ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประชากร (Population) จำนวน N สุ่ม (Random) กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
Advertisements

Assignment กำหนดส่ง ศุกร์ 12 ก.พ. 2553
Chapter 6: Sampling Distributions
ผศ.(พิเศษ)น.พ.นภดล สุชาติ พ.บ. M.P.H.
ประชากร และกลุ่มตัวอย่าง
การออกแบบการสุ่มตัวอย่าง (sampling design)
นายเพียร แก้วสวัสดิ์ 2549 เสนอ ดร.อุดม คำหอม
การสุ่มตัวอย่าง (Sampling)
รูปแบบของการจัดเก็บข้อมูล. รูปแบบการจัดเก็บข้อมูล แบบ Sector Sampling.
ประชากรและการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง
การสุ่มตัวอย่าง ( Sampling Technique)
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาการนำเข้าและการส่งออกของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการตลาด โดยใช้แบบฝึกด้วยเทคนิคการเขียนแผนผังความคิด.
การควบคุมงานก่อสร้าง ( การทดสอบวัสดุ ). หัวข้อการบรรยาย 1. การเจาะสำรวจชั้นดิน 2. การทดสอบแรงดึงของเหล็ก 3. การทดสอบกำลังอัดของคอนกรีต หมายเหตุ : การบรรยายจะอ้างอิงแบบ.
การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง.
ประชิด เกิดมาก ผู้วิจัย. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสภาพการจัดการเรียน การสอนด้วยจิกซอว์ 2. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนก่อนเรียน.
กิจกรรมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ระบบการประชุมอิเล็กทรอนิกส์ e- meeting วันศุกร์ที่ 20 เมษายน 2555.
จรรยาบรรณ ( Code of Ethic) กลุ่มบริษัท อาร์เอ็กซ์ จำกัด R.X.Group ประกาศต่อผู้บริหารระดับสูง - ต้น 270 คน เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2548 ณ S.D. Avenue Hotel.
ความพึงพอใจที่มีต่อ ประสิทธิภาพ การ ปฏิบัติงานธุรการ นางพนิดา ชวนประเสริฐ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การออกแบบปัญหาการวิจัย
บทที่ 9 การกำหนดขนาดของตัวอย่าง
การวิจัยเชิงปริมาณ ดร.บรินดา สัณหฉวี.
รายวิชาชีวสถิติ (Biostatistics)
วิชา ระเบียบวิธีวิจัย Research Methodology บทที่ 4 ประชาการและการสุ่มตัวอย่าง อ.สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
วิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research)
บทที่ 7 การสุ่มตัวอย่าง.
การใช้ทฤษฎีในงานวิจัย
Multistage Cluster Sampling
ประชากร การคำนวณขนาดตัวอย่าง และการเลือกวิธีการสุ่มตัวอย่าง
ปฏิบัติการหน่วงน้ำเค็ม พร้อมรับมือน้ำเค็มรุกรอบใหม่
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
บทที่ 5 หลักการประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการเงิน
การจัดการผู้ป่วยรายกรณีเพื่อลดภาวะแทรกซ้อน ในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง คลินิกโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่ นางกรรณิการ์
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์
โดย นายไพสุข สุขศรีเพ็ง รหัสนักศึกษา
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมลบริหารธุรกิจ
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
ตัวชี้วัด1.3 ร้อยละของเด็กอายุ 6-14 ปีสูงดีสมส่วน
นางสาวสุภาภักดิ์ แก้วศรีมล สังกัดวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
ผลงานประเภทวิจัยชั้นเรียน
ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. พิเศษ 1/5 สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
วิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ครั้งที่ 4
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล สำนักงานสภามหาวิทยาลัย
ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET,NT 2558
นางธนตวรรณ ขวัญแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีอรรถวิทย์พณิชยการ
บทที่ 4. ผศ.ดร.จันทร์เพ็ญ มีนคร
กระบวนการเรียนการสอน
โรงเรียนราชโบริกานุเคราะห์ อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี
วิธีการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่างมี 2 วิธี
ความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับเกมออนไลน์ ในเขตกรุงเทพมหานคร
การกระจายอายุของบุคลากร มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิทยาศาสตร์
บทที่ 15 พัลส์เทคนิค
การกระจายอายุของบุคลากร เวชศาสตร์เขตร้อน
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการ โลจิสติกส์
การเลือกใช้สถิติเพื่อการวิจัย
นำเสนอโดย นางสาวหนูแพว วัชโศก วิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
ดำเนินการวิจัย นางสาวขวัญใจ จันทรวงษ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีวิมล ศรีย่าน
ประเภทที่ 1 วิจัยในชั้นเรียน
ผู้วิจัย : สุภาพร อภิพันธุ์
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้จัดทำวิจัย
การนำเสนอผลงานการวิจัยครั้งที่ ๘
นางสาวกฤษฎาวรรณ ศิวิวงศ์ วิทยาลัยเทคโนโลยีโปลิเทคนิคลานนา เชียงใหม่
ระเบียบวิธีวิจัยทางการบัญชีบริหาร
งานวิจัย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 สาขางานการขาย รวมพร ประพฤติธรรม ผู้วิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้งตรงจิตรพณิชย การ

 ผู้เรียนไม่เห็นความสำคัญของวิชากาจัดการ ธุรกิจขนาดย่อม  ผู้เรียนขาดแรงจูใจใฝ่สัมฤทธิ์ ขาดทักษะใน การใช้กระบวน การคิดเพื่อสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง  ผลสัมฤธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนยังไม่เป็นไป ตามเป้าหมาย ที่พึงพอใจ ( อ้างอิงจากการประเมินผลการเรียนและการ สังเกตพฤติกรรม ของผู้เรียนวิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อม ปี การศึกษา 2554)

 1. เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน วิชาการดำเนินการธุรกิจขนาดย่อม ของ นักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยี ตั้งตรงจิตรพณิชยการ  2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับ ประกาศนียบัตร วิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีตั้ง ตรงจิตรพณิชยการ ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็น ฐาน

กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นนักศึกษาชั้นปวช.2 ห้อง 208 วิทยาลัย เทคโนโลยีตั้งตรงจิตร พณิชยการ สาขางานการขาย ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 1 ห้องเรียน รวมนักเรียน 50 คน ได้มาจากการสุ่มตัวอย่าง แบบง่าย (Simple Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย  1. เครื่องมือที่ใช้ประกอบการสอน ได้แก่ แผนการจัดการ เรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นฐานวิชาการดำเนินธุรกิจขนาดย่อม 3 หน่วย  2. เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนแบบใช้ปัญหาเป็นฐาน วิชาการดำเนินธุรกิจ ขนาดย่อม และ แบบสอบถามวัดความพึงพอใจของ นักศึกษาที่มีต่อการ จัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน

ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม การจัดการ เรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน - - ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน วิชาการดำเนิน ธุรกิจขนาดย่อม - ความพึงพอใจ ของนักศึกษาที่มี ต่อ วิธีการจัดการ เรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน - - ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน วิชาการดำเนิน ธุรกิจขนาดย่อม - ความพึงพอใจ ของนักศึกษาที่มี ต่อ วิธีการจัดการ เรียนรู้แบบใช้ ปัญหาเป็นฐาน

 1. ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาการ ดำเนินธุรกิจ ขนาดย่อมหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน  2. ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหา เป็นฐานอยู่ในระดับมาก

N S.D.t ก่อนเรียน หลังเรียน t-test Dependent Sample * * ตารางที่ 1 สรุปเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียนของนักศึกษาหลังการใช้การจัดการเรียนรู้แบบ ใช้ปัญหาเป็นฐาน ** มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01

ตารางที่ 2 ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน รายการ S.D. ระดับความ พึงพอใจ 1. ผู้สอนใช้คำถามกระตุ้นให้นศ. ค้นคว้าหาคำตอบ ด้วยตนเอง มาก 2. ผู้สอนให้คำแนะนำแนวทางการเรียนรู้ด้วยตนเอง มาก 3. นศ. ชอบวิธีที่ผู้สอนเริ่มด้วยสถานการณ์ปัญหา ก่อนการเรียนเนื้อหาสาระ มาก 4. ผู้สอนจัดเตรียมเอกสารประกอบให้ค้นคว้า เพิ่มเติม มาก 5. นศ. ชอบการวิเคราะห์ปัญหา และแสวงหาความรู้ มาแก้ปัญหา มาก 6. นศ. ชอบศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูล ทำความ เข้าใจเนื้อหาด้วยตนเอง มาก 7. นศ. ชอบการทำงานเป็นกลุ่ม มาก 8. นศ. ชอบการอภิปรายและแลกเปลี่ยนความรู้กับ เพื่อน มาก 9. นศ. ชอบมีส่วนร่วมในการกำหนดกิจกรรมการ เรียนรู้ร่วมกับครูผู้สอน มาก 10. นศ. ชอบการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง มาก

ตารางที่ 2 ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน รายการ S.D. ระดับความ พึงพอใจ 11. นศ. ชอบกิจกรรมในภาพรวมในการเรียนการสอน มาก 12. นศ. พึงพอใจวิธีการประเมินผลการเรียนรู้ มาก 13. นศ. เข้าใจเนื้อหาสาระมากขึ้น มาก 14. นศ. ได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหาจากการเรียนรู้แบบ ใช้ปัญหาเป็นฐาน มาก 15. นศ. พึงพอใจผู้สอนที่ใช้วิธีการสอนแบบใช้ปัญหา เป็นฐาน มาก ความพึงพอใจในภาพรวม มาก

ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยครั้งต่อไป  ครูผู้สอนสามารถประยุกต์ใช้นำวิธีการจัดการเรียนรู แบบใช้ปัญหาเป็นฐานไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ใน รายวิชาอื่นๆ และยังสามารถไปใช้พัฒนาให้ผู้เรียนรู้จัก การทำงานเป็นทีม ร่วมกันคิดแก้ปัญหา จากการศึกษา ค้นคว้าด้วยตนเอง  ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลองการสอนควรเพิ่มให้มากขึ้น  ผู้สอนจะต้องมีการเตรียมเอกสาร ประกอบการศึกษา ค้นคว้าให้นักศึกษาอย่างหลากหลาย และเป็นผู้กระตุ้น ด้วยคำถามเพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง