สรุปผลการนำเสนอแผนงานโครงการ ของ คปสอ. ปีงบประมาณ 2557
หัวข้อนำเสนอ สิ่งที่ได้จากการประชุม สิ่งที่อยากให้เกิด การบ้าน
สิ่งที่ได้จากการ ประชุม
ถอดบทเรียนการนำเสนอ แผนงานโครงการ คปสอ. 1. รูปแบบการจัดทำแผนงานโครงการมี 2 รูปแบบ ก. แบบ GOAL Management 1 G/1 แผนงาน โครงการ / 1 โรคและภัย โดยมีกิจกรรมแก้ไขปัญหาตามบริบท ของพื้นที่ ข. แบบ KPI Management นำ Template KPI แปลงเป็น แผนงานโครงการ ยังไม่เห็น Strategic Management 2. งบประมาณ ได้รับการสนับสนุนจาก คปสอ. เงิน บำรุง อปท. กองทุน จังหวัด
คปสอ. เงินบำรุงสปสช. อปท. กองทุน ห้วยเม็ก คำม่วงสามชัย ท่าคันโท 8389 หนองกุงศรี เขาวงนาคู ห้วยผึ้ง 100 สมเด็จ 694 ยางตลาด สหัสขันธ์ อื่นๆ 7 เมืองดอนจาน นามน ดึ 17 ร่องคำ กมลาไสยฆ้อง ชัย
งบประมาณแยกแหล่งสนับสนุน บาง คปสอ. ไม่มีการนำเสนองบ กองทุน อปท. ที่สนับสนุนแผนงาน โครงการ จึง ไม่เห็นสัดส่วนที่ แท้จริง ทำให้ เปรียบเทียบ คปสอ. ทุก คปสอ. ไม่ได้
งบประมาณรายเป้าประสงค์ G4 25% G1 20% G2 15% G 3 40%
สิ่งที่อยากให้เกิด
การบริหารจัดการแผนงาน โครงการภาพรวม คปสอ. 1. บริบทของแต่ละเป้าประสงค์ จุดอ่อน จุดแข็ง ใน ปีที่ผ่านมา แล้วปี 2557 จะทำอะไรต่อเนื่อง 2. โครงสร้างการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ให้บรรลุ อาจใช้ DHS / Goal Manager/ Project Manager 3. รูปแบบการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน ได้แก่ M&E / นิเทศงาน / ประกวด 4. การบูรณาการการจัดการ ( คน เงิน ของ ) -
GOAL 1GOAL 2GOAL 3 - ศักยภาพหมอครอบครัว / อสม./ นักจัดการสุขภาพ - ยกระดับสุขศาลา - บริหารจัดการกองทุน -LTC คุณภาพ DM/HT/TB IC/Refer/ ยาเวชภัณฑ์ ลด 5 โรค 1 ภัย ขับเคลื่อนด้วย DHS ขับเคลื่อน 3 ดีขับเคลื่อน PMQA/KQA ขาด Innovation มาเป็น Intervention GOAL 4 การบริหารจัดการทรัพยากร ( การเงิน การคลัง ) การบริหารจัดการยุทธศาสตร์ ( สมรรถนะและ ระบบติดตาม ควบคุม กำกับ ใช้ SAT Team / ทีมประเมิน 3 ดี ) ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
การบ้าน
1. ส่งแผนงานโครงการ วันที่ 25 ธค. 56 เพื่อให้ สสจ. โซน อนุมัติ 2. จัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี ของ รพ. และรพ. สต. ทุกแห่ง - จัดทำแผนการเงินการคลังของแม่ข่าย - แผนเงินบำรุงของหน่วยบริการ - จัดทำโครงการรองรับยุทธศาสตร์ +PP ( สปสช.) โดยผ่านการเห็นชอบของ คปสอ. และ อนุมัติตามสายบังคับบัญชา จากนั้นสรุป โครงการและงบประมาณแจ้ง สสจ. วันที่ 30 ธค.56 ขั้นตอนการ ดำเนินการ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ์ เครือข่ายบริการสุขภาพทุกระดับมีคุณภาพมาตรฐาน ยึดหลักการทำงานแบบบูรณการโดยใช้ ชุมชนเป็นฐาน ประชาชนเป็นศูนย์กลาง ชุมชนของจังหวัดกาฬสินธุ์เป็นชุมชนแห่งความสุข มีวัฒนธรรมสุขภาพ และวิถีสุขภาวะที่ เข้มแข็งและยั่งยืน ระบบบริหารจัดการของหน่วยงานสาธารณสุขมีความเป็นเลิศ ทันสมัย บุคลากรด้านสาธารณสุข ทั้งระบบมีสมรรถนะสูง มีความสุข และวัฒนธรรมและค่านิยมร่วมที่เข้มแข็ง โรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญของชุมชนได้รับการจัดการให้ลดลงอย่างมี ประสิทธิภาพทุกพื้นที่ พัฒนาระบบสุขภาพชุมชน เข้มแข็ง พัฒนาเครือข่ายบริการ ให้มีมาตรฐานทุกระดับ พัฒนาระบบบริหารจัดการ ให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง การสร้างระบบ สุขภาพชุมชนที่ เข้มแข็ง พัฒนาเครือข่ายบริการ สุขภาพที่ได้มาตรฐานและ ตอบสนองปัญหาของพื้นที่ การสร้างความเข้มแข็งระบบ เฝ้าระวังและการจัดการลด โรค และภัยทางสุขภาพ การสร้างความเข้มแข็ง ระบบบริหารจัดการ ให้มี ประสิทธิภาพ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ประเด็น ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ “กาฬสินธุ์เป็นต้นแบบเมืองแห่งสุขภาวะ”
๔ เป้าประสงค์ ๕ ตัวชี้วัด เป้าประสงค์ตัวชี้วัด ๑. ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการเป็น ชุมชนวิถีสุขภาวะ ตัวชี้วัดที่ ๑ ระดับความสำเร็จในการดำเนินงาน พัฒนาสู่การเป็นชุมชนแห่งความสุขตามวิถีสุข ภาวะไทกาฬสินธุ์ ตัวชี้วัดที่ ๕ ร้อยละการบรรลุตัวชี้วัดตามพันธกิจ ระดับ คปสอ. ๒. เครือข่ายบริการสุขภาพทุกระดับมี คุณภาพคุณภาพมาตรฐาน ยึดหลักการ ทำงานแบบบูรณาการ โดยใช้ชุมชนเป็น ฐานประชาชนชนเป็นศูนย์กลาง ตัวชี้วัดที่ ๒ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน พัฒนาคุณภาพมาตรฐานของเครือข่ายบริการ สุขภาพทุกระดับโดยยึดหลักการทำงานแบบบูรณา การใช้ชุมชนเป็นฐานประชาชนเป็นศูนย์กลาง ๓ โรคและภัยสุขภาพที่เป็นปัญหาสำคัญ ของชุมชนได้รับการจัดการให้ลดลงอย่าง มีประสิทธิภาพทุกพื้นที่ ตัวชี้วัดที่ ๓ ระดับความสำเร็จของการดำเนินงาน ส่งเสริม เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุม รักษา ฟื้นฟูและ คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพใน “ โรค ” ที่เป็น ปัญหาและ “ ภัยสุขภาพ ” ทั้งในภาวะปกติหรือภาวะ เกิดภัยพิบัติ ๔. การบริหารจัดการของหน่วยงาน สาธารณสุขมีความเป็นเลิศทันสมัย บุคลากรมรสมรรถนะสูง และมีความสุขบน ฐานวัฒนธรรมองค์กรที่เข้มแข็ง ตัวชี้วัดที่ ๔ ระดับความสำเร็จของระบบบริหาร จัดการที่มีความเป็นเลิศ ทันสมัย