เรื่อง หลักการและแนวทางทั่วไป การขออนุมัติโอน เปลี่ยนแปลง ปรับเพิ่ม – ลดงบประมาณ และ รายการ วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2559 คณะวิทยาศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนยุทธศาสตร์ กรมคุมประพฤติ พ.ศ วิสัยทัศน์ “เป็นองค์กรชั้นนำในการแก้ไขฟื้นฟูผู้กระทำผิดแบบบูรณาการ เพื่อความสงบสุขของชุมชน อย่างยั่งยืน.
Advertisements

Microsoft Word 2007 อาจารย์ผู้สอน : 1. SECTION1: การปรับแต่งงาน เอกสารเบื้องต้น 1. เปิดไฟล์ section1.docx 2. ปรับ 2.
... ขอเชิญ... ลูกหลานตระกูลลิ้มทั่วประเทศ เข้าร่วมสัมมนา ลูกหลานลิ้มสานสัมพันธ์ วันที่ 28 สิงหาคม 2559 เวลา – น “ พลังตระกูลลิ้ม (Power of.
กลุ่มงานบริหารงานบุคคล กลุ่มอำนวยการ สถาบันพระบรมราชชนก.
รายละเอียดตัวชี้วัดตาม คำรับรองการปฏิบัติราชการ
สัญญา หลักประกันและ การบริหารสัญญา
การควบคุมวัสดุ ครุภัณฑ์ และรถราชการ
Strategy Map สำนักงานสรรพากรภาค 3
การปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ช่วงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
แนวทางปฏิบัติ การจัดซื้อจัดจ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ 2549
ผู้บริหารกรมชลประทานกับระบบEIS
ประชุม Video Conference ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
โดย นางเพชราภรณ์ คำเอี่ยมรัตน์
แนวทางการออกแบบนามบัตร
การปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ช่วงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
การเบิกจ่ายเงินค่าเบี้ยประชุม

สำนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ และ (ฉบับที่
1.
คู่มือการเบิกจ่ายเงิน
การบริหาร เงินงบประมาณ และ เงินนอกงบประมาณ
โปสเตอรงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
การพัฒนาดิจิทัลคอลเลคชั่น
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
ระบบควบคุมภายในด้านการเงินการคลัง
การบริหารงบประมาณ นางสาวณัฐฐวรรณ อินทรทิตย์
ดร. ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์
การจัดกิจกรรมฝึกอบรมประชาชน
มติ ครม. 15 ธค. 58 เห็นชอบแผนปฎิบัติงานโครงการ อบรมฯ ในกรอบวงเงิน 1,064,574,000 บาท -งบกลางฯ 948,150,000 บาท -ปรับแผนฯ ปี ,424,000.
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
พชรวรรณ ธัญญาดี ส่วนจัดการงบประมาณ สำนักแผนงานและสารสนเทศ
วันที่พุธที่ 7 พฤศจิกายน 2561 เวลา – น.
สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยบูรพา
SGS : Secondary Grading System
วันพุธที่ 21 มีนาคม 2555 เวลา น. ณ ตึกสันติไมตรี ทำเนียบรัฐบาล
การจัดหาของกรมพลาธิการทหารบก
กระบวนการนำเข้าและประมวลผลข้อมูล
มิติทางสังคมและจริยธรรมสำหรับนักเทคโนโลยีสารสนเทศ
หลักเศรษฐศาสตร์สำหรับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ
ขั้นตอนการลงทะเบียนสำหรับนักศึกษาปัจจุบัน
การบริหารสัญญา และหลักประกัน.
ระบบความรับผิดทางละเมิดและแพ่ง
ประชุมชี้แจงเตรียมความพร้อม ปีงบประมาณ 2559
ขั้นตอนการรับและการเบิกจ่ายเงิน โครงการตามแผนพัฒนาอาชีพเกษตรกร ตามความต้องการของชุมชนเพื่อบรรเทาภัยแล้ง ปี 2558/59 นางกุลฤดี พัฒนะอิ่ม ผู้อำนวยการกองคลัง.
สำนักงานตรวจบัญชีสหกรณ์ที่ 5
การใช้ บัตรเครดิตราชการ
ขั้นตอนการจัดซื้อ/จัดจ้าง (วิธีตกลงราคา)
เงินค่าใช้จ่ายในการดำเนินการสอบแข่งขันบุคคลเข้ารับราชการ
เวปไซต์การบันทึกผลงาน อสม. ดีเด่น ระดับจังหวัด
โทร. (มท) หรือ โทร มีนาคม 2559.
เอกสารประกอบการสอน บทที่ 7 แนวโน้มและ สถานการณ์ด้านอุตสาหกรรมท่องเที่ยวในประเทศไทยอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ Tourism Industry and Hospitality Management.
“แนวทางการจัดสรรงบประมาณและ การตรวจสอบประเภทเงิน”
การเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสาธารณสุข ๑๐๐ ปี หมออนามัยห่วงใยประชาชน สร้างชุมชนปลอดขยะ ร่วมขจัดภัยไข้เลือดออกและไข้มาลาเรีย ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑.
ระบบโปรแกรมทะเบียนเกษตรกรรายแปลง
ณ ห้องประชุมกองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน สามเสน กรุงเทพมหานคร
กองการเงินและบัญชี กรมชลประทาน
การลงทะเบียนทางหลวงท้องถิ่น
ระเบียบการเบิกจ่ายเงินจากคลัง การเก็บรักษาเงินและการนำเงินส่งคลัง
โปสเตอรงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
เทคนิคการนำเสนองาน Research Methodology.
การใช้ระบบโปรแกรม การกำหนดสิทธิ์การใช้งาน  เจ้าหน้าที่ บันทึก
โดยนางปิยะพร หงษ์เงิน
ขั้นตอนการดำเนินการจัดหาพัสดุ ด้วยวิธีเฉพาะเจาะจง (การจัดหาพัสดุ ครั้งหนึ่งซึ่งมีราคาไม่เกิน 100,000 บาท) - ตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ.
การจัดซื้อจัดจ้าง พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้าง และการบริหารพัสดุภาครัฐ.
เงินนอกงบประมาณ โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตามเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านบัญชีในระบบ GFMIS (กระทรวงสาธารณสุข) นายธราธิป หนูเจริญ นักวิชาการคลังชำนาญการ.
การยื่นข้อเสนอโครงการวิจัย
สรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ. ศ ของ ภ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เรื่อง หลักการและแนวทางทั่วไป การขออนุมัติโอน เปลี่ยนแปลง ปรับเพิ่ม – ลดงบประมาณ และ รายการ วันพุธที่ 25 พฤษภาคม 2559 คณะวิทยาศาสตร์

หลักการ และแนวทางทั่วไป  งบประมาณรายจ่ายที่จัดสรรให้ส่วนงานต่างๆไว้ในรายการใดตามเอกสารประกอบพระราชบัญญัติ งบประมาณรายจ่ายประจำปี และหรือสรุปประมาณการรายรับและรายจ่าย งบประมาณแผ่นดินและเงินรายได้ ประจำปี ได้จัดทำมาจากแผนปฏิบัติการประจำปีที่สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ 4 ปี จึงไม่สมควรโอนหรือนำไปใช้ใน รายการอื่น  เนื่องจากกระบวนการของการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี เป็นการจัดทำล่วงหน้า ดังนั้น เมื่อได้รับการจัดสรรงบประมาณเพื่อนำไปใช้จ่ายในการดำเนินงานตามที่ขออนุมัติไว้กับรัฐสภาและสภาสถาบันแล้ว สถานการณ์ต่างๆ อาจเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่ได้วางแผนไว้ เช่น เป้าหมายการให้บริการ กลยุทธ์ และหรือ ประมาณการรายรับ ซึ่งมีผลกระทบต่อการดำเนินงานที่จะทำให้เป้าหมายไม่สามารถบรรลุผลตามที่ได้กำหนดไว้ ทำ ให้ต้องมีการโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่ายที่กำหนดไว้ในรายการต่าง ๆ เพื่อให้การดำเนินการ สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป และเป็นไปอย่างถูกต้อง  เพื่อให้การโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณเป็นไปด้วยความเรียบร้อย อาศัยอำนาจตาม ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ ข้อ 23 และฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติมของการโอนเปลี่ยนแปลงรายการ งบประมาณ ฯ และตามประกาศสถาบัน เรื่อง หลักเกณฑ์การโอนหรือเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่าย ประจำปี เพื่อใช้ประกอบการบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำปี

การขออนุมัติโอน เปลี่ยนแปลงงบประมาณรายจ่าย หลักการสำคัญ  เพื่อแก้ไขปัญหาในการดำเนินการ  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ  เพื่อเพิ่มคุณภาพการให้บริการ  เพื่อพัฒนาบุคลากร  เพื่อพัฒนาเทคโนโลยี หลักการสำคัญ  เพื่อแก้ไขปัญหาในการดำเนินการ  เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ  เพื่อเพิ่มคุณภาพการให้บริการ  เพื่อพัฒนาบุคลากร  เพื่อพัฒนาเทคโนโลยี คำนึงถึง  ประโยชน์ที่ส่วนรวมได้รับ(ประชาชน)  ความประหยัด  ความคุ้มค่า  ความโปร่งใส คำนึงถึง  ประโยชน์ที่ส่วนรวมได้รับ(ประชาชน)  ความประหยัด  ความคุ้มค่า  ความโปร่งใส และ  ต้องสอดคล้องกับเป้าหมายการให้บริการของสถาบัน กระทรวง/ยุทธศาสตร์ชาติ  ต้องไม่ทำให้เป้าหมายผลผลิต งาน/โครงการ ตามแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ลดลง ในสาระสำคัญจากเดิมที่กำหนดไว้  ต้องไม่ทำให้ค่าสาธารณูปโภคค้างชำระเมื่อสิ้นปีงบประมาณ

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ทราบการโอนเงินและ/หรือเปลี่ยนแปลง/เพิ่มเติมรายการและหรือวงเงินจากเงินงบประมาณ แผ่นดินและเงินรายได้ ที่ส่วนงานมีความจำเป็นในการขอเปลี่ยนแปลงจากที่ได้รับการจัดสรรไว้ตามเอกสาร ประกอบพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่ผ่านการพิจารณาของรัฐสภา เอกสารประมาณการรายรับ และรายจ่ายเงินรายได้ที่ผ่านการพิจารณาจากสภาสถาบัน หรือเอกสารประกอบอื่น รวมทั้งเหตุผลความจำเป็นใน การดำเนินการ เพื่อให้หัวหน้าส่วนงานดำเนินการตามระเบียบว่าด้วยการบริหารเงินงบประมาณ พ.ศ และ ฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติม หรือประกาศสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เรื่อง หลักเกณฑ์การ โอนหรือเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณงบประมาณรายจ่ายประจำปี สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง การขออนุมัติโอนเงิน/เปลี่ยนแปลง/ปรับเพิ่ม-ลด รายการและหรือวงเงินจากเงินงบประมาณแผ่นดิน และเงินรายได้ สามารถดำเนินการได้ในไตรมาสที่ 1 และไตรมาสที่ 2 (เดือนธันวาคมและมีนาคม)

คำจำกัดความ 5 “การโอนงบประมาณรายจ่าย” หมายความว่า การโอนงบประมาณรายจ่ายที่ได้รับจัดสรรงบประมาณของแผนงาน งาน/ โครงการ กิจกรรม กองทุน งบรายจ่าย รายการใด ไปยังแผนงาน งาน/โครงการ กิจกรรม กองทุน งบรายจ่าย รายการ อื่นๆที่ต่างกัน และหรือการโอนเงินต่างกองทุนในแผนงาน งาน/โครงการ กิจกรรม รายการ งบรายจ่ายเดียวกัน และหรือ การโอนเงินที่ต่าง แผนงาน งาน/โครงการกิจกรรม กองทุน งบรายจ่าย รายการ รวมถึง การโอนเงินจากแผนงาน / งาน / โครงการ / กิจกรรม / กองทุนและงบรายจ่ายเพื่อไปดำเนินกิจกรรมต่างๆ ที่มิได้จัดทำงบประมาณหรือประมาณการ ไว้ไม่เพียงพอ “การเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่าย” หมายความว่า การเปลี่ยนแปลงรายการและหรือจำนวนเงิน และหรือ หน่วยนับของรายการที่กำหนดไว้ภายใต้งบรายจ่ายของแผนงาน งาน/โครงการ กิจกรรม กองทุนเดียวกัน รวมถึง การ เปลี่ยนแปลงรายการค่าครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้างที่ได้จัดทำแผนไว้แล้ว แต่ไม่มีความจำเป็นที่จะดำเนินการ หรือมีรายการที่มีความจำเป็นเร่งด่วนที่จะดำเนินการมากกว่ารายการเดิม “การปรับแผนงบประมาณรายจ่าย” หมายความว่า การปรับแผนรายจ่ายที่เป็นโครงการ/รายการใหม่ที่มิได้กำหนดไว้ใน แผนงบประมาณประจำปี และไม่กระทบวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีที่ได้รับการอนุมัติจากสภาสถาบัน รวมถึงการ ปรับเพิ่ม-ลด รายการและหรือวงเงินจากที่ได้ประมาณการรายจ่ายไว้ตามแผนฯ

6 คำจำกัดความ “งบประมาณรายจ่ายเหลือจ่าย” หมายความว่า 1. งบประมาณรายจ่ายที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ แต่ไม่ได้ใช้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันหรือยังมิได้เบิกจ่ายไม่ว่าด้วยเหตุใด ๆ (งบประมาณรายจ่ายที่เหลืออยู่ทุกกรณี) 2. งบประมาณรายจ่ายเหลือจ่ายในแผนงบประมาณเดียวกันจากการดำเนินงานที่บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายผลผลิต งาน/โครงการ ตามที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ หรือจากการจัดซื้อจัดจ้าง “งบประมาณรายจ่ายเหลือจ่าย” หมายความว่า 1. งบประมาณรายจ่ายที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ แต่ไม่ได้ใช้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันหรือยังมิได้เบิกจ่ายไม่ว่าด้วยเหตุใด ๆ (งบประมาณรายจ่ายที่เหลืออยู่ทุกกรณี) 2. งบประมาณรายจ่ายเหลือจ่ายในแผนงบประมาณเดียวกันจากการดำเนินงานที่บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายผลผลิต งาน/โครงการ ตามที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ หรือจากการจัดซื้อจัดจ้าง

7 รูปแบบ การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ (มี 3 รูปแบบ) รูปแบบที่ 1 การโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณ ฯ ตามอำนาจของหัวหน้าส่วนราชการ (ไม่สามารถมอบอำนาจได้) มี 3 ลักษณะ รูปแบบที่ 1 การโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณ ฯ ตามอำนาจของหัวหน้าส่วนราชการ (ไม่สามารถมอบอำนาจได้) มี 3 ลักษณะ ลักษณะที่ 1  การโอนงบรายจ่าย ในผลผลิต แผนงาน งาน/โครงการ กิจกรรม และกองทุน เดียวกัน  การโอนต่างกองทุน ในผลผลิต แผนงาน งาน/โครงการ กิจกรรม และงบรายจ่ายเดียวกัน  การเปลี่ยนแปลงรายการและหรือจำนวนเงินของรายการที่กำหนดไว้ในผลผลิต/โครงการกิจกรรม และกองทุนเดียวกัน ลักษณะที่ 2 การโอนหรือเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่ายที่เหลือจ่ายภายใต้ผลผลิต และแผนงาน เดียวกัน เพื่อชำระหนี้ค่าสาธารณูปโภค และหรือค่าเพิ่มค่างานตามสัญญาแบบปรับราคาได้ (ค่า K) ลักษณะที่ 3 การโอนเพิ่มวงเงินค่าครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้างที่ไม่สามารถจัดหาได้ภายในวงเงินที่ได้รับการ จัดสรร ซึ่งอยู่ในผลผลิต แผนงานเดียวกัน และเป็นรายการครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง ซึ่งมีวงเงินงบประมาณ รายจ่ายหรือราคาต่อหน่วยต่ำกว่า 1 ล้านบาท และ 10 ล้านบาท ตามลำดับ เมื่อดำเนินการจัดหาแล้ว ผล การจัดซื้อจัดจ้างอาจมีราคาสูงกว่าวงเงินงบประมาณรายจ่าย

8 รูปแบบ การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ หลักเกณฑ์การโอนเปลี่ยนแปลงฯ รูปแบบที่ 1  ต้องเป็นรายการครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้างที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ หรือได้รับการอนุมัติให้โอนเปลี่ยนแปลง ฯ แล้ว  ต้องไม่เป็นรายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ  ต้องดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างแล้ว แต่ไม่อาจจัดหาได้ด้วยเหตุใด ๆ ก็ตาม  รายการจัดซื้อจัดจ้างให้หมายถึง ครุภัณฑ์หรือสิ่งก่อสร้างหนึ่งหน่วยเป็นหนึ่งรายการ  ให้โอนเปลี่ยนแปลงฯ เพิ่มวงเงินได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของวงเงินที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ  วงเงินงบประมาณที่จะโอนเปลี่ยนแปลงฯ มาเพิ่ม ต้องเป็นงบรายจ่ายต่าง ๆ ของผลผลิต / โครงการใด ๆ ภายใต้แผน งบประมาณเดียวกัน  กรณีนำเงินนอกงบประมาณมาเพิ่ม ให้เพิ่มได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของวงเงินที่ได้รับจัดสรรงบประมาณ  กรณีรายการครุภัณฑ์ หรือสิ่งก่อสร้างที่ไม่สามารถจัดหาได้นั้น มีเงินนอกงบประมาณสมทบอยู่แล้ว ให้ใช้เงินนอก งบประมาณไปเพิ่มได้ไม่เกินร้อยละ 10 ของวงเงินรายการนั้น

9 รูปแบบ การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ การโอนหรือเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณทั้ง 3 ลักษณะ หัวหน้าส่วนราชการ สามารถดำเนินการเองได้ โดยไม่ต้องขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณ แต่หัวหน้าส่วน ราชการต้องตรวจสอบความถูกต้องอย่างเคร่งครัด เพื่อมิให้เกิดกรณีเงินขาดบัญชี ซึ่งเป็น ความผิดทางวินัยต้องได้รับโทษตามนัยมาตรา 26 แห่งพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ สำหรับงบประมาณแผ่นดิน เมื่อหัวหน้าส่วนราชการดำเนินการโอนเปลี่ยนแปลงฯ แล้ว ให้จัดทำและส่งรายงานการโอนเปลี่ยนแปลงฯ ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) โดยเร็ว อย่างช้าต้องไม่เกิน 15 วันนับแต่วันที่โอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่าย

10 รูปแบบการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ รูปแบบที่ 2 การโอนหรือเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่ายที่ต้องขอตกลงกับสำนักงบประมาณ การโอนและหรือเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่ายที่รับจัดสรรงบประมาณ ที่นอกเหนือจากที่ได้มอบ อำนาจและความรับผิดชอบให้กับหัวหน้าส่วนราชการ หากหัวหน้าส่วนราชการมีความจำเป็นต้องโอนเปลี่ยนแปลงฯ ให้ ดำเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ดังนี้ (1) วิเคราะห์ความจำเป็นตามหลักการสำคัญของการโอนเปลี่ยนแปลงฯ (2) กรณีการโอนเปลี่ยนแปลงมีผลทำให้ต้องปรับปรุงแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ให้ดำเนินการขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณไปพร้อมกัน (ระเบียบฯ ข้อ11 วรรคสาม) (3) ให้จัดทำและรับส่งข้อมูลการปรับปรุงแผนฯ ตาม (1) และรายการโอนเปลี่ยนแปลงฯ ตาม (2) ด้วย ระบบอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมจัดทำเป็นหนังสือเพื่อขอทำความตกลงกับสำนักงบประมาณด้วย

11 รูปแบบการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ รูปแบบที่ 3 การโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่ายที่ต้องได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีก่อน  การโอนเปลี่ยนแปลงฯ ที่มีผลทำให้เกิดรายจ่ายประเภทเงินราชการลับ  การโอนเปลี่ยนแปลงฯ ข้าม “แผนงบประมาณ”  การโอนเปลี่ยนแปลงฯ ที่มีผลทำให้เกิดรายจ่ายประเภทโครงการใหม่พิเศษที่เกิดขึ้นจากนโยบายใหม่ที่ไม่ได้ กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการประจำปี หลักเกณฑ์การโอนเปลี่ยนแปลงฯ รูปแบบที่ 3  ตรวจสอบว่าเป็นงานหรือภารกิจใด (แผนงบประมาณ) ที่ไม่สามารถดำเนินการตามวัตถุประสงค์ต่อไปได้/หมดความจำเป็น/ ไม่เป็นประโยชน์ หากดำเนินการต่อไปจะต้องเสียค่าใช้จ่ายเกินความจำเป็น และหรือมีความจำเป็นอย่างอื่นไม่อาจ หลีกเลี่ยงได้ที่จะต้องเปลี่ยนแปลงสาระสำคัญของแผนปฏิบัติการ  เมื่อคณะรัฐมนตรีมีมติอนุมัติให้ปรับแผนการปฏิบัติการแล้ว ให้ดำเนินการแก้ไขแผนการบริหารราชการแผ่นดินให้ สอดคล้องด้วย  เมื่อคณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติให้ปรับแผนปฏิบัติการ หัวหน้าส่วนราชการจัดทำและจัดส่งข้อมูลการโอนหรือเปลี่ยนแปลง ทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ พร้อมจัดทำหนังสือเพื่อขอทำความตกลงในการโอนเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่ายต่อไป

12 รูปแบบการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ การให้อำนาจหัวหน้าส่วนราชการในการโอนหรือเปลี่ยนแปลงงบประมาณฯ เป็นหลักการ บริหารงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ ในการให้หัวหน้าส่วนราชการบริหารงบประมาณ ด้วยความสามารถโดยการประหยัดค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน และหรือจัดซื้อจัดจ้างได้ในราคาที่ถูกลง ซึ่ง การดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพทำให้เกิดการประหยัด หัวหน้าส่วนราชการสามารถนำงบประมาณ รายจ่ายเหลือจ่ายไปกำหนดกิจกรรม รายการใหม่ เป็นค่าครุภัณฑ์หรือค่าสิ่งก่อสร้างใหม่ได้ ( ยกเว้น ต้องไม่ เป็นรายการค่าที่ดิน / รายการก่อหนี้ผูกพันข้ามปีงบประมาณ / ไม่มีหนี้ค่าสาธารณูปโภคค้างชำระเมื่อสิ้น ปีงบประมาณ / ค่าใช้จ่ายที่จำเป็นต้องจ่ายตามข้อผูกพันสัญญา เช่น ค่าเพิ่มค่างานตามสัญญาแบบปรับราคา ได้ ( ค่า k) ค้างชำระ )

13 การขออนุมัติ โอนเปลี่ยนแปลง ปรับเพิ่ม-ลดงบประมาณ และรายการของส่วนงาน ภายในสถาบัน (จำแนกเป็น 2 ส่วน)  ส่วนงานดำเนินการขออนุมัติโอนฯ กรณี ต่าง แผนงาน งาน/โครงการ กิจกรรม กองทุน งบรายจ่าย ระดับ การศึกษา(ปริญญาตรี-ปริญญาโท/เอก) โดยให้ส่วนงานดำเนินการขออนุมัติโอนฯ ไปยังส่วนการคลังตาม แบบฟอร์มที่ส่วนการคลังกำหนด  ส่วนงานดำเนินการขออนุมัติโอนฯ กรณี ต่าง แผนงาน งาน/โครงการ กิจกรรม กองทุน งบรายจ่าย ระดับการศึกษา (ปริญญาตรี-ปริญญาโท/เอก) โดยให้ส่วนงานดำเนินการขออนุมัติโอนฯ ไปยังส่วนบริหารยุทธศาสตร์ ตามแบบฟอร์ม ที่กำหนด ได้แก่ หนังสือบันทึกข้อความการโอน เปลี่ยนแปลงฯ แบบ งปม.303 และแบบ งปม.303/1 ถ้าขออนุมัติ ใช้เงินเหลือจ่าย) การขออนุมัติโอน ฯ ทั้ง 2 ลักษณะ จะมีเงื่อนไขว่า เงินงบประมาณแผ่นดินห้าม ขออนุมัติโอนต่างแผนงาน เนื่องจากมีผลกับคำรับรองที่สถาบันให้ไว้กับรัฐมนตรี  การใช้จ่ายงบดำเนินงานสามารถถัวจ่ายได้ (ค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ ยกเว้นค่าใช้จ่ายที่ระเบียบหรือประกาศ กำหนดไว้ไม่สามารถถัวจ่ายได้ และค่าสาธารณูปโภค) หากต่างแผนงาน งาน/โครงการ กิจกรรม กองทุน งบรายจ่าย ดำเนินการตามข้อ 1 การขออนุมัติโอนฯในลักษณะงบดำเนินงาน การขออนุมัติโอนฯในลักษณะงบลงทุน

14 การขออนุมัติ โอนเปลี่ยนแปลง ปรับเพิ่ม-ลดงบประมาณ และรายการ ของส่วนงานภายในสถาบัน (จำแนกเป็น 2 ส่วน)  การขออนุมัติโอนฯ เงินเหลือจ่าย เงินงบประมาณแผ่นดิน เพื่อไปดำเนินการใด ๆ จะไม่พิจารณาอนุมัติ เนื่องจากตาม ระเบียบการบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ ข้อ 25. หากมีหนี้สาธารณูปโภคต้องโอน ชำระหนี้สาธารณูปโภคก่อน (ยกเว้น รายการครุภัณฑ์และรายการสิ่งก่อสร้างที่มีราคาไม่เกิน 1 ล้านบาท และ ไม่เกิน 10 ล้านบาท ตามลำดับ ที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณ ซึ่งเมื่อดำเนินการจัดหาแล้ว ผลของการจัดซื้อจัดจ้าง อาจมีวงเงิน/ราคาสูงกว่างบประมาณที่ได้รับให้นำเงินเหลือจ่ายจากผลการจัดซื้อจัดจ้างรายการอื่นมาเพิ่มให้กับ รายการนั้น ตามเงื่อนไขที่กำหนดข้างต้น)  การขออนุมัติโอนเปลี่ยนแปลง ฯ ส่วนงานต้องให้เหตุผลความจำเป็นที่ชัดเจนและเพียงพอในการขออนุมัติโอน หากไม่ ดำเนินการก่อให้เกิดความเสียหายแก่ราชการ และหรือเหตุอื่นใด ซึ่งการวางแผนการบริหารงบประมาณ หากมีการ ขออนุมัติโอนฯ จำนวนมาก แสดงถึงการวางแผนไม่มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ การปฏิบัติในเรื่องดังกล่าวข้างต้น ให้ปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ และ ฉบับที่แก้ไขเพิ่มเติม ประกาศสถาบันฯ เรื่อง หลักเกณฑ์การโอนหรือเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่าประจำปี ของสถาบัน รวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การขออนุมัติโอนฯในลักษณะงบลงทุน

15 ขั้นตอน การขออนุมัติ ส่วนงานระดับคณะ/สำนัก/วิทยาเขต/ส่วน โดยหน่วยแผนจัดทำเรื่องเพื่อขออนุมัติปรับเพิ่มรายการจาก เงินงบประมาณ/เงินรายได้ ตามแบบ งปม. 303 แบบแผนการจัดซื้อจัดจ้าง และแบบหนังสือบันทึกข้อความลงนามโดยหัวหน้าส่วนงาน เสนออธิการบดีเพื่อพิจารณาอนุมัติ โดยจัดส่งตามขั้นตอนไปยังส่วนบริหารยุทธศาสตร์ สำนักงานอธิการบดี และสำเนาแจ้งหน่วย การเงินและหน่วยพัสดุทราบ (โดยหน่วยการเงินจัดทำ แบบ งปม. 303/1 และหน่วยพัสดุจัดทำแบบแผนการจัดซื้อจัดจ้าง) กรณีปรับเพิ่มรายการใหม่จากที่ได้อนุมัติไว้ในแผนฯ กรณีปรับเพิ่ม-ลด วงเงินในรายการที่ได้อนุมัติไว้ในแผนฯ กรณีเปลี่ยนแปลงรายการที่ได้อนุมัติไว้ในแผนฯ กรณีปรับเพิ่ม-ลด วงเงินในรายการที่ได้อนุมัติไว้ในแผนฯ กรณีเปลี่ยนแปลงรายการที่ได้อนุมัติไว้ในแผนฯ ส่วนงานระดับคณะ/สำนัก/วิทยาเขต/ส่วน โดยหน่วยพัสดุ จัดทำเรื่องเพื่อขออนุมัติตามแบบ งปม. 303 แบบ งปม. 303/1 แบบแผนการจัดซื้อจัดจ้าง และแบบหนังสือบันทึกข้อความลงนามโดยหัวหน้าส่วนงาน เสนออธิการบดีเพื่อ พิจารณาอนุมัติ โดยจัดส่งตามขั้นตอนไปยังส่วนบริหารยุทธศาสตร์ สำนักงานอธิการบดี และสำเนาแจ้งหน่วยการเงินและ หน่วยแผนทราบ (โดย หน่วยการเงินจัดทำ แบบ งปม. 303/1 และหน่วยพัสดุจัดทำ แบบแผนจัดซื้อจัดจ้าง)

16 การพิจารณา ตรวจข้อมูลการขออนุมัติฯ ตรวจข้อมูลตามแบบฟอร์มที่กำหนด โดยประสานข้อมูลกับส่วนการคลัง เมื่อข้อมูลครบถ้วน ถูกต้อง นำเสนอ อธิการบดีอนุมัติ  กรณีส่วนบริหารยุทธศาสตร์ ตรวจสอบข้อมูลแล้วยังไม่ครบถ้วนจะประสานงานกับหน่วยงานต้นเรื่องให้แก้ไข หรือจัดทำข้อมูลเพิ่มเติม พร้อมส่งกลับส่วนบริหารยุทธศาสตร์ ภายใน 3 วันทำการ หากพ้นระยะเวลาที่ กำหนดจะส่งเรื่องคืนหน่วยงานต้นเรื่อง ผังงานส่วนแผน 54 แก้ไข มิย 54.docxผังงานส่วนแผน 54 แก้ไข มิย 54.docx  เมื่ออธิการบดีพิจารณาอนุมัติ ส่วนบริหารยุทธศาสตร์ จะสำเนาเรื่องจัดส่งหน่วยงานต้นเรื่อง ส่วนตรวจสอบ และส่วนการคลัง (เฉพาะงานที่เกี่ยวข้องได้แก่งานเงินงบประมาณหรืองานเงินรายได้หรืองานพัสดุ) หรือใน กรณีที่ส่วนบริหารยุทธศาสตร์ ตรวจสอบข้อมูลแล้วเงินเหลือจ่าย/เงินรายได้สะสม(เงินคงคลัง)/เงินสำรองจ่าย ไม่เพียงพอ จะรายงานให้อธิการบดีสั่งการ และสำเนาเรื่องคืนหน่วยงานต้นเรื่องเช่นกัน  กรณีการโอนหรือเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณที่ได้รับจัดสรรจากเงินงบประมาณแผ่นดิน ส่วนบริหารยุทธศาสตร์ จะแจ้งเรื่องการอนุมัติให้โอนหรือเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณ ไปยัง งานงบประมาณ ส่วนการคลัง เพื่อดำเนินการรายงานตามแบบ ง 124 ให้สำนักงบประมาณ กรมบัญชีกลาง และสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินทราบโดยเร็ว ไม่เกิน 15 วัน นับแต่วันที่โอนและหรือเปลี่ยนแปลงรายการ ประกาศ.pdf