Heart : การเสริมสร้างคุณลักษณะและค่านิยม
Heart ประเด็นการนำเสนอ 1. นิยามศัพท์ 2. จุดมุ่งหมายการจัดกิจกรรมฯ 3. แนวทางการจัดกิจกรรมฯ 4. รูปแบบการจัดกิจกรรมฯ 5. แนวทางการประเมินกิจกรรมฯ 6. แนวทางการนิเทศการจัดกิจกรรมฯ
1. นิยามศัพท์ Heart ความหมาย : ความหมาย : กิจกรรมที่ส่งเสริม พัฒนา และปลูกฝังค่านิยม จิตสำนึก ให้ผู้เรียนมี คุณลักษณะอันพึงประสงค์จนเป็นลักษณะ นิสัย และมีจิตสำนึกที่ดีต่อตนเองและ ส่วนรวม
2. จุดมุ่งหมายของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นการพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนด้านจิตพิสัย (Affective Domain) ตามทฤษฎีการ เรียนรู้ของ Bloom
รับรู้ Receiving ตอบสนอง Responding เห็นคุณค่า Valuing มีระบบค่านิยม Organization มีคุณลักษณะนิสัย Characterization Affective ระดับพฤติกรรมจิตพิสัย
เป็นความรู้สึกที่เกิดขึ้นต่อปรากฏการณ์ หรือสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่ง เป็นไปในลักษณะของการแปลความหมายของสิ่งเร้านั้นว่าคืออะไร แล้วจะ แสดงออกมาในรูปของความรู้สึก 1. การรับรู้ เป็นการกระทำที่แสดงออกมาในรูปของความเต็มใจ ยินยอม และพอใจต่อ สิ่งเร้านั้น ซึ่งเป็นการตอบสนองที่เกิดจากการเลือกสรรแล้ว 2. การ ตอบสนอง การเลือกปฏิบัติในสิ่งที่เป็นที่ยอมรับกันในสังคม การยอมรับนับถือใน คุณค่านั้นๆ หรือปฏิบัติตามในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง จนกลายเป็นความเชื่อ แล้วจึงเกิดทัศนคติที่ดีในสิ่งนั้น 3. การสร้าง คุณค่า การสร้างแนวคิด จัดระบบของค่านิยมที่เกิดขึ้นโดยอาศัยความสัมพันธ์ ถ้า เข้ากันได้ก็จะยึดถือต่อไป แต่ถ้าขัดกันอาจไม่ยอมรับ อาจจะยอมรับ ค่านิยมใหม่โดยยกเลิกค่านิยมเดิม 4. การ จัดระบบ คุณค่า นำค่านิยมที่ยึดถือมาแสดงพฤติกรรมที่เป็นนิสัยประจำตัว 5. การสร้าง ลักษณะนิสัย
การพัฒนา Heart เป็นการพัฒนาผู้เรียนให้มีพฤติกรรม ด้านจิตพิสัยขั้นสูง ได้แก่ การสร้างคุณค่า การจัดระบบ คุณค่า และการสร้างลักษณะนิสัย จนเกิดคุณลักษณะและ ค่านิยมที่ติดตัวผู้เรียนอย่างยั่งยืน ดังนี้ 1) ผู้เรียนรู้คุณค่าในการปฏิบัติตน ที่มีผลต่อสังคมและส่วนรวม 2) ผู้เรียนเลือกปฏิบัติตนในพฤติกรรมที่เหมาะสมตามกาลเทศะ 3) ผู้เรียนปฏิบัติตนจนเกิดเป็นลักษณะนิสัยและบุคลิกภาพที่ดี
3. แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ : กลุ่มกิจกรรม 1. ส่งเสริม พัฒนาและปลูกฝังค่านิยม จิตสำนึกการทำประโยชน์ต่อ สังคม มีจิตสาธารณะและการให้บริการด้านต่าง ๆ ทั้งที่เป็นประโยชน์ต่อ ตนเองและส่วนรวม 2. ส่งเสริม พัฒนาและปลูกฝังความรักชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์ 3. ส่งเสริม พัฒนาและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม (ความมีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต เสียสละ อดทน มุ่งมั่นการทำงาน กตัญญู) 4. ส่งเสริม พัฒนาและปลูกฝังความรัก ความภาคภูมิใจในความ เป็นไทย และหวงแหนสมบัติของชาติ
4. รูปแบบการจัดกิจกรรม Heart การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน(Problem-Based Learning) การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน(Problem-Based Learning) การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทบาทสมมุติ(Role Playing Model) การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทบาทสมมุติ(Role Playing Model) การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน(Project-Based Learning) การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน(Project-Based Learning) การจัดการเรียนรู้เชิงประสบการณ์(Experiential Learning) การจัดการเรียนรู้เชิงประสบการณ์(Experiential Learning)
5. แนวทางการประเมินผล Heart การประเมินผลด้านจิตพิสัย เป็นการประเมินผลการจัดกิจกรรม ด้าน Heartหรือ จิตพิสัยเป็นคุณลักษณะภายในของคน แล้วแสดงพฤติกรรม หรือ การกระทำออกมาตามอารมณ์ ความรู้สึก ความสนใจ เจตคติ ความชื่นชมค่านิยม จนพัฒนาเป็นคุณลักษณะของ ตนเอง ตั้งแต่ระดับ การสร้างคุณค่า ขึ้นไป
วิธีการเครื่องมือหมายเหตุ 1. นักเรียนประเมิน ตนเอง 1 แบบประเมินความพึงพอใจ แบบประเมินผล สามารถเลือกใช้ ได้ตามความ เหมาะสมและ บริบทของ โรงเรียน 2. ครูประเมิน นักเรียน 1. แบบประเมินกิจกรรมสร้างเสริม คุณลักษณะและค่านิยม (Heart) 2. แบบสังเกตพฤติกรรมการ ทำงานรายกลุ่ม 3. แบบสังเกตพฤติกรรมการเข้า ร่วมกิจกรรมรายบุคคล ตารางแสดงตัวอย่างวิธีการและเครื่องมือในการประเมินผล
6. แนวทางการนิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
Q&A