การบูรณาการยุทธศาสตร์ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 วันที่ 25 กันยายน 2558 ณ โรงแรมอีสเทิร์น.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณห้วยคลิตี้ ต. ชะแล อ. ทองผาภูมิ จ
Advertisements

ผลการตรวจวัดคุณภาพสิ่งแวดล้อมบริเวณห้วยคลิตี้ ต. ชะแล อ. ทองผาภูมิ จ
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค
ระบบประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงการพัฒนากระบวนการทำงาน (Re- Process) ประเภทความร่วมมือระหว่างสำนัก.
มิติที่ 1 ด้านประสิทธิผล ( ร้อยละ 60) ระดับความสำเร็จใน การบรรลุเป้าหมาย  KPI 1. : ระดับกระทรวง และกรม มิติที่ 2 ด้านคุณภาพการ ให้บริการ ( ร้อยละ 10)
พันธกิจที่ 4 สร้างกลไกการพัฒนางานสุขภาพจิต นายแพทย์บุญชัย นวมงคลวัฒนา ประธานพันธกิจที่ 4.
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
สรุปผลการนำเสนอแผนงานโครงการ ของ คปสอ. ปีงบประมาณ 2557.
งานธุรการ ให้บริการผู้บริหาร ครู และบุคลากร เกี่ยวกับงานธุรการและ เอกสารสำคัญ บริการที่มีคุณภาพ ตอบสนองด้วยความเป็น มิตร รวดเร็ว มักจะเกิดปัญหาและอุปสรรคต่าง.
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ รอบที่ 1/2558 คณะที่ 4 ด้านระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านบริการ อาหารและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ และด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ.
การกำกับดูแล ตนเองที่ดี สรวิชญ์ เปรมชื่น ที่ปรึกษา สมาคมส่งเสริม ผู้ประกอบการวิสาหกิจ.
สรุปการดำเนินงาน ตามนโยบายสำคัญของกระทรวงศึกษาธิการ
สรุปผลการดำเนินงาน PMQA
Traning ผู้ต้องขัง เขตภาคเหนือตอนล่าง
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การทำงานเชิงวิเคราะห์
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
ขั้นตอนการดำเนินการประเมินผลการปฏิบัติราชการ และการเลื่อนเงินเดือน
สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
TOPCON ES-105.
จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 1 – 3 กรกฎาคม 2558
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
บริษัท โกลบัล คอนเซิร์น จำกัด 1 ธันวาคม 2553
สรุปบทเรียน การขับเคลื่อนโครงการ
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
การจัดการสุขภาพกลุ่มเสี่ยง
แนวทางการดำเนินงาน ตามตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559
การบริหารงบประมาณ นางสาวณัฐฐวรรณ อินทรทิตย์
รูปแบบมาตรฐานการเขียนโครงการ
องค์ความรู้ การจัดทำดัชนีชี้วัดและการกำหนดค่าเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ของงาน (Key Performance Indication : KPI) สำนักวิเคราะห์ วิจัยและพัฒนา.
PMQA ปี 53 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ SP ส่วนราชการ SP 5 ส่วนราชการมีการถ่ายทอด (Cascading) ตัวชี้วัดและเป้าหมายระดับองค์การลงสู่ระดับหน่วยงาน(สำนัก/กอง)
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
หมู่บ้านไอโอดีนทั่วไทย เทิดไท้เจ้าฟ้านักโภชนาการ: ก้าวผ่านความท้าทายสู่ความยั่งยืน วันที่ 25 มิถุนายน 2558.
โดยสำนักอนามัย สิ่งแวดล้อมกรมอนามัย
Contents Contents Introduction Objectives Conceptual frame work
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดชัยภูมิ
การดำเนินงานไตรมาส 1 (ต.ค. -ธ.ค.61)
การดำเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา
กลุ่มที่ ๗ ศูนย์อนามัยที่ ๑ ๒ ๓.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
คณะที่ 2 : การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดสระแก้ว
การวิเคราะห์ข้อมูล เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
แผนการดำเนิน งานตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน สสจ.สระแก้ว ปี 2560.
CEO, CCO MIS MIS MIS ณ 2 พค 60 จังหวัดพิจิตร สังคมสุขภาพดี CIPO CIPO
แนวทางการกำกับติดตามและประเมินผล
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ผลการดำเนินงานภายใต้ภารกิจอนามัยเจริญพันธุ์ ปีงบประมาณ ๒๕๖๑
National Coverage กพ.62 รายจังหวัด
การขับเคลื่อนงานด้านสุขภาพ
ท.พ. สุธา เจียรมณีโชติชัย ผู้อำนวยการกองทันตสาธารณสุข
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
เจริญเติบโตเต็มศักยภาพและมีทักษะสุขภาพ
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 6 รอบที่ 2
สรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 9 จังหวัดสุรินทร์
1.1 การตายที่ระบุสาเหตุ ไม่ชัดแจ้ง <= 25 % ของการตายทั้งหมด
วัตถุประสงค์การวิจัย
โครงการคลินิกโรคจากการทำงาน
งานคุ้มครองผู้บริโภค กับการเฝ้าระวังสื่ออย่างชาญฉลาด
หลักการตลาด Principles of Marketing
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
บทที่ 7 การเก็บรวบรวมข้อมูล
โดย จันทิมา อ่องประกฤษ ֆ คณะทำงานKPI
สรุปบทเรียน การขับเคลื่อนโครงการ
แผนงาน ……………………………………… Key Activity กิจกรรมหลัก
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ วิชา ว21101
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบูรณาการยุทธศาสตร์ ด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ วันที่ 25 กันยายน 2558 ณ โรงแรมอีสเทิร์น แกรนด์ พาเลซ จังหวัดชลบุรี 1

สภาพปัญหางานบูรณาการคุ้มครองผู้บริโภค จากสถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและวัฒนธรรมที่ผ่านมา สะท้อนให้เห็นว่ามีผลกระทบต่อระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและผู้บริโภค เป็นอย่างมาก ได้แก่  สถานบริการ สุขภาพ  ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ  การจัดการ ปัญหาโฆษณา - โรงพยาบาล คลินิกเอกชน ให้บริการไม่ได้ มาตรฐาน - คลินิกเถื่อน - ผัก ผลไม้ มียาฆ่าแมลงสูง - น้ำมันทอดซ้ำ - น้ำบริโภค น้ำแข็ง ปนเปื้อนจุลินทรีย์ - ปัญหาไอโอดีนใน ผลิตภัณฑ์ไม่ได้ มาตรฐาน - การใช้ยาปฏิชีวนะ ไม่เหมาะสม/ ผลิตภัณฑ์ยาแผน โบราณ ผลิตภัณฑ์ อาหารผสมสเตียรอยด์ -โฆษณาผลิตภัณฑ์/ บริการ/สุขภาพ โอ้อวด/เป็นเท็จ/ เกินจริง 2  กลไกการ ดำเนินงาน คบส. - ขาดความต่อเนื่องใน การประชุมคณะอนุกรรมการฯ ทำให้กลไกการขับเคลื่อน การดำเนินงาน คบส. ระดับเขตชะงัก ไม่ชัดเจน - ขาดการมีส่วนร่วมใน การจัดทำยุทธศาสตร์และ แผนปฏิบัติการงานคุ้มครอง ผู้บริโภคระดับเขต - แนวทางการดำเนินงาน เพื่อพัฒนาระบบงานคุ้มครอง ผู้บริโภคสุขภาพระดับจังหวัด ยังไม่ชัดเจน - ขาดเครื่องมือและกำลังคน ในการปฏิบัติงานระดับพื้นที่

3 2. สถานบริการสุขภาพปลอดภัย ประเด็นที่คัดเลือกร่วมกัน ปี ผลิตภัณฑ์สุขภาพปลอดภัย 2.1 ระบบและโครงสร้างอาคาร 2.2 เครื่องมือและเวชภัณฑ์ 2.3 ผู้ประกอบวิชาชีพตรงสาขาบริการ 4. การจัดการปัญหาโฆษณา 3.1 อาหารปลอดภัย 3.2 การกระจายยาและการใช้ยาอย่างปลอดภัย 1.ระบบการจัดการงานคุ้มครองผู้บริโภค ระดับเขต/จังหวัด

มาตรการแผนบูรณาการด้านพัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภค ด้านบริการ อาหาร และผลิตภัณฑ์สุขภาพ ประจำปี 2559 มาตรการเป้าหมายวิธีการวัดผลลัพธ์ สร้างระบบคุ้มครองผู้บริโภคให้มีความเชื่อมั่นต่อ ความปลอดภัยที่ใช้สถานประกอบการ สถานบริการสุขภาพและผลิตภัณฑ์สุขภาพใน ระดับเขตสุขภาพและอำเภอ 1. การบังคับใช้กฎหมาย 1.1 จัดการเรื่องร้องเรียน 1.2 ปราบปรามจับกุม 1.3 ตรวจสอบเฝ้าระวัง 2. พื้นที่ดำเนินการ (Setting) 2.1 อาหาร - ชุมชน : สถานประกอบการ/แหล่งรวบรวม โรงงานน้ำ ภัตตาคาร 2.2 ยา - ชุมชน - สถานพยาบาล 2.3 ข้อมูลข่าวสาร (โฆษณา) - ช่องทางสำคัญ 3. ระบบการจัดการ 3.1 จัดตั้งอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ระดับเขต 3.2 กลไกระดับเขต-จังหวัด 3.3 การพัฒนารูปแบบ 3.4 การพัฒนาศักยภาพ 3.5 ฐานข้อมูล ผลิตภัณฑ์สุขภาพและ สถานบริการสุขภาพ ปลอดภัย รวมถึง ข้อมูลข่าวสาร ด้านสุขภาพที่ ผู้บริโภคได้รับอย่าง ถูกต้องเป็นธรรม 1.นิเทศและ ติดตาม ประเมิน ผล 2.สำรวจ ข้อมูล (Rapid Survey) ประชาชน/ ชุมชน สามารถ ปกป้อง คุ้มครอง ตนเองได้ จากการ ได้รับ บริการและ ผลิตภัณฑ์ สุขภาพ ที่ไม่มี คุณภาพ 4

ตัวชี้วัดการดำเนินงานบูรณาการยุทธศาสตร์พัฒนาระบบการคุ้มครองผู้บริโภคฯ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ KPI ระดับ กระทรวง KPI ระดับเขต สุขภาพ ระดับ ความสำเร็จ ของการ ดำเนินงาน คุ้มครอง ผู้บริโภคด้าน ผลิตภัณฑ์ สุขภาพและ บริการสุขภาพ 5 Σ (ระดับความสำเร็จของเขต) จำนวนเขต Σ (ระดับความสำเร็จของจังหวัด) จำนวนจังหวัด การคิดค่าคะแนน ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ในการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ 2. ตัวชี้วัดเชิงประเด็น ระดับจังหวัด (ค่าน้ำหนักรวมกันให้ได้ 50%) ดังนี้ 2.1 ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริมความงามได้รับการ เฝ้าระวังและตรวจมาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด (ค่าน้ำหนัก = 5%) 2.2 ร้อยละเรื่องร้องเรียนสถานพยาบาลที่กระทำผิดกฎหมายได้รับดำเนินการ ตามกฎหมาย (ค่าน้ำหนัก = 5%) 2.3 ระดับความสำเร็จของการสุ่มตรวจสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในผักในตลาดสด (ค่าน้ำหนัก = 4%) 2.4 ร้อยละของผลิตภัณฑ์เกลือบริโภค ณ สถานที่ผลิตมีปริมาณไอโอดีนตาม เกณฑ์ที่กำหนด (20 – 40 ppm) (ค่าน้ำหนัก = 2%) 2.5 ร้อยละของสถานที่ผลิตน้ำปลา ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีน ของถั่วเหลืองและน้ำเกลือปรุงอาหารมีระบบควบคุมคุณภาพที่ถูกต้อง (ค่าน้ำหนัก = 2%) 2.6 ร้อยละของสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย กลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนาตามแผน (ค่าน้ำหนัก = 8%) 2.7 ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยใน ชุมชนตำบลนำร่อง (ค่าน้ำหนัก = 8%) 2.8 ร้อยละของการโฆษณาด้านสุขภาพที่ผิดกฎหมายได้รับการจัดการ (ค่าน้ำหนัก = 8%) 2.9 ร้อยละของจำนวนข้อร้องเรียนของผู้บริโภคได้รับการแก้ไขภายใน ระยะเวลาตามที่กำหนด (ค่าน้ำหนัก = 8%) 1. ระบบการจัดการงานคุ้มครองผู้บริโภค ระดับเขต (ค่าน้ำหนัก = 50%) KPI ระดับ จังหวัด

6 เกณฑ์การให้คะแนน ตัวชี้วัด น้ำหนัก เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน ที่ได้ คะแนน ถ่วง น้ำหนัก (KPI จังหวัด) ระดับความสำเร็จการจัดการงานคุ้มครองผู้บริโภค ระดับเขต ร้อยละของคลินิกเวชกรรมที่ให้บริการด้านเสริม ความงามได้รับการเฝ้าระวังและตรวจมาตรฐานตามที่ กฎหมายกำหนด ร้อยละเรื่องร้องเรียนสถานพยาบาลที่กระทำ ผิดกฎหมายได้รับดำเนินการตามกฎหมาย ร้อยละของตลาดสดมีการสุ่มตรวจสารเคมีกำจัด ศัตรูพืชในผัก ร้อยละขอผลิตภัณฑ์เกลือบริโภค ณ สถานที่ผลิต มีปริมาณไอโอดีนตามเกณฑ์ที่กำหนด (20-40 ppm) ร้อยละของสถานที่ผลิตน้ำปลา ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ ได้จากการย่อยโปรตีนของถั่วเหลืองและน้ำเกลือปรุง อาหาร มีระบบควบคุมคุณภาพที่ถูกต้อง ร้อยละของสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุใน ภาชนะพร้อมจำหน่ายกลุ่มเป้าหมายได้รับการพัฒนา ตามแผน ระดับความสำเร็จในการขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริม การใช้ยาปลอดภัยในชุมชนตำบลนำร่อง ร้อยละของการโฆษณาด้านสุขภาพที่ผิดกฎหมาย ได้รับการจัดการ ร้อยละของจำนวนข้อร้องเรียนของผู้บริโภคได้รับ การแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด

7 ขอขอบคุณ