โครงงานคืออะไร หลักการของการเรียนรู้ของ โครงงาน จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน โครงงานกับการเรียนรู้แบบต่างๆ ลักษณะเด่นของการเรียนรู้ด้วย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
รูปแบบการสอนโมเดลซิปปา (CIPPA Model)
Advertisements

เอกสารประกอบการบรรยาย วิชา การออกแบบและพัฒนาฐานข้อมูล
แนวคิดในการวิเคราะห์ผู้เรียนที่นิยม 5 แนวคิด
สารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ GHUM 1103
การจัดการเรียนรู้โดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ
การประเมินแผนการสอน สุธาสินี ศรีวิชัย
การศึกษาผลการสอนด้วยวิธีการแบบ บูรณาการ ระหว่างการสอนแบบ CIPPA MODELกับการสอนแบบ MAIP รายวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ.
Business System Analysis and Design (BC401)
ผลงานวิจัยเรื่อง “ ผลการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนการสอนรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การเรียนวิชาภาษาอังกฤษสำหรับสถานประกอบการสำหรับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่
ระบบประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ผ่านระบบเทคโนโลยี สารสนเทศ โครงการพัฒนากระบวนการทำงาน (Re- Process) ประเภทความร่วมมือระหว่างสำนัก.
Heart : การเสริมสร้างคุณลักษณะและค่านิยม. Heart ประเด็นการนำเสนอ  1. นิยามศัพท์  2. จุดมุ่งหมายการจัดกิจกรรมฯ  3. แนวทางการจัดกิจกรรมฯ  4. รูปแบบการจัดกิจกรรมฯ.
การฝึกอบรมคืออะไร.
ศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อบริหารจัดเก็บและใช้ประโยชน์
ว่าที่ ร.ต.หญิงวรรณธิดา วรสุทธิพงษ์ ครูแผนกวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
เครื่องมือชุดธารปัญญา: แนวคิดและการประยุกต์ใช้
บทที่ 3 กระบวนการพัฒนา(Process Model)
รายวิชา คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
แบบจำลองเครือข่าย (Network Models)
อย่าติดกับดักการเรียนรู้
LAB03 : BASIC NETWORK DESIGN
การปรับปรุงระบบ GIS e-Learning
แพทย์หญิง ฐนิตา สมตน เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลสุราษฎร์ธานี
Road to the Future - Future is Now
2 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information System Development)
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
การวิเคราะห์ซอฟต์แวร์
การจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม
การจัด กระบวนการเรียนรู้ กศน. แบบบูรณาการ
เทคนิคการสอนยุค IT ตอนที่ 2
งานจัดการเรียนการสอน
วันนี้เรียนอะไร การออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนคืออะไร ประเภทของสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน หลักการออกแบบสื่อบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน.
Thailand Standards TMC.WFME.BME. Standards (2017)
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
แนะนำรายวิชา การออกแบบระบบการจัดการเรียนรู้บนเครือข่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา โดย อาจารย์สุวิสาข์ เหล่าเกิด
การจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
ดร.จันทร์ ติยะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยนครราชสีมา
รายงานความก้าวหน้า การประชุมครั้งที่ 7/2555
การวัดผลและประเมินผล ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ ของ TQF
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
การบริหารจัดการทางการศึกษา (106402)
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มหาวิทยาลัยนเรศวร
แนวทางการดำเนินงานเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพองค์กรเกษตรกร ปี 2559
ครูกับการออกแบบการเรียนรู้ สู่คุณภาพเด็กไทย
แผนกิจกรรมการสร้างการรับรู้ และส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากเน็ตประชารัฐ
การสร้างบุคลิกภาพในงานบริการอาหารและเครื่องดื่ม
ของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. พิเศษ 1/5 สาขาการจัดการธุรกิจค้าปลีก
หลักการเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย :
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
ดร. อำนาจ วิชยานุวัติ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 27 มกราคม 2562
การเขียนรูปทรงเรขาคณิต
ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ค้นพบ
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
แนวคิดหลัก 1. Systematic 2. Sustainable 3. Measurable
สัญลักษณ์พยากรณ์อากาศ
การใช้ยา.
Why’s KM ?.
การสร้างและการบริหารเครือข่าย (เครือข่ายภาครัฐต่อต้านการทุจริต)
TIM2303 การขายและการตลาด ในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM )
โครงการฟันเทียมพระราชทาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 การประชุมเชิงปฏิบัติการ.
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน School- Based Management
ชื่อโครงการ ผู้เสนอโครงการ: บริษัท XX จำกัด โดย: คุณ.
วิศวกรรมซอฟต์แวร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ (Software Engineering)
การมีส่วนร่วม ... กระจายอำนาจ... ความยั่งยืน
ส่วนของ ผู้ดูแลระบบ. ระบบการเรียนการสอนแบบ Interactive Model สำหรับ CSMA ด้วยเทคโนโลยี m-Learning.
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงงานคืออะไร หลักการของการเรียนรู้ของ โครงงาน จุดมุ่งหมายของการจัดการเรียนรู้ ด้วยโครงงาน โครงงานกับการเรียนรู้แบบต่างๆ ลักษณะเด่นของการเรียนรู้ด้วย โครงงาน ลำดับขั้นของการเรียนรู้ด้วย โครงงาน รู้จักการเรียนรู้ด้วย โครงงาน

บทบาทของครูและนักเรียนในการ จัดการเรียนรู้ด้วยโครงงาน ประเภทของโครงงาน การดำเนินการเพื่อให้ได้โครงงาน ขั้นตอนการทำโครงงาน การประเมินผลงานโครงงาน

โครงงานคืออะไร การเรียนรู้ด้วยโครงงาน เป็น กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง เน้นให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ที่มีลักษณะ ฝึกให้ผู้เรียนรู้จักคิด รู้จักแก้ปัญหา มีทักษะในการทำงานที่เป็น กระบวนการ และมีประสบการณ์จากการ ฝึกปฏิบัติจริง

หลักการของการเรียนรู้ด้วย โครงงาน 1. เน้นการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เปิดโอกาสให้ผู้เรียนริเริ่มวางแผน ดำเนินการศึกษาด้วยตนเอง 2. เน้นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ใน การแสวงหาความรู้ กำหนดปัญหา วางแผนในการแก้ไข ปัญหา ตั้งสมมติฐาน ทดลอง หรือเก็บรวบรวมข้อมูล สรุปผลการศึกษา

หลักการของการเรียนรู้ด้วย โครงงาน 3. เน้นการคิดเป็น ทำเป็น และการ แก้ปัญหาด้วยตนเอง 4. มุ้งให้ผู้เรียนเรียนรู้วิธีการศึกษา ค้นคว้า หลักการของการเรียนรู้ด้วย โครงงาน 3. เน้นการคิดเป็น ทำเป็น และการ แก้ปัญหาด้วยตนเอง 4. มุ้งให้ผู้เรียนเรียนรู้วิธีการศึกษา ค้นคว้า จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ด้วย โครงงาน 1. เพื่อให้ผู้เรียนใช้ความรู้และ ประสบการณ์เลือกทำโครงงานตามที่ ตนสนใจ 2. เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล จากแหล่งความรู้ต่างๆด้วยตนเอง 3. เพื่อให้ผู้เรียนได้แสดงออกซึ่งความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ 4. เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติทาง วิทยาศาสตร์และเห็นคุณค่าของการใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการ แก้ปัญหา จุดมุ่งหมายของการเรียนรู้ด้วย โครงงาน 1. เพื่อให้ผู้เรียนใช้ความรู้และ ประสบการณ์เลือกทำโครงงานตามที่ ตนสนใจ 2. เพื่อให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล จากแหล่งความรู้ต่างๆด้วยตนเอง 3. เพื่อให้ผู้เรียนได้แสดงออกซึ่งความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ 4. เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติทาง วิทยาศาสตร์และเห็นคุณค่าของการใช้ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการ แก้ปัญหา

โครงงานกับการ เรียนรู้แบบต่างๆ โครงงานกับการเรียนรู้แบบ CIPPA การเรียนรู้แบบ CIPPA โครงงานกับการเรียนรู้แบบ CIPPA การเรียนรู้แบบ CIPPA

CIPPA Model C = Construction การสร้างองค์ความรู้ I = Interaction มีปฏิสัมพันธ์กันในกลุ่ม P = Physical Participation มีการ เคลื่อนไหวร่างกาย P = Process Learning กระบวนการต่าง ๆ กระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการทำงานกลุ่ม A = Application การประยุกต์ใช้จริง ใน ชีวิตประจำวัน

โครงงานกับการเรียนรู้ แบบบูรณาการ การเรียนรู้แบบบูรณาการ บูรณา การในกลุ่มสาระวิชา บูรณา การข้ามกลุ่มสาระวิชา การเรียนรู้แบบบูรณาการ บูรณา การในกลุ่มสาระวิชา บูรณา การข้ามกลุ่มสาระวิชา

โครงงานกับพหุ ปัญญาของผู้เรียน พหุปัญญา 8 ด้านของผู้เรียน ด้านภาษา ด้านอารมณ์ / เหตุผล ( ตรรกะ / คณิตศาสตร์ ) ด้านดนตรี ด้านการเคลื่อนไหว ร่างกาย ด้านมิติสัมพันธ์ ด้านการรู้จัก ตนเอง ด้านการรู้จักคนอื่น ด้านการ รอบรู้ธรรมชาติ พหุปัญญา 8 ด้านของผู้เรียน ด้านภาษา ด้านอารมณ์ / เหตุผล ( ตรรกะ / คณิตศาสตร์ ) ด้านดนตรี ด้านการเคลื่อนไหว ร่างกาย ด้านมิติสัมพันธ์ ด้านการรู้จัก ตนเอง ด้านการรู้จักคนอื่น ด้านการ รอบรู้ธรรมชาติ

โครงงานกับการเรียนรู้แบบ ค้นพบความรู้ด้วยตนเอง วิธีการค้นพบความรู้ด้วยตนเอง 4 ขั้น 1. ที่มาของโครงงาน ( ปัญหา ความ เป็นมาและความสำคัญของปัญหา เหตุผลที่ทำ ) 2. วิธีการศึกษา ( รวบรวมข้อมูล อย่างไร ) 3. ผลการศึกษา ( สรุปผลที่ได้ ) 4. คำถามที่นำไปสู่โครงงานอื่น ( ความรู้ที่เชื่อมโยงกัน ) วิธีการค้นพบความรู้ด้วยตนเอง 4 ขั้น 1. ที่มาของโครงงาน ( ปัญหา ความ เป็นมาและความสำคัญของปัญหา เหตุผลที่ทำ ) 2. วิธีการศึกษา ( รวบรวมข้อมูล อย่างไร ) 3. ผลการศึกษา ( สรุปผลที่ได้ ) 4. คำถามที่นำไปสู่โครงงานอื่น ( ความรู้ที่เชื่อมโยงกัน )

การได้มาซึ่งโครงงาน ปัญหาใกล้ตัว ปัญหา ท้องถิ่น การสังเกต ความสนใจส่วนตัว คำบอกเล่า ทดลองเล่น การทำปฏิบัติการ ฝึกตั้งปัญหา การตั้งคำถามของครู โครงงานอื่นๆที่เคยมีผู้ทำมาแล้ว Wed โครงงานอื่นๆ ปัญหาใกล้ตัว ปัญหา ท้องถิ่น การสังเกต ความสนใจส่วนตัว คำบอกเล่า ทดลองเล่น การทำปฏิบัติการ ฝึกตั้งปัญหา การตั้งคำถามของครู โครงงานอื่นๆที่เคยมีผู้ทำมาแล้ว Wed โครงงานอื่นๆ

ประเภทของโครงงาน ประเภทสำรวจรวบรวมข้อมูล สำรวจพืช สัตว์ในท้องถิ่น สำรวจ ปัญหาสิ่งแวดล้อม การศึกษา ลักษณะอากาศในท้องถิ่น ฯลฯ ประเภททดลอง การทำยากันยุงจากพืชในท้องถิ่น การ บังคับแตงโมให้เป็นรูปสี่เหลี่ยม การป้องกันหนอนของปลาเค็มโดยใช้สาร สกัดจากพืชที่มีรสขม ฯลฯ

ประเภทสิ่งประดิษฐ์ การดักยุ่ง เครื่องเพาะถั่วงอก เครื่องดักแมลงวันทอง เครื่องให้ อาหารปลา ฯลฯ ประเภททฤษฎี ส่วนมากทางด้านวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ ( ขั้นสูง )