การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559
1. เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ ระเบียบ คตง.พ.ศ เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ หลักการ /แนวคิด/คำสำคัญต่างๆ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน 3. เพื่อให้สามารถคิดเป็นระบบ เชื่อมโยงการควบคุมภายใน กับการปฏิบัติงานของสพท. และสถานศึกษาได้ วัตถุประสงค์
ทำไม ? สพท.และสถานศึกษา ต้องมีระบบการควบคุมภายใน ทำไม ? ต้องรายงานการประเมินผล การควบคุมภายในทุกปี
วัตถุประสงค์หลัก คือ การติดตาม กำกับ ควบคุมและดูแล ให้มีการจัดกระบวนการเพื่อ ใช้ทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ ตรงเป้าหมาย คุ้มค่าและประหยัด เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง การบริหารองค์กรที่ดี
หมายถึง กระบวนการปฏิบัติงานที่ผู้กำกับดูแล ฝ่ายบริหารและบุคลากรทุกระดับของหน่วยรับตรวจ จัดให้มีขึ้น เพื่อสร้างความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผล ว่าการดำเนินงานจะบรรลุผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์ ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิภาพและประสิทธิผล การดำเนินงาน คำสำคัญ : KEY WORDS
หน่วยรับตรวจ : สพฐ./ สพป./ สพม./สถานศึกษา ส่วนงานย่อย : สำนักใน สพฐ. / กลุ่มงานใน สพป. และ สพม./กลุ่ม,ฝ่าย ในสถานศึกษา หัวหน้าหน่วยรับตรวจ : เลขากพฐ./ ผอ.สพป./ ผอ.สพม./ ผอ.สถานศึกษา หัวหน้าส่วนงานย่อย : ผอ.สำนักในสพฐ./ ผอ.กลุ่มงาน ใน สพป.และ สพม./ หน.กลุ่ม หรือฝ่ายในสถานศึกษา
คือ กระบวนการที่เป็นระบบในการบริหารปัจจัยและ ควบคุมกิจกรรมทั้งกระบวนการการดำเนินการต่าง ๆ เพื่อลดมูลเหตุของโอกาสที่จะทำให้เกิดความเสียหาย จากการดำเนินการที่ไม่เป็นไปตามแผน เพื่อให้ระดับ ของความเสี่ยงและผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอยู่ ในระดับที่สามารถยอมรับได้ ควบคุมได้ และตรวจสอบ ได้อย่างเป็นระบบ (ที่มา : คู่มือคำอธิบาย ตัวชี้วัดฯ ก.พ.ร. ปี งปม. ๒๕๕๔) คำสำคัญ : KEY WORDS
ความเสี่ยง หมายถึงโอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือ เหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบ ผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนด มาตรฐาน : ฝ่ายบริหารต้องประเมินความเสี่ยงทั้ง จากปัจจัยภายในและภายนอกที่มีผลกระทบต่อการ บรรลุวัตถุประสงค์ของหน่วยรับตรวจอย่างเพียงพอและ เหมาะสม
ด้าน บุคลากร ด้าน บุคลากร เปลี่ยนผู้รับผิดชอบบ่อย มีความรู้ความเข้าใจ ไม่เพียงพอ ผู้บริหารระดับ สพท. ให้ความสำคัญ การกำกับดูแลน้อย ด้านแผนงาน/ งบประมาณ ด้านแผนงาน/ งบประมาณ ไม่มีแผนงาน/โครงการใน ระดับสพท. ไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ/ งปม.ไม่เพียงพอ ด้าน การจัดการ ด้าน การจัดการ บางสพท.ส่ง ปอ.1 ล่าช้า / ไม่สมบูรณ์ ควรบูรณาการกับการประเมินประสิทธิภาพ การปฏิบัติราชการอื่น /การรายงาน ARS ที่มา: รายงานการควบคุมภายใน สพฐ.,2558 การให้ความร่วมมือ ของบุคลากรน้อย ขาดการนำไปใช้ ให้เกิดประโยชน์ ขาดขวัญและกำลังใจ ปัญหา อุปสรรค/ ข้อเสนอแนะ งานควบคุมภายใน
ระเบียบคตง. ว่าด้วยการกำหนด มาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544
ระเบียบ มี 9 ข้อ (ข้อ 4 /ข้อ 5 และ ข้อ 6 มีความสำคัญ ) ระเบียบ มี 9 ข้อ (ข้อ 4 /ข้อ 5 และ ข้อ 6 มีความสำคัญ ) ข้อ 4 เป็นความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร ที่ต้องนำมาตรฐานการควบคุมภายใน มาวางระบบให้มีประสิทธิภาพ ข้อ 4 เป็นความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร ที่ต้องนำมาตรฐานการควบคุมภายใน มาวางระบบให้มีประสิทธิภาพ ข้อ 5 ใช้มาตรฐานในการวางระบบควบคุม ภายในให้เสร็จภายใน 1 ปี ข้อ 5 ใช้มาตรฐานในการวางระบบควบคุม ภายในให้เสร็จภายใน 1 ปี ข้อ 6 มีหน้าที่รายงานระบบการควบคุมภายใน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ภายใน 90 วัน นับ แต่สิ้นปี งปม. / ปีปฏิทิน ข้อ 6 มีหน้าที่รายงานระบบการควบคุมภายใน อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ภายใน 90 วัน นับ แต่สิ้นปี งปม. / ปีปฏิทิน บังคับใช้กับทุกส่วนราชการมาตั้งแต่ ปี 2544
1. ให้เกิดประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพของการดำเนินงาน 1. ให้เกิดประสิทธิผลและ ประสิทธิภาพของการดำเนินงาน 2. ให้เกิดความเชื่อถือได้ของ การรายงานทางการเงิน 2. ให้เกิดความเชื่อถือได้ของ การรายงานทางการเงิน 3.ให้เกิดการปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง 3.ให้เกิดการปฏิบัติตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดการควบคุมภายใน ของ สพท./สถานศึกษา แนวคิดการควบคุมภายใน ของ สพท./สถานศึกษา แทรกหรือแฝงอยู่ในการปฏิบัติงานประจำ และงานขับเคลื่อนกลยุทธ์ของทุกกลุ่มงาน แทรกหรือแฝงอยู่ในการปฏิบัติงานประจำ และงานขับเคลื่อนกลยุทธ์ของทุกกลุ่มงาน บุคลากรทุกคนในสพท./สถานศึกษามีบทบาท อำนาจ หน้าที่ทำให้ระบบควบคุมภายในเกิดขึ้น อย่างมีประสิทธิภาพ ให้ความมั่นใจอย่างสมเหตุสมผล เป็นหลักประกัน คุณภาพการศึกษา ว่าผลการทำงานจะบรรลุ วัตถุประสงค์ เป้าหมายตามมาตรฐาน