MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 5 MIT App Inventor การสร้างโปรแกรมย่อย (procedure)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เฉลย (เฉพาะข้อแสดงวิธีทำ)
Advertisements

หลักการโปรแกรม 1 Lecture 12: อาร์เรย์หนึ่งมิติ
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์ (Simple Harmonic Motion)
การใช้งานโปรแกรม SPSS
ชนิดของข้อมูล และการคำนวณทางคณิตศาสตร์
1 Search & Sort Search & Sort วรวิทย์ พูลสวัสดิ์.
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
บทที่ 11 การใช้งาน Namespace อาจารย์ชนิดา คำเพ็ง สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
การเขียนโปรแกรมภาษาปาสคาล โดยใช้โครงสร้างหลักทั้ง 3 โครงสร้าง
Engineering Mechanics
การเริ่มใช้งาน โปรแกรม นรด. เวอร์ชั่น 2003 และ ติดตั้งโปรแกรม ของ สถานศึกษา การเริ่มใช้งาน โปรแกรม นรด. เวอร์ชั่น 2003 และ ติดตั้งโปรแกรม ของ สถานศึกษา.
บทที่ 4 การนำเสนองาน.
Winrar โปรแกรมย่อไฟล์ หลายครั้งที่เมื่อเราโหลดข้อมูลมาจากเว็บไซต์ ต่างๆ แล้วไฟล์ที่ได้มีนามสกุลเป็น.rar ซึ่งเราต้อง นำไฟล์นั้นมาแตกออกเพื่อที่เราจะได้ข้อมูลจริงๆที่
หน่วยที่ 6 แถวลำดับ (Array)
การใช้งาน Microsoft Excel
ตัวแปร และชนิด ข้อมูล. ตัวแปร การกำหนดตัวแปรเป็นการใช้ ชื่อตัวแปรแทน ตำแหน่งบนหน่วยความจำ สำหรับเก็บ ข้อมูลระหว่างการ ประมวลผล ซึ่งอาจเป็นข้อมูลนำเข้า.
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 6 ภาษา C หลักการของโปรแกรม ชนิดของตัวแปร การดำเนินการ คำสั่งการรับค่าตัวแปร และการแสดงผล.
ARRAY & PRINTF สาขางานคอมพิวเตอร์ธุรกิจอาจารย์จิรา ภรณ์ เขตกุฎี
การใช้งาน Microsoft Word กลุ่ม 2T_PUK. โปรแกรม Microsoft Word เป็นโปรแกรมสำเร็จรูปที่เหมาะกับ งานพิมพ์ต่าง ๆ แทนเครื่องพิมพ์ดีดในสมัยก่อน ที่เวลาแก้ไข.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
การเลือกข้อมูลจาก List การกำหนดเงื่อนไขการป้อนข้อมูลด้วย Data Validation การใส่ Comment / แสดง / แก้ไข / ลบ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 1 MIT App Inventor เรียนรู้การใช้งานเบื้องต้น ทดสอบการเชื่อมต่อโปรแกรมกับโทรศัพท์มือถือ
บทที่ 4 การเขียนรหัสเทียม (Pseudo Code)
แรงแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะ คือ 1. แรงสัมผัส ( contact force )
บทที่ 5 อินพุตและเอาต์พุต
การประยุกต์ Logic Gates ภาค 2
ลายผ้าของแม่ โดย มัณฑนา สันติคุณากร.
Android Programming Multimedia Prawit Pimpisan Computer Science RERU.
การบริหารโครงการ Project Management
การเขียน App สำหรับ Android smartphone
แล้วทำการเรียงลำดับข้อมูลใหม่โดยเรียงจากน้อยไปหามาก
รายการ(List) [3] ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
บทที่ 7 การหาปริพันธ์ (Integration)
QUEUE คิวจะมีโครงสร้างแบบเชิงเส้นเหมือน stack แต่แตกต่างตรงที่ queue มีตัวชี้ 2 ตัวคือ หัว(Head) และหาง(Tail) โดยการใส่ข้อมูลเข้าและนำข้อมูลออก จะมีลักษณะ.
บทที่ 7 การเขียนโปรแกรม แบบวนรอบทำซ้ำ (Loop)
บทที่ 4 การอินทิเกรต (Integration)
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การนำเสนองาน.
Android Programming Getting Start Prawit Pimpisan Computer Science
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
การจัดเตรียมเครื่องมือและข้อมูล
ครั้งที่4-5วิชาวาดเส้นTV การวาดหน้า
จัดทำโดย…เสาวลักษณ์ ปัญญามี
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
การทำรูปเล่มปัญหาพิเศษ
Week 5 C Programming.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
วิธีการสุ่มตัวอย่าง วิธีการสุ่มตัวอย่างมี 2 วิธี
C#: Windows Forms App.
ความดัน (Pressure).
บทที่ 7 การประมวลผลอาร์เรย์
บทสรุป ความหมายของ Query ความหมายของ Query
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไตล์ (Projectile Motion) จัดทำโดย ครูศุภกิจ
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
2 โครงสร้างข้อมูลแบบสแตก (STACK).
3 โครงสร้างข้อมูลแบบคิว (QUEUE).
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบวนซ้ำ
บทที่ 2 โครงสร้างข้อมูลแบบแถวลำดับหรืออาร์เรย์ (Array)
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
Array: One Dimension Programming I 9.
สัปดาห์ที่ 9 Designs by SolidWorks
ฟังก์ชันของโปรแกรม Computer Game Programming
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
การสรุปผลข้อมูล และ Action Query
กำหนดการเชิงเส้น : การแก้ปัญหาด้วยวิธีกราฟ
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
คำสั่งหลักที่ใช้ในการสร้างตารางของภาษา HTML มีดังนี้
ปรากฏการณ์ดอปเพลอร์ของเสียง Doppler Effect of Sound
ใบสำเนางานนำเสนอ:

MEE 231 Computer Programming สัปดาห์ที่ 5 MIT App Inventor การสร้างโปรแกรมย่อย (procedure)

ตัวอย่าง : โปรแกรมแสดงตำแหน่ง การเคลื่อนที่ การเคลื่อนที่เส้นตรงแนวดิ่งด้วยความเร่งจากแรงโน้มถ่วงโลก y = y 0 + v 0 t + (1/2)gt 2 วัตถุ 2 ชิ้น ตกลงมาในแนวดิ่งจากความสูง 250 m ด้วยความเร็วเริ่มต้นตามแต่กำหนด จงใช้รูป O แสดงตำแหน่งของวัตถุแต่ละชิ้น เริ่มตั้งแต่เวลา 0 (s) แล้วเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ครั้งละ 1 (s) จนสุดระยะทางที่สามารถวาดรูป O ได้ โดยใช้ระยะบนจอ 1 pixel แทนระยะทาง 1 m

ตัวอย่าง : โปรแกรมแสดงตำแหน่ง การเคลื่อนที่ Canvas Label Button Compon ent NameProperti es Value CanvasCanvas1Height250 pixels Width150 pixels LabelLabel1Textv01 (m/s) TextBoxTBv01Text0 LabelLabel2Textv02 (m/s) TextBoxTBv02Text0 ButtonBTcalTextcalculate Desig ner Label TextBox

ตัวอย่าง : โปรแกรมแสดงตำแหน่ง การเคลื่อนที่ กำหนดให้ y 0 = 0 (m), v 0 = 0 (m/s) ดังนั้น y = y 0 + v 0 t + (1/2)gt 2 = v 0 t + (1/2)gt 2 รับค่าความเร็วเริ่มต้นของวัตถุชิ้นที่ 1 และ 2 จาก TextBox เริ่มคำนวณจาก t = 0 (s), y = y 0 = 0 (m) คำนวณ y1 = v 01 t + (1/2)gt 2 วาดวงกลมแสดงตำแหน่งของ y1 คำนวณ y2 = v 02 t + (1/2)gt 2 วาดวงกลมแสดงตำแหน่งของ y2 เพิ่ม t ไปอีก 1 วินาที t = t + 1 ในขณะที่ y1 และ y2 ไม่เกิน 250 m การทำงานแบบเดียวกัน นำไปรวมกันเป็นโปรแกรมย่อย (Procedure)

ตัวอย่าง : โปรแกรมแสดงตำแหน่ง การเคลื่อนที่ Bloc ks สร้างโปรแกรมย่อย ใช้ Blocks >> Procedures ตั้งชื่อโปรแกรมย่อยเป็น CalDistance เพิ่ม input ของโปรแกรมย่อย ตัวแปรที่จะส่งไปใช้คำนวณ คือ x, v0, t สร้างตัวแปร

ตัวอย่าง : โปรแกรมแสดงตำแหน่ง การเคลื่อนที่ กำหนดตัวแปรที่ใช้เฉพาะในโปรแกรมย่อย g = 9.8 m/s 2 คำนวณ y = v 0 t + (1/2)gt 2 วาดรูปวงกลมแสดงตำแหน่งของวัตถุ

ตัวอย่าง : โปรแกรมแสดงตำแหน่ง การเคลื่อนที่ การใช้โปรแกรมย่อย Procedures >> เลือก call [ ชื่อโปรแกรมย่อย ] ค่า x ของวัตถุแต่ละชิ้น ค่า v0 ของวัตถุแต่ละชิ้น เท่ากับค่าใน TextBox ค่า t ที่ใช้คำนวณ เก็บค่าระยะทาง y ที่คำนวณได้ไว้เป็นระยะทางของวัตถุแต่ละชิ้น y1, y2

ตัวอย่าง : โปรแกรมแสดงตำแหน่ง การเคลื่อนที่ ใช้โปรแกรมย่อยคำนวณ y1 และวาดรูปแสดงตำแหน่ง ใช้โปรแกรมย่อยคำนวณ y2 และวาดรูปแสดงตำแหน่ง เพิ่มค่าเวลาไปอีก 1 วินาที

ตัวอย่าง : โปรแกรมแสดงตำแหน่ง การเคลื่อนที่ ตัวแปร โปรแกรมย่อย โปรแกรมหลัก