถึง ระยะเวลาให้บริการตามที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด ซึ่งได้มาจากผลการวิเคราะห์ระยะเวลาการให้บริการที่ทุกมหาวิทยาลัยสามารถดำเนินการลดได้จริง และได้แจ้งระยะเวลาให้บริการดังกล่าวเป็นผลการปฏิบัติราชการ ณ สิ้นปีงบประมาณ 4. ตามแบบฟอร์ม 1 ที่สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนคัดเลือกกระบวนงานเพื่อนำมาประเมินผล สำนักส่งเสริมวิชาการต้องขอเพิ่มเติมเงื่อนไขในกระบวนงาน ดังนี้ การให้บริการเอกสารที่ต้องมีการเสนอเซ็นต่อผู้บริหารโดยจะไม่นับระยะเวลาในการรอเซ็นอนุมัติเอกสาร

ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมที่ 1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ ผลการดำเนินงาน ชื่อคำร้อง จำนวน ตรงตามเวลา ร้อยละ (นว.05)-คำร้องขอลาป่วยหรือลากิจ 5 100 (นว.07)-คำร้องขอยืนยันการลงทะเบียนเรียน 1,542 1,223 79.31 (นว.08)-คำร้องขอจองรายวิชาล่าช้า 4 3 75 (นว.09)-คำร้องขอถอนรายวิชา 7 6 85.71 (นว.10)-คำร้องขอยกเลิกวิชาเรียน (นว.11)-คำร้องขอเปลี่ยนรหัสวิชา 2 66.67 (นว.12)-คำร้องขอคืนสภาพนักศึกษา 151 116 76.82 (นว.13)-คำร้องขอลาพักการเรียนตลอดภาคการศึกษา 396 317 80.05 (นว.14)-คำร้องขอลาออกจากการเป็นนักศึกษา 162 121 74.69 (นว.15)-คำร้องขอใบแทนบัตร,ใบ นว.3,ใบแสดงผลการเรียน, คำอธิบายรายวิชา 1,005 509 50.65 (นว.23)-คำร้องขอเพิ่มรายวิชา 2,681 2,309 86.12 รวม 5,961 4,616 77.44 ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต คำอธิบาย 1. การให้บริการถือเป็นภาระงานตามพันธกิจหลักของสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ในฐานะหน่วยงานสนับสนุนการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ซึ่งการให้บริการต่างๆผ่านเคาน์เตอร์ของหน่วยงานปัจจุบันมีมากกว่า 12 รายการ ซึ่งจำเป็นจะต้องรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ นักศึกษาผู้รับบริการ 2. ระดับคะแนนพิจารณาจากระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยของผู้รับบริการที่ได้รับบริการตามรอบระยะเวลามาตรฐาน โดยเปรียบเทียบกับผู้รับบริการทั้งหมดในแต่ละกระบวนงาน 3. รอบระยะเวลามาตรฐาน หมายถึง ระยะเวลาให้บริการตามที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด ซึ่งได้มาจากผลการวิเคราะห์ระยะเวลาการให้บริการที่ทุกมหาวิทยาลัยสามารถดำเนินการลดได้จริง และได้แจ้งระยะเวลาให้บริการดังกล่าวเป็นผลการปฏิบัติราชการ ณ สิ้นปีงบประมาณ 4. ตามแบบฟอร์ม 1 ที่สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนคัดเลือกกระบวนงานเพื่อนำมาประเมินผล สำนักส่งเสริมวิชาการต้องขอเพิ่มเติมเงื่อนไขในกระบวนงาน ดังนี้ การให้บริการเอกสารที่ต้องมีการเสนอเซ็นต่อผู้บริหารโดยจะไม่นับระยะเวลาในการรอเซ็นอนุมัติเอกสาร

ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมที่ 1 ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนักในการรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ การคำนวณ : 4,616 5,961 𝑋100 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงาน = ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงาน = 77.44 77.44 80 𝑋 5 แปลงร้อยละที่ได้เป็นคะแนน = ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงาน = 4.84 คะแนน ชนิดของตัวบ่งชี้ : ผลผลิต คำอธิบาย 1. การให้บริการถือเป็นภาระงานตามพันธกิจหลักของสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ในฐานะหน่วยงานสนับสนุนการจัดการศึกษาของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ซึ่งการให้บริการต่างๆผ่านเคาน์เตอร์ของหน่วยงานปัจจุบันมีมากกว่า 12 รายการ ซึ่งจำเป็นจะต้องรักษามาตรฐานระยะเวลาการให้บริการ เพื่อสร้างความพึงพอใจแก่ นักศึกษาผู้รับบริการ 2. ระดับคะแนนพิจารณาจากระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยของผู้รับบริการที่ได้รับบริการตามรอบระยะเวลามาตรฐาน โดยเปรียบเทียบกับผู้รับบริการทั้งหมดในแต่ละกระบวนงาน 3. รอบระยะเวลามาตรฐาน หมายถึง ระยะเวลาให้บริการตามที่สำนักงาน ก.พ.ร. กำหนด ซึ่งได้มาจากผลการวิเคราะห์ระยะเวลาการให้บริการที่ทุกมหาวิทยาลัยสามารถดำเนินการลดได้จริง และได้แจ้งระยะเวลาให้บริการดังกล่าวเป็นผลการปฏิบัติราชการ ณ สิ้นปีงบประมาณ 4. ตามแบบฟอร์ม 1 ที่สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียนคัดเลือกกระบวนงานเพื่อนำมาประเมินผล สำนักส่งเสริมวิชาการต้องขอเพิ่มเติมเงื่อนไขในกระบวนงาน ดังนี้ การให้บริการเอกสารที่ต้องมีการเสนอเซ็นต่อผู้บริหารโดยจะไม่นับระยะเวลาในการรอเซ็นอนุมัติเอกสาร ตัวบ่งชี้ที่ 1 เป้าหม าย ผลการ ดำเนินงาน คะแนน ที่ได้ หมาย เหตุ 4 คะแนน (ร้อยละ 64) 77.44 4.84 คะแนน

ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมที่ 2 ร้อยละความพึงพอใจการให้บริการในภาพรวม เกณฑ์การให้คะแนน ใช้ค่าเฉลี่ยของผลการประเมินความพึงพอใจผู้รับบริการทั้ง 4 ด้าน(คะแนนเต็ม 5) ผลการดำเนินงาน ข้อ ข้อมูลพื้นฐาน ผลการดำเนินงาน 1 คะแนนการประเมินด้านการให้บริการ 3.76 2 คะแนนการประเมินด้านบุคลากร 3.63 3 คะแนนการประเมินด้านสิ่งสนับสนุน 3.68 4 คะแนนประเมินด้านคุณภาพการให้บริการ 3.57 ค่าเฉลี่ยของคะแนนประเมิน 3.66 ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลลัพธ์ คำอธิบายตัวบ่งชี้ เพื่อให้การเบิกจ่ายงบประมาณ เป็นไปตามนโยบายของมหาวิทยาลัย ในการดำเนินงานด้านงบประมาณ ที่มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ โดยความสําเร็จของการเบิก จ่ายเงินงบประมาณภาพรวม จะใช้อัตราการเบิก จ่ายเงินงบประมาณรายจ่ายภาพรวมของหน่วยงาน ทั้งในส่วนของงบดำเนินการ และงบลงทุน ทั้งนี้ไม่รวมเงินงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรเพิ่มเติมระหว่างปีงบประมาณ การรับโอนจากหน่วยงานอื่น โดยจะใช้ข้อมูลการเบิกจ่ายจากระบบบัญชี 3 มิติ ตัวบ่งชี้ที่ 2 เป้าห มาย ผลการ ดำเนินงาน คะแนน ที่ได้ หมาย เหตุ 3.51 3.66 3.66 คะแนน

ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมที่ 3 ร้อยละความสำเร็จของการนำเข้าข้อมูลนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาขึ้นฐานข้อมูล สกอ. วิธีการคำนวณ 𝑛1+𝑛2 2 โดยที่ N1 คือร้อยละความสำเร็จของการนำเข้าข้อมูลนักศึกษา N2 คือร้อยละความสำเร็จของการนำเข้าข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา 2 คือ จำนวนข้อมูลทั้งหมด เกณฑ์การให้คะแนน ใช้การเทียบบัญญัติไตรยางศ์ กำหนดร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน การพิจารณาให้คะแนน 1. พิจารณาผลการนำส่งข้อมูล และความถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่ สกอ. กำหนด 2. ร้อยละข้อมูลที่นำส่งอ้างอิงจากฐานข้อมูล สกอ. ที่ http://www.data3.mua.go.th/dataS/ ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต คำอธิบายตัวบ่งชี้ ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา พ.ศ.2554 เพื่อเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาคุณภาพของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านการศึกษา โดยจัดให้มีการจัดเก็บ รวบรวม ประมวลผลและเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา โดยสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการนำส่งข้อมูลนักศึกษา และข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา เข้าสู่คลังข้อมูลอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่องทุกปี เพื่อจัดทำเป็นสารสนเทศด้านการศึกษาของ สกอ. ต่อไป

ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมที่ 3 ร้อยละความสำเร็จของการนำเข้าข้อมูลนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาขึ้นฐานข้อมูล สกอ. การคำนวณ : 99.95+100 2 ผลการดำเนินงาน = ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงาน = 99.97 99.97 100 𝑋 5 แปลงร้อยละที่ได้เป็นคะแนน = ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงาน = 4.99 คะแนน ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต คำอธิบายตัวบ่งชี้ ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ ได้ประกาศใช้ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา พ.ศ.2554 เพื่อเป็นกลไกสำคัญในการพัฒนาคุณภาพของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านการศึกษา โดยจัดให้มีการจัดเก็บ รวบรวม ประมวลผลและเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา โดยสำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ได้รับมอบหมายให้ดำเนินการนำส่งข้อมูลนักศึกษา และข้อมูลผู้สำเร็จการศึกษา เข้าสู่คลังข้อมูลอุดมศึกษาอย่างต่อเนื่องทุกปี เพื่อจัดทำเป็นสารสนเทศด้านการศึกษาของ สกอ. ต่อไป ตัวบ่งชี้ ที่ 3 เป้าหม าย ผลการ ดำเนินงาน คะแนน ที่ได้ หมาย เหตุ 4 คะแนน (ร้อยละ 80) 99.97 4.99 คะแนน

ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมที่ 5 ร้อยละของบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา วิธีการคำนวณ   จำนวนบุคลากรที่ได้รับการพัฒนา จำนวนบุคลากรทั้งหมด ×100   เกณฑ์การให้คะแนน ใช้การเทียบบัญญัติไตรยางศ์ กำหนดร้อยละ 100 เท่ากับ 5 คะแนน 18 18 ×100 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินงาน = การคำนวณ : = ร้อยละ 100 100 100 ×5 แปลงร้อยละที่ได้เป็นคะแนน = = 5.00 คะแนน ชนิดของตัวบ่งชี้ ผลผลิต คำอธิบายตัวบ่งชี้ บุคลากรถือเป็นทรัพยากรที่สำคัญในการขับเคลื่อนให้การดำเนินงานของหน่วยงานเป็นไปในทิศทางที่ดี บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ การที่บุคลกรภายในหน่วยงานจะสามารถปฏิบัติงานได้ตรงตามเป้าหมาย และแผนงานที่กำหนดนั้น จำแป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนาทักษาะด้านต่าง ๆ ทั้งด้านวิชาชีพ และด้านอื่น ๆ ที่ตนเองสนใจ เพื่อจะได้นำความรู้มาปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานของตนเอง ให้มีความก้าวหน้า และพัฒนาหน่วยงานต่อไปในอนาคต ตัวบ่งชี้ ที่ 4 เป้าหมา ย ผลการ ดำเนินงาน คะแนนที่ ได้ หมาย เหตุ 4 คะแนน (ร้อยละ 80) 100 5 คะแนน

ผลการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา 2558 ตัวบ่งชี้คุณภาพ เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน บรรลุเป้าหมาย  = บรรลุ  = ไม่บรรลุ คะแนนประเมิน หมายเหตุ ตัวตั้ง ผลลัพธ์ (%หรือสัดส่วน) ตัวหาร ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 5 ข้อ(4 คะแนน) 6 ข้อ  5.00 ตัวบ่งชี้เพิ่มเติม 1 4 คะแนน(ร้อยละ 64) ร้อยละ 77.44 4.84 ตัวบ่งชี้เพิ่มเติม 2 3.51 คะแนน 3.66 ตัวบ่งชี้เพิ่มเติม 3 4 คะแนน(ร้อยละ 80) ร้อยละ 99.97 4.99 ตัวบ่งชี้เพิ่มเติม 4 ร้อยละ 100 คะแนนเฉพาะองค์ประกอบที่ 5 ตัวบ่งชี้ 5.1 ตัวบ่งชี้เพิ่มเติมของสำนัก (18.49/4) 4.62

ขอขอบคุณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน The End ขอขอบคุณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน